โดย ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี

Download Report

Transcript โดย ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี

การเคลือ่ นย้ ายแรงงานฝี มือของ
ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี
คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
บทนา
• ฟิลปิ ปินส์เป็ นประเทศในกลุม่ ประเทศอาเซียน ทีม่ ลี กั ษณะทีต่ งั ้ อยูใ่ นหมูเ่ กาะแปซิฟิกซึง่ ห่างไกลจาก
กลุม่ ประเทศอาเซียนด้วยกัน
• ได้รบั อิทธิพลจากประเทศทางตะวันตก 2 ประเทศด้วยกัน คือ ประเทศสเปน และ สหรัฐอเมริกา ทา
ให้คนฟิลปิ ปินส์มคี วามคิดทีแ่ ตกต่างจากประเทศอื่นๆ ในกลุม่ ประเทศอาเซียนด้วยกันไม่วา่ จะเป็ น
ด้านสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ตลอดจนการดาเนินธุรกิจและการค้าต่างๆ ก็แตกต่างกันด้วย
• การเป็ นเมืองขึน้ ของประเทศสหรัฐอเมริกาทีค่ รอบครองฟิลปิ ปินส์อยูเ่ ป็ นเวลานาน เป็ นผลให้ชาว
ฟิลปิ ปินส์มคี วามพร้อมและมีขอ้ ได้เปรียบทางด้านภาษาอังกฤษ และเป็ นปจั จัยทีเ่ อือ้ ให้ชาว
ฟิลปิ ปินส์เดินทางไปประกอบอาชีพในต่างประเทศเป็ นจานวนมาก
• ประเทศฟิลปิ ปินส์เป็ นประเทศเดียวในแถบภูมภิ าคอาเซียนทีน่ บั ได้ว่ามีการเคลือ่ นย้ายแรงงานออก
นอกประเทศมากทีส่ ดุ รองลงมาคือ ประเทศอินโดนีเซีย ไทย และเวียดนาม โดยชาวฟิลปิ ปินส์ท่ี
เคลือ่ นย้ายออกไปทางานต่างประเทศ จะรูจ้ กั กันในชือ่ Overseas Filipino Workers (OFWs)
บทนา
• ปจั จัยผลักดันทีส่ าคัญทีท่ าให้ชาวฟิลปิ ปิ นส์ออกไปทางานต่างประเทศ
• ภาวะทางเศรษฐกิจของประเทศทีอ่ ยูใ่ นภาวะวิกฤติมาเป็ นระยะเวลาอันยาวนาน
• อัตราการว่างงานของประเทศฟิลปิ ปินส์ทม่ี คี อ่ นข้างสูง ในขณะทีค่ า่ ครองชีพของ
ฟิลปิ ปินส์นนั ้ ก็เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
• ปญั หาภาวะความยากจนทีส่ ง่ ผลกระทบต่อประชาชนชาวฟิลปิ ปิ นส์เป็ นอย่างมาก ทา
ให้แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์บางส่วนตัดสินใจเคลื่อนย้ายตนเองออกไปทางานยัง
ต่างประเทศ
• ค่านิยมการไปทางานยังต่างประเทศของชาวฟิลปิ ปินส์
• การชักชวนจากเครือญาติทไ่ี ปทางานยังประเทศปลายทางอยูก่ ่อนแล้วทีเ่ ป็ นปจั จัยทีม่ ี
ความสาคัญ
• จากข้อมูลของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติของประเทศฟิลปิ ปินส์ พบว่า จากจานวนการ
เคลือ่ นย้ายแรงงานออกนอกประเทศของฟิลปิ ปินส์ระหว่างปี พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2554 พบว่า
มีจานวนแรงงานทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจาก 6,977,507 คนในปี พ.ศ. 2548 เพิม่ ขึน้ เป็น
9,452,984 คนในปี พ.ศ. 2553 และ 10,455,788 คน ในปี พ.ศ. 2554
บริบททางประวัติศาสตร์
• การครอบครองของสเปน ค้าขายทางเรือสินค้ากับท่าเรืออาคาปูลโค (Acapulco) ของประเทศเม็กซิโก
จึงเป็ นการเปิดทางให้กบั ชาวฟิลปิ ปินส์ได้ประกอบอาชีพเป็ นกะลาสีเรือเดินเพือ่ ทางไปเม็กซิโก
• การตกเป็ นเมืองขึน้ ของประเทศสหรัฐอเมริกา ทาให้ฟิลปิ ปินส์ในช่วงนัน้ ถือว่าเป็ นเขตปกครองของ
ประเทศสหรัฐอเมริกา ชาวฟิลปิ ปินส์จงึ ถูกพิจารณาให้ถอื สัญชาติอเมริกนั (แต่ไม่ใช่พลเมืองชาว
อเมริกา) ซึง่ เป็ นการอานวยความสะดวกแก่ชาวฟิลปิ ปินส์ในการเดินทางเข้าไปในประเทศ
สหรัฐอเมริกามาก ชาวฟิลปิ ปินส์สว่ นใหญ่โดยเฉพาะผูช้ ายถูกจ้างให้ทางานในไร่ออ้ ยและไร่สบั ประรด
• การปฏิรปู การเคลือ่ นย้ายแรงงานในปี ค.ศ. 1965 ซึง่ มีการออกกฎการอพยพและสัญชาติ ด้วยการ
