serious9 - สมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทย

Download Report

Transcript serious9 - สมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทย

การเผชิญความเครียดและการปรับตัวของข้ าราชการ
ทหารอากาศ ทีป่ ฏิบัตริ าชการ
ณ กกล.ทอ.ฉก. 9 สนามบินบ่ อทอง จังหวัดปัตตานี
นาวาอากาศเอก
นิวัตร
อินทรวิเชียร MD
นาวาอากาศโทหญิง วัชราภรณ์ เปาโรหิตย์
RN; PhD.
นาวาอากาศตรี หญิง จิตรา
โรจน์ ขจรนภาลัย RN; MSN
คณะผู้วจิ ัย
Topic
• Background
• Objectives
• Research Methodology
• Results
• Discussion and suggestion
• “ People who stay inside home with
warmth and safe, they never know
danger outside the house. While many
soldiers dedicate their lives to protect
their homeland.”
American Journalist “ Daniel Benjamin”
Car bomb
Terrorism
Map of Tambon Bo thong , A Nongig
Pattini
กกล.ทอ.ฉก. 9
PEACE MAKER
DIMOND
ถ่ ายภาพทางอากาศ
DELL
ค้ นหาช่ วยชีวิต
C-130
ส่ งกลับทางอากาศ
ผบ.กกล. ทอ.ฉก 9 น.อ. สุเวทย์ งูพมิ าย
การฝึ กปฏิบัตทิ างยุทธวิธีในพืน้ ที่อันตราย
เหตุการณ์ระเบิด
การซุ่มโจมตี
นร. รรบ้านตันหยง อ บาเจาะ จ นราธิวาส
หลัง่ น้ าตา คิดถึงครู ชลธี เจริ ญชล
ความเครียด
Objectives
• เพื่อศึกษาระดับความเครี ยด
• รู ปแบบการปรั บตัว
• ปั ญหาด้ านร่ างกาย จิตใจ และอื่นๆ
นิยามศัพท์ เฉพาะ
• ข้ าราชการ กองทัพอากาศ (ทอ.) หมายถึง ข้ าราชการ ทอ. ที่ปฏิบัติ
หน้ าที่ ใน กกล.ทอ.ฉก.9 ณ สนามบินบ่ อทอง ปัตตานี ซึ่งหมายรวมถึง
ผู้ทาการในภาคอากาศ และภาคพืน้
• ความเครียด หมายถึง สภาวะจิตใจทีข่ าดความอดทน อดกลั้น และเต็ม
ไป ด วยความคิดที่ไร ประโยชน อันเนื่องมาจากความกดดันจาก
ภาระหน้ าทีก่ ารงาน ความไม่ แน่ นอน ข้ อมูลข่ าวสารความรุนแรง และ
สภาพแวดล้อมทีเ่ ต็มไปด้ วยอันตราย ซึ่งส่ งผลต่ อสุ ขภาพ
นิยามศัพท์ เฉพาะ
การปรับตัว หมายถึง เป็ นกระบวนการเผชิญปัญหาที่ข้าราชการ
กองทัพอากาศ ซึ่งปฏิบัติหน้ าที่ ใน กกล.ทอ.ฉก.9 ใช้ เพือ่ การปรับตัว
ประกอบด้ วย 2 รูปแบบ ดังนีค้ อื
1. แสดงการกระทาโดยตรง โดยพยายามปรับตัวเพือ่ แก้ไขปัญหาหรื อ
ความยุ่งยากทีป่ ระสบอยู่โดยตรง เพือ่ เป็ นการจัดการกับปัญหา ใน
สถานการณ์ ทกี่ ่อให้ เกิดความเครียด จากเหตุการณ์ ความรุนแรง