อะลุม่ อล่วยการเดินทางเข้าออกประเทศสหรัฐอเมริกาทาให้ชาวฟิลปิ ปินส์เดินทางไปทางานในประเทศ
สหรัฐอเมริกาและประเทศอืน่ ๆ
• การประกาศกฎอัยการศึกของอดีตประธานาธิบดีเฟอร์ดนิ นั มาร์กอส ค.ศ. 1972
• วิกฤตการณ์น้ ามันปีค.ศ. 1973 ประเทศฟิลปิ ปินส์ตอ้ งเผชิญกับภาวะการถดถอยทางเศรษฐกิจ จึงทา
ให้แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์พยายามออกนอกประเทศ โดยออกไปทางานในประเทศแถบตะวันออกกลาง
บริบททางประวัติศาสตร์
• ในช่วงปลายปี ค.ศ. 1980 ถึง ค.ศ. 1990 มากกว่า 90% ของการจ้างแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไป
ทางานในต่างประเทศแบบชัวคราว
่
(OFW) ได้เข้ามาในเอเชียและตะวันออกกลาง
• ในขณะที่ 23.7% เข้าไปทางานในแถบทวีปเอเชีย
• ระหว่างปีเดียวกัน มีประเทศในแถบตะวันออกกลางถึง 7 ประเทศทีเ่ ป็ นประเทศหลักติด 1 ใน 10
ประเทศในการเข้าไปทางานของแรงงานชาวฟิลปิ ปิ นส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศแบบชัวคราว
่
(OFW) โดยแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศแบบชัวคราว
่
(OFW) ประมาณ
200,000 คน เข้าไปทางานในประเทศซาอุดอิ ารเบีย
• ในปี ค.ศ.1990 ประเทศเจ้าบ้านลาดับที่ 6 จาก 10 ที่ แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานใน
ต่างประเทศแบบชัวคราว
่
(OFW) เข้าไปทางาน คือ ประเทศแถบเอเชียตะวันออกและเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
สถานการณ์ การเคลือ่ นย้ ายแรงงานของประเทศฟิ ลิปปิ นส์
จานวนแรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์ที่ออกไปทางานในต่างประเทศแบบชัว่ คราว (OFW)
แรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์ที่ออกไปทางานในต่างประเทศแบบชัว่ คราว (OFW) จาแนกตามประเทศผูร้ ับ
แรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์ ทเี่ ข้ ามาทางานในประเทศไทย
อย่ างถูกกฎหมายแบบชั่วคราวจาแนกตามอาชีพ
อาชีพ
ครู อาจารย์ ผู้ประกอบวิชาชีพด้ าน
การสอน
ผู้จัดการฝ่ ายต่ างๆ
ผู้ประกอบวิชาชีพด้ านธุรกิจ
เสมียน เจ้ าหน้ าที่ผ้ ูปฏิบัตงิ านประจา
สานักงาน
ผู้ปฏิบัตงิ านที่เกี่ยวข้ องด้ านศิลปะ
บันเทิง และกีฬา
ช่ างเทคนิคด้ านวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์
กรรมการและผู้บริหารระดับสูง
ผู้จัดการฝ่ ายผลิตและฝ่ ายปฏิบัตกิ าร
ผู้ปฏิบัตทิ ่ เี กี่ยวข้ องด้ านการเงินและ
การขาย
ผู้จัดการทั่วไป
อาชีพอื่นๆ
รวม
จานวน (คน)
5,227
1,084
763
190
185
163
116
59
29
27
657
8,500
สถานการณ์การส่ งเงินกลับเข้าประเทศของแรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์
• จากข้อมูลในปี ค.ศ. 2012 จานวนเงินทีแ่ รงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศแบบ
ชัวคราว
่
(OFW) ส่งกลับเข้ามาในประเทศมีจานวนถึง 21.391 พันล้านดอลล่าห์สหรัฐ ไม่รวมถึงเงิน
ทีส่ ง่ กลับเข้ามาด้วยช่องทางอืน่ ๆทีไ่ ม่เป็ นทางการ
• การส่งเงินกลับของแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศแบบชัวคราว
่
(OFW) ทาให้
ประเทศฟิลปิ ปินส์ได้รบั เงินจากการส่งออกแรงงานเป็ นจานวนมาก
• การส่งเงินกลับเข้าประเทศของแรงงานฟิลปิ ปินส์ในต่างประเทศได้ชว่ ยรักษาการขาดดุลและรักษาเส
ถีรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ จนอาจกล่าวได้วา่ ประเทศฟิลปิ ปินส์มรี ายได้จากการส่งเงินเข้า
ประเทศอยูใ่ นอันดับที่ 3 ของโลก และอยูใ่ นอันดับ 3 ของเงินส่งเข้าประเทศเมือ่ เทียบกับเปอร์เซ็นต์
ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในเอเชีย-แปซิฟิค (IMF, 2003)
• ด้วยเหตุน้ีเอง ทาให้รฐั บาลของประเทศฟิลปิ ปินส์ยกย่องแรงงานฟิลปิ ปิ นส์ทท่ี างานในต่างประเทศ
ว่าเป็ น “วีรบุรุษ”
นโยบายที่เกีย่ วข้ องกับการส่ งเสริมการจ้ างงานใน
ต่ างประเทศของประเทศฟิ ลิปปิ นส์
• สมัยประธานาธิบดี เฟอร์ดินัน มาร์กอส
• ออกกฎหมายแรงงานตามกฤษฎีกาประธานาธิบดีหมายเลข 442 (RD 442) ในการ
ส่งเสริมให้ชาวฟิลปิ ปินส์ออกไปทางานในต่างประเทศ
• มีการจัดตัง้ หน่วยงานต่าง ๆ ภายใต้กระทรวงแรงงานและการจัดหางาน (Department
of Labor and Employment) ให้ออกกฎระเบียบรับรองผูไ้ ปทางานในต่างประเทศ
• มีการจัดตัง้ สานักงานบริหารแรงงานฟิลปิ ปินส์ไปต่างประเทศ และมีการจัดตัง้
กระบวนการและองค์กรตามกฎหมายสาหรับการจ้างงานในต่างประเทศ
• นอกจากนี้ในช่วงมาร์กอสยังได้สร้างกองทุนขึน้ มา เรียกว่า กองทุนฝึกอบรมและ
สวัสดิการ (Welfare and Training Fund) ซึง่ ในปี ค.ศ. 1977 ได้เปลีย่ นมาเป็ นกองทุน
สวัสดิการสาหรับแรงงานในต่างประเทศ (Welfare Fund for Overseas Workers)
นโยบายที่เกีย่ วข้ องกับการส่ งเสริมการจ้ างงานใน
ต่ างประเทศของประเทศฟิ ลิปปิ นส์
• สมัยประธานาธิบดีคอราซอน อาคิโน
• มีการจัดตังส
้ านักงานบริ หารแรงงานฟิ ลิปปิ นส์ไปต่างประเทศ ในระดับภูมิภาค โดยมี
คณะทางานทางด้ านการตลาดได้ เดินทางไปประเทศต่างๆ เพื่อหาตลาดแรงงานใน
ต่างประเทศและเป็ นการส่งเสริ มให้ มีการจ้ างงานชาวฟิ ลิปปิ นส์มากขึ ้น
• การที่มีชาวฟิ ลิปปิ นส์ออกไปทางานในต่างประเทศเป็ นจานวนมากนัน้ ก็ทาให้ แรงงาน
ชาวฟิ ลิปปิ นส์ประสบปั ญหาต่างๆมากมาย โดยเฉพาะปั ญหาการทาร้ ายร่างกายแรงงาน
ชาวฟิ ลิปปิ นส์และการใช้ แรงงานฟิ ลิปปิ นส์ในทางที่ไม่ถกู ต้ อง
นโยบายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการส่ งเสริมการจ้ างงานใน
ต่ างประเทศของประเทศฟิ ลิปปิ นส์
• สมัยประธานาธิบดี ฟิเดล รามอส
• ทบทวนนโยบายทีเ่ กีย่ วข้องกับการเคลื่อนย้ายแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ใหม่ โดยวาง
มาตรการปกป้องแรงงานชาวฟิลปิ ปิ นส์ในต่างประเทศ
• ออกรัฐบัญญัตสิ าธารณรัฐ 8042 โดยมีวตั ถุประสงค์ในการปกป้องคุม้ ครองแรงงาน
หญิงและเด็ก การเตรียมการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมาย เศรษฐกิจและสังคมที่
เพียงพอและทันเวลาให้กบั แรงงานย้ายถิน่ อีกทัง้ ยังมีนโยบายให้กระทรวงแรงงานและ
การจัดหางาน (DOLE) ขอร้องให้กระทรวงต่างประเทศยกเลิกการออกเดินทางไป
ต่างประเทศสาหรับประเทศทีม่ วี กิ ฤตการณ์
• โครงการจัดหางานในต่างประเทศของฟิลปิ ปินส์จะอานวยความสะดวกและจัดบริการ
ต่างๆ ให้บรรลุความต้องการของชาวฟิลปิ ปินส์ทป่ี ระสงค์จะแสวงหางานใน
ต่างประเทศ
นโยบายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการส่ งเสริมการจ้ างงาน
ในต่ างประเทศของประเทศฟิ ลิปปิ นส์
• สมัยประธานาธิบดี กลอเรีย มากาปากัลป์ อาร์โรโย
• ให้ ความสาคัญกับนโยบายการส่งออกแรงงานไปทางานในต่างประเทศ ทังนี
้ ้เป็ นผลจาก
การส่งเงินกลับเข้ าประเทศของแรงงานฟิ ลิปปิ นส์ที่ทางานอนู่ในต่างประเทศ ที่เป็ น
จานวนมากจนสามารถช่วยรักษาการขาดดุลและรักษาเสถีรภาพทางเศรษฐกิจของ
ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ไว้ ได้
• มีการกาหนดนโยบายในการจัดการแรงงานให้ ได้ รับการคุ้มครองในต่างประเทศ และ
ส่งเสริ มให้ มีโอกาสที่เท่าเทียมกันสาหรับทุกคนตามที่รัฐธรรมนูญกาหนด โดยรัฐบาลจะ
อานวยความสะดวกให้ กบั แรงงานให้ มากที่สดุ โดยการติดต่อกับนายจ้ างในต่างประเทศ
กาหนดกระบวนการในการจัดการเอกสารก่อนการเดินทาง การจัดฝึ กอบรมก่อนเดินทาง
ไปทางานในต่างประเทศ และพยายามเจรจาและแก้ ปัญหาการใช้ แรงงานไปในทางที่ผิด
ของประเทศผู้รับแรงงาน
นโยบายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการส่ งเสริมการจ้ างงาน
ในต่ างประเทศของประเทศฟิ ลิปปิ นส์
• สมัยประธานาธิบดี เบนิกโญ่ อากิโน่
• การให้บริการแก่แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศแบบชัวคราว
่
(OFWs)
• ส่งเสริมความสามารถของ แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศแบบ
ชัวคราว
่
(OFWs) ให้สงู ขึน้
• บริการค่าจ้างแรงงาน
• โต๊ะความช่วยเหลือ (assistance desk)
• บริการอื่น ๆ เช่น การพัฒนาวิสาหกิจ (Entre premiership)ให้บริการทางจิตวิทยา
ติดต่อกับ NGO และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในด้านการให้ความช่วยเหลือต่างๆแก่
แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ โครงการเกษียณอายุ ทาโครงการลงทุน
กฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้าย
แรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์
• รัฐบัญญัติชาวฟิลิปปินส์ในต่างประเทศและแรงงานย้ายถิ่น ปี ค.ศ. 1995 (รัฐบัญญัติ
สาธารณรัฐ 8042)
• รัฐบัญญัตฉิ บับนี้เป็ นรัฐบัญญัตทิ ก่ี าหนดนโยบายการจัดหางานในต่างประเทศและยกระดับการคุม้ ครอง
และส่งเสริมสวัสดิการของแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศ ครอบครัวของแรงงาน
ชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศ และชาวฟิลปิ ปินส์ในต่างประเทศทีป่ ระสบภาวะ
ยากลาบากและต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ให้ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพมากขึน้
• สาระสาคัญของรัฐบัญญัตนิ ้ี ระบุให้รฐั บาลของประเทศฟิลปิ ปินส์
• ให้ความคุม้ ครองอย่างเต็มทีแ่ ก่แรงงานทัง้ ในท้องถิน่ และในต่างประเทศ ทัง้ ทีร่ ฐั ดาเนินการจัดหางานให้และ
ทีแ่ รงงานจัดหางานด้วยตนเอง
• ส่งเสริมการจัดหางานอย่างเต็มรูปแบบและให้โอกาสในการได้รบั การบริการการจัดหางานกับแรงงานชาว
ฟิลปิ ปินส์ทต่ี อ้ งการออกไปทางานในต่างประเทศอย่างเท่าเทียมกัน
• รัฐบาลควรจัดเตรียมการปกป้องคุม้ ครองแรงงานสตรีและเด็ก การจัดหาการช่วยเหลือทางกฎหมาย ในด้าน
เศรษฐกิจและสังคมทีเ่ พียงพอและทันเวลาให้กบั แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทต่ี อ้ งการออกไปทางานใน
ต่างประเทศ การมีสว่ นร่วมของแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทต่ี อ้ งการออกไปทางานในต่างประเทศใน
กระบวนการตัดสินใจทางการเมือง (ประชาธิปไตย) และการเป็ นตัวแทนของแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ใน
ต่างประเทศในสถาบันทีเ่ กีย่ วข้อง
กฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้าย
แรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์
• รัฐบัญญัติสาธารณรัฐ 9422 ในปี ค.ศ. 2007
• ซึง่ เป็ นการแก้ไขรัฐบัญญัตสิ าธารณรัฐ 8042 โดยการเรียกร้องจากหน่วยงานต่างๆ เช่น กลุ่ม NGOs
และกลุม่ องค์กรวิชาชีพ เช่น Overseas Placement Association of the Philippine (OPAP) และ The
Philippine Association of Service Exporters, Inc. (PASEI)
• การออกพระราชบัญญัติ RA 9422 ในปี 2007 เป็ นการแก้ไขกฎหมาย RA 8042 ซึง่ เป็ นกฎหมายที่
เกิดขึน้ มาจากการเรียกร้องจากหน่วยงานต่างๆโดยเฉพาะกลุม่ องค์กรภาคประชาสังคม และกลุ่มองค์กร
วิชาชีพ ทีอ่ อกมาเรียกร้องให้ลดขัน้ ตอนต่าง ๆ ในการออกไปทางานในต่างประเทศ พระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ ได้ให้สานักบริหารแรงงานฟิลปิ ปินส์ในต่างประเทศ (POEA) ทาหน้าทีใ่ ห้เข้มแข็งมากขึน้ โดย
ให้มกี ารอานวยความสะดวกในดาเนินการกับแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศด้วย
การลดขัน้ ตอน ฝึกอบรมก่อนออกไปทางานในต่างประเทศ ดาเนินการขัน้ ตอนเอกสารให้รวดเร็ว
ติดต่อกับประเทศผูร้ บั ร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศ โดยกลุม่ NGOs ต่างๆได้ชว่ ยเหลือในการวาง
ระเบียบแก่แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศ
โครงสร้ างการบริหารจัดการ
แรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์ ที่อยู่ใน
ต่ างประเทศ (Ruiz, 2008)
บทบาท หน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สำนักงำนบริ หำรแรงงำนฟิ ลิปปิ นส์ไปต่ำงประเทศ (POEA)
สำนักงำนแรงงำนฟิ ลิปปิ นส์ในต่ำงประเทศ (POLO)
สำนักงำนบริ หำรสวัสดิกำรแรงงำนในต่ำงประเทศ (OWWA)
หน่วยงำนพัฒนำฝี มือแรงงำนและเทคนิคศึกษำ (The Technical Skills Development Authority
(TESDA))
• สำนักงำน/ ตัวแทนกำรจัดหำงำนภำคเอกชนของประเทศฟิ ลิปปิ นส์
• ภำคประชำสังคม
•
•
•
•
สำนักงำนบริหำรแรงงำนฟิ ลิปปิ นส์ ไปต่ ำงประเทศ
(PHILIPPINE OVERSEAS EMPLOYMENT
ADMINISTRATION (POEA))
• เป็ นองค์กรตัวแทนของกระทรวงแรงงานและการจัดหางาน (Department of Labor and
Employment (DOLE)) ซึง่ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบในการบริหารจัดการทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดหางานใน
ต่างประเทศ และเป็ นผูม้ อี านาจแต่เพียงผูเ้ ดียวในการกาหนดนโยบายและนานโยบายและโปรแกรม
ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจ้างงานแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ในต่างประเทศไปปฏิบตั อิ ย่างเป็ นระบบ
• การดาเนินงานของ POEA
•
•
•
•
•
•
การพิจารณาคุณสมบัตแิ ละออกใบอนุญาตของสานักงาน/ตัวแทนจัดหางานภาคเอกชน
การสอดส่องดูแลการดาเนินงานของสานักงาน/ตัวแทนจัดหางานภาคเอกชน
การพิจารณาข้อร้องเรียนและบทลงโทษ
การปฐมนิเทศแรงงานก่อนออกเดินทาง
ดูแลเรือ่ งการทาสัญญาของแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานในต่างประเทศแบบชัวคราว
่
กาหนดมาตรฐานในการจ้างงานสาหรับชาวฟิลปิ ปินส์ทอ่ี อกไปทางานต่างประเทศเป็ นการชัวคราว
่
สำนักงำนแรงงำนฟิ ลิปปิ นส์ ในต่ ำงประเทศ
(PHILIPPINE OVERSEAS LABOR
OFFICE(POLO))
• สานักงานแรงงานฟิลปิ ปินส์ในต่างประเทศ (Philippine Overseas Labor Office) หรือ POLO ซึง่
เป็ นสานักงานพืน้ ทีภ่ ายใต้กระทรวงแรงงานและการจัดหางาน โดยหน่วยงานนี้จะตัง้ อยู่ในประเทศที่
จ้างแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ไปทางาน โดยมีเจ้าหน้าที่ ประกอบด้วย นักการทูตแรงงาน (Labor
Attaché) ผูช้ ว่ ยนักการทูตแรงงาน และเจ้าหน้าทีส่ วัสดิการ อยูป่ ระจาสานักงานในแต่ละประเทศ
ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ความต้องการ
• มีหน้าทีใ่ นการส่งเสริมการใช้แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ในประเทศเจ้าบ้านและจัดหาความช่วยเหลือ
สวัสดิการแรงงานฟิลปิ ปินส์ทท่ี างานในสถานทีก่ ่อสร้าง (On site) รวมถึงการเจรจาต่อรองในการ
จัดการความขัดแย้งกับนายจ้างต่างชาติ นอกจากนัน้ สานักงานแรงงานฟิลปิ ปินส์ในต่างประเทศ ยัง
ช่วยสานักงานบริหารแรงงานฟิลปิ ปินส์ไปต่างประเทศ (POEA) ในการลงทะเบียนของบริษทั
นายจ้างต่างชาติและตรวจสอบเอกสารการจ้างงานของแรงงานและเอกสารของบริษทั
• ปจั จุบนั มีสานักงานแรงงานฟิลปิ ปินส์ในต่างประเทศ 33 แห่งทัวโลก
่
กับเจ้าหน้าทีแ่ รงงานและผูช้ ว่ ย
เจ้าหน้าทีแ่ รงงานทัง้ หมด 47 คน และเจ้าหน้าทีส่ วัสดิการ 34 คน
สำนักงำนบริหำรสวัสดิกำรแรงงำนในต่ ำงประเทศ
(OVERSEAS WORKERS WELFARE
ADMINISTRATION (OWWA))
• สานักงานบริหารสวัสดิการแรงงานในต่างประเทศ นัน้ แรกเริม่ คือ กองทุนสวัสดิการสาหรับแรงงาน
ในต่างประเทศ (Welfare Fund for Overseas Workers (WFOW))
• สานักงานบริหารสวัสดิการแรงงานในต่างประเทศ (OWWA) เป็ นหน่วยงานทีส่ าคัญทีม่ บี ทบาทใน
การดูแล และคุม้ ครอง รวมทัง้ การจัดสวัสดิการต่าง ๆ เพือ่ แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ โดยมีการจ่ายเงิน
สมทบเข้าสานักงานบริหารสวัสดิการแรงงานในต่างประเทศ (OWWA) และผูท้ เ่ี ป็ นสมาชิกจะได้รบั
สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ
• การบริการต่างๆของสานักงานบริหารสวัสดิการแรงงานในต่างประเทศ เช่น (1) ประกันภัย
ด้านการเสียชีวติ , ทุพพลภาพ, และการดูแลรักษาสุขภาพ (2) การศึกษาและการฝึกอบรม (3)
โปรแกรมเงินกูย้ มื สาหรับค่าใช้จา่ ยก่อนการเดินทางและสร้างการดารงชีพสาหรับการกลับมาของ
แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทไ่ี ปทางานในต่างประเทศแบบชัวคราว
่
(OFWs) และครอบครัวของพวกเขา
(4) โปรแกรมการกลับคืนสูส่ งั คม (5) ความช่วยเหลือในสถานทีท่ างาน ภูมภิ าค
หน่วยงำนพัฒนำฝี มือแรงงำนและเทคนิคศึกษำ
(THE TECHNICAL SKILLS DEVELOPMENT
AUTHORITY (TESDA))
• หน่วยงานพัฒนาฝีมอื แรงงานและเทคนิคศึกษา (The Technical Skills Development
Authority (TESDA)) ซึง่ เป็ นหน่วยงานทีด่ าเนินการให้ใบรับรองและประสบการณ์การ
ทางาน โดยมีหน้าทีค่ วามรับผิดชอบหลัก ดังนี้
• รวบรวม ร่วมมือ และสอดส่องดูแลโปรแกรมการพัฒนาทักษะต่างๆทีถ่ ูกจัดเตรียมให้โดยโรงเรียน ศูนย์
ฝึกอบรมและองค์กรต่างๆ
• พัฒนาและนาเอามาตรฐานทักษะและการทดสอบต่างๆไปใช้
• พัฒนาระบบ แต่งตัง้ มอบหมายสถาบันต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องในการฝึกอบรมวิชาชีพ-เทคนิค
• ให้เงินทุน โปรแกรมและโครงการสาหรับการพัฒนาทักษะและเทคนิคศึกษา
• ช่วยเหลือโปรแกรมการฝึกอบรมของผูฝ้ ึกสอน
สำนักงำน/ ตัวแทนกำรจัดหำงำนภำคเอกชนของ
ประเทศฟิ ลิปปิ นส์
• สานักงาน/ตัวแทนจัดหางานภาคเอกชนมีบทบาทหน้าทีห่ ลักในขัน้ ตอนการเคลื่อนย้าย
แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ออกไปทางานในต่างประเทศตัง้ แต่การนาเสนอแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์
ให้กบั นายจ้างชาวต่างชาติไปจนถึงการส่งตัวแรงงานกลับประเทศเนื่องจากการยุตติของ
สัญญาการว่าจ้างงานหรือการส่งศพกลับในกรณีของการเสียชีวติ ของแรงงาน
ภำคประชำสังคม
องค์ กรภาคประชาสั งคมโดยเฉพาะกลุ่ม NGO
ส่ งเสริ มและผลักดันให้แรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์ออกไปทางานในต่างประเทศ
การช่วยปฐมนิเทศแรงงานก่อนออกเดินทางไปต่างประเทศ (PDOS)
ให้คาแนะนาเกี่ยวกับการเดินทางไปทางานในต่างประเทศ
คอยช่วยเหลือแรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์ที่ออกไปทางานในต่างประเทศและเผชิญกับความยากลาบาก
ประสานงาน รวมทั้งจัดการ และเร่ งรัดการทางานของภาครัฐโดยเฉพาะ POEA และ OWWA
การดูแลในประเด็นเกี่ยวกับกฎหมาย
เป็ นตัวกลางในการเจรจา หรื อการดาเนินงานต่าง ๆ ระหว่างแรงงานกับองค์กรนายหน้าภาคเอกชน
ปัญหา/ อุปสรรคจากการเคลือ่ นย้ ายแรงงาน
ของชาวฟิ ลิปปิ นส์
• คุณภาพชีวติ หรือความไม่เท่าเทียมกันของประชากร ทาให้แรงงานทีม่ ฐี านะดีกว่ามีโอกาสทีจ่ ะได้
ไปทางานยังต่างประเทศมากกว่า ทัง้ นี้เนื่องจากการเดินทางไปทางานยังต่างประเทศนัน้ จาเป็ นต้อง
ใช้คา่ ใช้จา่ ยจานวนมาก
• การติดต่อทีย่ ุง่ ยาก ล่าช้า การขาดการประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ และเอกชน
• การกีดกันแรงงาน
• ปญั หาจากสวัสดิการการทางาน ค่าจ้างจากการจ้างงานรวมทัง้ ความไม่เท่าเทียมของรายได้
• ปญั หาในการดาเนินการตามกฎหมายในแต่ละประเทศทีแ่ ตกต่างกัน รวมทัง้ การไม่สอดประสานหรือ
การแบ่งแยกการทางานของหน่วยงานซึง่ ทาให้ตอ้ งเสียเวลาในการประสานงาน
• การทางานข้ามสายอาชีพ ซึง่ แรงงานไม่มคี วามถนัดในงานทีท่ า
• ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
สถานการณ์แรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์ในประเทศไทย
• แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทเ่ี คลือ่ นย้ายตนเองออกจากประเทศนัน้ มีแรงงานส่วนหนึ่งทีเ่ คลือ่ นย้ายแรงงานเข้ามายัง
ประเทศไทยโดยมีจานวน 9,209 รายใน พ.ศ.2555
• แบ่งเป็ นประเภททัวไป
่ 8,500 คน และประเภทส่งเสริมการลงทุน 709 คน
• ซึง่ เมือ่ พิจารณาจากจานวนทัง้ หมดแล้วพบว่า แรงงานฝีมอื ชาวฟิลปิ ปินส์มจี านวนเพิม่ ขึน้ จากปี พ.ศ. 2554
(เพิม่ ขึน้ 1,372 คน) และเพิม่ ขึน้ 2,202 คน (พ.ศ. 2553) เมือ่ เปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2553 และ พ.ศ.
2555
สถานการณ์แรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์ในประเทศไทย
• แรงงานฝีมอื ชาวฟิลปิ ปินส์ทเ่ี ข้ามาทางานในประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็ นแรงงานทีอ่ อกจากประเทศ
ฟิลปิ ปินส์เพือ่ ไปทางานในต่างประเทศแบบไม่ถูกระเบียบ (Undocumented workers) เนื่องจาก
แรงงานเหล่านัน้ ตัง้ ใจทีจ่ ะเดินทางเข้ามาหาประสบการณ์ในประเทศไทยโดยเข้ามาด้วยวีซ่า
นักท่องเทีย่ ว และเมือ่ ได้งานทางานในประเทศไทยแล้ว ก็จะอยูท่ างานสักระยะหนึ่ง แล้วจึงกลับเข้า
ประเทศฟิลปิ ปินส์เพือ่ ไปดาเนินการเกีย่ วกับเอกสารการจ้างงานกับสานักงานบริหารแรงงาน
ฟิลปิ ปินส์ไปต่างประเทศ เพือ่ เปลีย่ นสถานภาพแรงงานจากแรงงานทีอ่ อกไปทางานในต่างประเทศ
แบบไม่ถกู ระเบียบ (Undocumented workers) เป็ นแรงงานทีไ่ ปทางานในต่างประเทศแบบชัวคราว
่
(Oversea Filipino workers) ซึง่ แรงงานเหล่านัน้ จะสามารถออกไปทางานในต่างประเทศได้อย่าง
ถูกระเบียบ อีกทัง้ ยังได้รบั สวัสดิการต่างๆทีห่ น่วยงานของรัฐจัดเตรียมให้ เช่น จากสานักงานบริหาร
สวัสดิการแรงงานในต่างประเทศ เป็ นต้น
สาเหตุให้แรงงานฝี มือชาวฟิ ลิปปิ นส์เข้ามา
ประกอบอาชีพในประเทศไทย
• การเข้ ามาทางานในประเทศไทยของแรงงานฟิ ลิปปิ นส์นนส่
ั ้ วนใหญ่เข้ ามาโดยการชักชวนของ
เพื่อน ญาติพี่น้องซึง่ ประกอบอาชีพครูในประเทศไทยอยู่ก่อนแล้ ว
• ในประเทศไทยเองก็มีความต้ องการอาจารย์ชาวต่างประเทศมาพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
โดยเฉพาะทักษะด้ านการพูดและการฟั งให้ กบั เด็กนักเรี ยนในโรงเรี ยน เพื่อเตรี ยมการรองรับ
การเข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียนในอนาคต
• อัตราการจ้ างแรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์ไม่สงู มากนักเมื่อเทียบกับแรงงานที่เป็ นเจ้ าของภาษา
• ชาวฟิ ลิปปิ นส์มีจดุ เด่นทางด้ านภาษาอังกฤษเนื่องจากเคยเป็ นเมืองขึ ้นของประเทศ
สหรัฐอเมริ กามาก่อน จึงทาให้ แรงงานชาวฟิ ลิปปิ นส์สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ ไม่ต่างกับ
เจ้ าของ
ปัจจัยดึงดูดและปัจจัยผลักดันที่ทาให้แรงงานฝี มือ
ชาวฟิ ลิปปิ นส์เข้ามาประกอบอาชีพในประเทศไทย
ปัจจัยดึงดูด
ปัจจัยดึงดูดด้านวัฒนธรรม ค่านิยม (3.88)
ปัจจัยดึงดูดด้านด้านเทคโนโลยี และสิ่ งแวดล้อม (3.63)
ปัจจัยดึงดูดด้านเศรษฐกิจ (3.62)
ปัจจัยผลักดัน
ปัจจัยผลักดันด้านวัฒนธรรม ค่านิยม (3.37)
ปัจจัยผลักดันด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ (3.31)
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (3.30)
ปัญหา/ อุปสรรคของแรงงานฝี มือชาวฟิ ลิปปิ นส์ ใน
การเข้ ามาประกอบอาชีพในประเทศไทย
• แรงงานฝีมอื ชาวฟิลปิ ปิ นส์สว่ นใหญ่ประสบปญั หาด้านภาษาและวัฒนธรรม
• กฎ ระเบียบ และเอกสารเกีย่ วกับการตรวจลงตรา (VISA) และการขอ
ใบอนุญาตทางาน มีการเปลีย่ นแปลงบ่อย และใช้เวลาในการขอค่อนข้างนาน
และ
• ความไม่เท่าเทียมกันระหว่างอาจารย์ชาวฟิลปิ ปินส์และอาจารย์ท่เี ป็ นเจ้าของ
ภาษา
LESSON LEARN
• นโยบายส่งออกแรงงานของประเทศฟิลปิ ปินส์นับเป็ นตัวแบบทีด่ ใี นการส่งเสริมการส่งออกแรงงาน
อย่างครบวงจร ทัง้ การพัฒนาแรงงาน การควบคุมการส่งออกแรงงานให้เป็ นไปตามกฎหมาย การ
คุม้ ครองแรงงาน สวัสดิการแรงงาน การให้สทิ ธิประโยชน์แก่แรงงาน การดาเนินคดีเมือ่ แรงงาน
ไม่ได้รบั ความเป็ นธรรมและมาตรการรองรับเมือ่ แรงงานกลับประเทศ ทาให้ประเทศฟิลปิ ปิ นส์ได้ชอ่ื
ว่ามีรปู แบบการบริหารจัดการแรงงานทีเ่ ป็ น “รูปแบบระดับโลกในการบริหารจัดการแรงงานย้ายถิน่
(global model in managing international labor migration)”
• ประเทศไทยในฐานะทีม่ แี รงงานไทยออกไปทางานในต่างประเทศเป็ นจานวนมาก แต่รฐั บาลไทยยัง
ไม่เคยมีนโยบายการส่งออกแรงงานอย่างเฉพาะเจาะจง ในขณะทีแ่ รงงานไทยทีต่ อ้ งการออกไป
ทางานในต่างประเทศยังไม่ได้รบั การคุม้ ครองเท่าทีค่ วร ดังนัน้ ประเทศไทยจึงควรจะพิจารณา
รูปแบบการบริหารจัดการแรงงานของประเทศฟิลปิ ปินส์ เพือ่ นามาเป็ นแบบอย่างในการบริหาร
จัดการแรงงานไทยทีอ่ อกไปทางานในต่างประเทศ อีกทัง้ เพือ่ เป็ นการเตรียมความพร้อมของ
ประเทศไทยเมือ่ มีการเคลือ่ นย้ายแรงงานมากขึน้ ในอนาคต
LESSON LEARN
• แรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ทเ่ี ข้ามาทางานในประเทศไทยนัน้ ส่วนใหญ่เข้ามาในประเทศไทยด้วยวีซา่ ท่องเทีย่ ว
(Tourist Visa) เพือ่ เข้ามาหาโอกาสการทางานในประเทศไทย เมือ่ ได้งานแล้วก็ดาเนินการเปลีย่ นวีซา่ ให้เป็ นวี
ซ่าทางานชัวคราว
่
(Non-Immigrant-B) ซึง่ ถือว่าถูกต้องตามกฎหมายของประเทศไทย แต่ไม่ถูกกฎหมายของ
ประเทศฟิลปิ ปินส์ เนื่องจากไม่ได้รบั Exit Clearance จากการผ่านกระบวนการของสานักบริหารแรงงาน
ฟิลปิ ปินส์ไปต่างประเทศ (POEA) และไม่ได้ขน้ึ ทะเบียนแรงงานของประเทศฟิลปิ ปินส์
• เพือ่ ให้มกี ารดาเนินการทีถ่ ูกต้องตามกฎหมายของทัง้ 2 ประเทศ สานักบริหารแรงงานชาวฟิลปิ ปินส์ไป
ต่างประเทศ อาจทาความร่วมมือกับสานักบริหารแรงงานต่างด้าวของประเทศไทย ในการกากับดูแลและ
ตรวจสอบ Exit Clearance ของแรงงานฝีมอื ชาวฟิลปิ ปินส์ทป่ี ระกอบอาชีพในประเทศไทย เช่น ครู อาจารย์
ผูจ้ ดั การ วิศวกรฯลฯ และควรมีมาตรการในการจ้างงาน โดยระบุให้ Exit Clearance เป็ นเอกสารหลักฐาน
สาคัญทีแ่ รงงานฝีมอื ชาวฟิลปิ ปินส์จะใช้ยน่ื เพือ่ ขออนุญาตการทางานในประเทศไทย (Work Permit)