สถานการณ์ ก่อการร้ าย เพือ่ ให้ ตนเองรู้สึกคลีค่ ลายไปในทางทีด่ ีขนึ้
แบ่ งเป็ น 4 วิธี
• 1 การเตรียมการเพื่อต่ อสู้กับภัยอันตราย
(Preparing Against of Harm) เป็ นการปรับตัว
เพื่อแก้ ไขปั ญหาความยุ่งยาก โดยการปรับปรุ งพัฒนา
ตนเองให้ พร้ อมที่จะเผชิญกับปั ญหาความยุ่งยากที่จะ
เกิดขึน้
• 2 การต่ อสู้กับต้ นเหตุของภัยอันตราย (Attack on
the Against of Harm) เป็ นการปรับตัวเพื่อแก้ ไข
ปั ญหาความยุ่งยากหรือป้องกันตนเองโดยการแสดง
พฤติกรรมเพื่อลดหรือกาจัดปั ญหาหรือความยุ่งยาก
• 3 การหลีกเลี่ยงจากภัยอันตราย (Avoidance of
Harm) เป็ นการปรับตัวเพื่อแก้ ไขปั ญหาความยุ่งยาก
โดยการหลีกเลี่ยงหรือหลบหนีจากสถานการณ์ ท่ เี ป็ น
ปั ญหาหรือความยุ่งยากโดยการไตร่ ตรองอย่ างรอบคอบ
4 การอยู่เฉยหรื อการไม่ สนใจ (Inaction or
Apathy toward Harm) เป็ นการปรับตัวเพื่อแก้ ไข
ปั ญหาความยุ่งยากโดยการอยู่เฉย หรือการไม่ สนใจไม่ คิด
จะต่ อสู้หรื อหลบหลีกปั ญหา
• 3.2 การใช้ กลไกป้องกันทางจิต (Defensive Adjustment) เป็ น
การปรับตัวเพือ่ แก้ไขปัญหาความยุ่งยาก การปรับตัวโดยปรับความรู้สึก
หรือความคิดใหม่ เพือ่ ลดความวิตกกังวลทีเ่ กิดจากปัญหา ด้วยการ
ปฏิเสธ การเก็บกด หรือการกล่าวโทษ
Lazarus and Folkman( 1984 )
การปรั บตัวด้ วยกระทา
โดยตรง
1.การเตรี ยมการเพื่อ
ต่ อสู้กับภัยอันตราย
2.การต่ อสู้กับต้ นเหตุ
ของภัยอันตราย
3.การหลีกเลี่ยงจากภัย
อันตราย
4.การอยู่เฉย
การปรับตัวโดย
ความเครียด
การใช้กลไก
ป้องกันทางจิต
• Research Methodology
• Descriptive research
• เครื่องมือทีท่ ใี่ ช้ ในการวิจัย
1. แบบประเมินและวิเคราะห์ ความเครียดด้ วยตนเองสาหรับประชาชน มี
ค่ าความเที่ยง r = 0.9101
2. แบบสอบถามการปรับตัวต่ อเหตุการณ์ หรือปัญหาทีผ่ ่ านการตรวจสอบ
ความตรงตามเนือ้ หา และมีค่าความเที่ยง r = 0.9274
3. แบบสั มภาษณ์ ชนิดกึง่ มีโครงสร้ างซึ่งครอบคลุมปัญหาด้ านร่ างกาย
ปัญหาด้ านจิตใจ และปัญหาอืน่ ๆ
• Research Methodology
• การวิเคราะห์ ข้อมูล: แจกแจงความถี่ ร้ อยละ
• F- test เพื่อเปรียบเทียบการปรับตัว จาแนกตาม
ชัน้ ยศ ระยะเวลาปฏิบตั หิ น้ าที่ และ ทดสอบความ
แตกต่ างระหว่ างกลุ่มโดยใช้ LSD
• และทาการวิเคราะห์ เนือ้ หา (Content analysis)
จากการสัมภาษณ์
ผลการวิจัย
• ระดับความเครียดของ ข้ าราชการทหารอากาศ ที่ปฏิบัติราชการ ณ กกล.
ทอ.ฉก.9
• เครียดระดับปกติ= ร้ อยละ 49.08
• ระดับความเครียดสู งกว่ าปกติเล็กน้ อย = ร้ อยละ 7.79
• ระดับเครียดปานกลาง = ร้ อยละ 4.13
ผลการวิจัย
•
•
•
•
•
•
2. การปรับตัวด้ วยการกระทาโดยตรง
แบบการเตรียมการเพือ่ ต่ อสู้ กบั ภัยอันตรายระดับ ปานกลาง
แบบการต่ อสู้ กบั ต้ นเหตุของภัยอันตราย ระดับปานกลาง
แบบการหลีกเลีย่ งจากภัยอันตราย ระดับปานกลาง
แบบการอยู่เฉย ระดับปานกลาง
แบบการใช้ กลไกการป้องกันตนเองทางจิต ระดับน้ อย
ผลการวิจัย
การปรั บตัวจาแนกตามชัน้ ยศ
• แบบการเตรี ยมการเพื่อต่ อสู้กับภัยอันตราย พบว่ า พลทหาร มี
ค่ าเฉลี่ยการปรั บตัวน้ อยกว่ าทุกชัน้ ยศ
• แบบการต่ อสู้กับต้ นเหตุของภัยอันตราย พบว่ า ร.ต.-ร.อ, น.ต.-น.อ
มี ค่ าเฉลี่ย การปรั บตัว มากกว่ าพลทหาร, จ.ต- จ.อ,พ.อ.ต. พ.อ.อ.
ผลการวิจัย
• แบบการหลีกเลีย่ งจากภัยอันตรายพบว่ า ร.ต.-ร.อ, น.ต. - น.อ มี
ค่ าเฉลีย่ การปรับตัวมากกว่ า พลทหาร, จ.ต- จ.อ, พ.อ.ต. -พ.อ.อ.
•
• แบบการอยู่เฉย พบว่ า ร.ต.-ร.อ,น.ต. - น.อ มีค่าเฉลีย่ การปรับตัว
มากกว่ า พลทหาร, จ.ต- จ.อ, พ.อ.ต. -พ.อ.อ. อย่ างมีนัยสาคัญทาง
สถิติที่ 0.05
ฝึ กความพร้ อมปฏิบัตติ ามแผนเผชิญเหตุ สร้ างความมั่นใจ
ผลการวิจัย
• การปรับตัวโดย การใช้ กลไกป้องกันทางจิต กับเหตุการณ์ หรือ
ปั ญหาที่เกิดขึน้ พบว่ าทุกชัน้ ยศมีการปรับตัวไม่ แตกต่ างกัน อย่ าง
มีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ ี 0.05
ผลการวิจัย
• 4. การปรับตัวจาแนกตามระยะเวลาปฏิบัติหน้ าที่
แบบการเตรียมการเพือ่ ต่ อสู้ กบั ภัยอันตราย พบว่ า ข้ าราชการทหารอากาศ
ทีป่ ฏิบัติหน้ าที่ 6 เดือนขึน้ ไปเดือนมีค่าเฉลีย่ การปรับตัวมากกว่ า ผู้
ปฏิบัติหน้ าทีน่ ้ อยกว่ า 6 เดือน
แบบการต่ อสู้ กบั ต้ นเหตุของภัยอันตราย พบว่ า ข้ าราชการทหารอากาศ ที่
ปฏิบัติหน้ าทีท่ ุกระยะมีค่าเฉลีย่ การปรับตัวไม่ แตกต่ างกัน
ปจว./สร้ างสัมพันธ์ กับชาวบ้ าน/เยาวชน
ผลการวิจัย
• การปรับตัวแบบหลีกเลีย่ งจากภัยอันตรายและการปรับตัวแบบการอยู่
เฉยพบว่ า ข้ าราชการทหารอากาศ ทีป่ ฏิบัติหน้ าที่ 6 เดือนขึน้ ไป ใช้
มากกว่ าของข้ าราชการทีป่ ฏิบัติหน้ าที่ น้ อยกว่ า6 เดือน
• การใช้ กลไกป้ องกันทางจิต พบว่ า ข้ าราชการทหารอากาศ ทีป่ ฏิบตั ิ
หน้ าที่ ทุกระยะมีค่าเฉลีย่ การปรับตัวโดยใช้ กลไกทางจิต ไม่แตกต่ างกัน
ผลการวิจัย
• ปัญหาทีพ่ บคือ ด้ านร่ างกายเป็ นไข้ หวัด แพ้อากาศ มีนา้ มูก ปวดเมื่อย
กล้ามเนือ้ ปวดศีรษะ เพลีย เหนื่อยล้า อ่อนแรง โรคกระเพาะ ปวดท้ อง
บ่ อยๆ ท้ องเสี ย ปวดหลังจากการใส่ ร่มชู ชีพ ปวดเมื่อยเพราะใส่ เกราะ
• ปัญหาด้ านจิตใจและอารมณ์ ที่พบ เป็ นห่ วงครอบครัว คิดถึงภรรยาและ
ลูก คิดถึงแม่
• ปัญหาอืน่ ๆ เช่ นทางบ้ าน เกีย่ วกับเรื่องเงินทอง หนีส้ ิ น การศึกษาของลูก
หงุดหงิดมากเวลาทีอ่ ุปกรณ์ ใช้ งานไม่ สมบูรณ์
Discussion and suggestions
• สาเหตุของความเครี ยด คือ รู้ สึกไม่ ปลอดภัย ( unsafe ) เพราะ
เสือ้ กันกระสุนไม่ มีประสิทธิภาพ
• ข้ อเสนอแนะ ผู้บริหารควรพิจารณาจัดหาเสือ้ กันกระสุนที่มี
ประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มความรู้ สึกปลอดภัยแก่ ผ้ ูลงพืน้ ที่ จัดหา
เครื่ องมือสื่อสารให้ เพียงพอ และพัฒนาอาวุธให้ เพียงพอและทันสมัย
• นอกจากนั้นสิ่ งจูงใจภายนอก
• เงิน พสร. เพิม่ จากเงินปกติ เหตุผลดังกล่าวอาจเป็ นสิ่ งจูงใจภายนอกให้
วิง่ เต้ นเพือ่ สมัครมาปฏิบัติหน้ าที่ ในหน่ วย กกล.ทอ.ฉก. 9 ซึ่ง
ข้ าราชการบางคนอาจไม่ พร้ อม ทาให้ เมื่อปฏิบัติการเป็ นทีมจึงก่อให้ เกิด
ปัญหากับสมาชิกในทีม และส่ งผลให้ เกิดความเครียดได้
• จึงเสนอแนะว่ าควรมีนักจิตวิทยา จิตแพทย์ ลงพืน้ ที่เพือ่ ให้ คาปรึกษา
ทุกๆ 3 เดือน
• ผู้ทปี่ ฏิบัติหน้ าทีม่ ีการปรับตัวโดยการใช้ กลไกทางจิต
ระบายให้ ครอบครัวฟัง ยึดถือพระกับศาสนาเป็ นเครื่องยึดเหนีย่ วจิตใจ
เล่นกีฬา ออกกาลัง เล่นเปตอง หรือ ปลูกผัก เลีย้ งเป็ ด เลีย้ งไก่ เลีย้ ง
แมว ปลูกผักสวนครัว ฟังเพลง ออกกาลังกาย
ข้ อเสนอแนะจากการสั มภาษณ์
• จัดหาโล่กนั กระสุ นและกล้องติดปลายปื นให้ เพียงพอ
• จัดหาอาวุธทีท่ นั สมัย และมีการทาแผนการบารุงรักษาอาวุธและอุปกรณ์
ให้ ใช้ งานได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
• เจ้ าหน้ าทีก่ าลังพลจากหน่ วยต้ นสั งกัดขาดการติดตามเรื่องสิ ทธิกาลังพล
เมื่อต้ องมาปฏิบัติหน้ าที่ ที่ กกล.ทอ.ฉก. 9 ทาให้ ขาดสิ ทธิกาลังพลที่
สาคัญ เช่ น การสอบเลือ่ นวิทยฐานะ
• การสอบ ECL ที่เกณฑ์ 40 ไม่ มีโอกาสเกิดขึน้ เพราะอยู่ในหน่ วย
ปฏิบัติการ ต้ องการให้ พจิ ารณาเป็ นกรณีพเิ ศษ
• การพิจารณาผลัดเปลีย่ นกาลังควรผลัดเปลีย่ นทีล่ ะครึ่งเพื่อให้ ผ้ปู ฏิบตั ิ
หน้ าที่ใหม่ ได้ ศึกษาการเผชิญปัญหาและการปรับตัวเนื่องร่ วมกับผู้ที่
ปฏิบัติหน้ าทีอ่ ยู่ก่อนเนื่องจากผลการวิจัยระบุว่าผู้ทปี่ ฏิบัตหิ น้ าทีต่ ้งั แต่ 6
เดือนขึน้ ไปปรับตัวได้ ดีกว่ า
ขอขอบคุณสมาคมแพทย์ ทหารแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชู ปถัมภ์
ท่ านผู้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงาน