ตัวอย่างเอกสารการสัมมนา - วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา

Download Report

Transcript ตัวอย่างเอกสารการสัมมนา - วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา

วิชา สัมมนาทางการวัดและเทคโนโลยี
ทางวิทยาการปั ญญา (692782)
คณาจารย์ ผ้ ูสอน
รศ.ดร.เสรี ชัดแช้ ม
ดร.พูลพงศ์ สุขสว่ าง
นาเสนอโดย
นายกุลพัฒน์ ยิ่งดานุ่น
รหัสประจาตัวนิสิต 53810246
หลักสูตรปรั ชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาการวัดและเทคโนโลยีทางวิทยาการปั ญญา
ชื่องานวิจัยภาษาอังกฤษ
Time and Moral Judgment
ชื่องานวิจัยภาษาไทย
เวลา และการตัดสินใจในเชิงคุณธรรม
ชื่อวารสาร Cognition
ประวัตบิ ทความวิจัย (Article history)
Received 5 July 2010
Revised 18 January 2011
Accepted 30 January 2011
Available online 26 February 2011
หมายเลขเอกสาร doi:10.1016 / j.cognition.2011.01.018
Impact factor
3.70 in 2011 (1 Y.)
4.32 in 2007 – 2011 (5 Y.)
คณะผู้วจิ ัย
Renata S. Suter and Ralph Hertwig
สถาบัน และที่อยู่ของผู้วจิ ัย
University of Basel, Department of Psychology,
Missionsstrasse 60-64, 4055 Basel, Switzerland
คาสาคัญที่ใช้ สืบค้ น (Keywords)
Morality, Cognitive
คาสาคัญของบทความวิจัย (Keywords)
Morality, Judgment, Reasoning,
Intuition, Moral dilemmas,
Time pressure
Historical Background
In a subway station
A passenger standing next to you suddenly falls onto
the tracks.
You must decide what to do ?
Historical Background
In a subway station
When asked about the reason for his action ?
He responded, ‘‘I just saw someone who needed help
I did what I felt was right’’ (Buckley, 2007).
Historical Background
Historical Background
On the deck of the sinking RMS Titanic in 1912
Historical Background
On the deck of the sinking RMS Titanic in 1912
วันที่ 15 เมษายน ค.ศ.1912 เวลา 02.30 น. เรือทัง้ ลาจมสู่
มหาสมุทรแอตแลนติคเหนือ ผู้โดยสารและลูกเรือ 2,217 คน
รอดชีวิต 704 คน เสียชีวิต 1,513 ราย ถึงเวลาประมาณ 04.20 น.
มีเรือโดยสารขนาดใหญ่ ช่ อื "อาร์ เอ็ม เอส คาร์ พาเธีย"
(RMS Carpathia) ที่อยู่ใกล้ เคียงได้ เข้ าไปช่ วยเหลือผู้รอดชีวิต
ที่อยู่บนเรือชูชีพ พาสู่ นิวยอร์ ก วันที่ 17 เมษายน ค.ศ.1912
Historical Background
Crew would have nearly 3 H. to deliberate on the
consequences of saving his own life, or sacrificing himself
for the lives of other More Passengers.
Historical Background
The crew’s survival rate was 18% higher than that
of the passengers.
(Frey, Savage, and Torgler. 2009)
Historical Background
On the RMS Titanic in 1912
In a subway station
- ทาไม ลูกเรือไททานิค มีเวลาคิดพิจารณาไตร่ ตรอง 3 ชม.
ควรจะสามารถช่ วยชีวิตผู้โดยสาร ให้ รอดชีวิตได้ มากกว่ านี ้ ?
- ทาไม บางคน มีเวลาคิดแค่ เสีย้ ววินาที กลับคิดช่ วยชีวิตผู้อ่ นื
ให้ ปลอดภัย ทัง้ ที่อาจเป็ นอันตรายต่ อตนเองถึงชีวิต ?
แสดงว่ า เวลามีส่วนเกี่ยวข้ องกับรู ปแบบ
การตัดสินใจในเชิงจริยธรรม ของมนุษย์ !!!!!!!!!!
Theory and Conceptual idea
Theory of dual-process model of moral judgment.
Deontology and Consequentialism
(Greene et al., 2001)
Theory of unconscious thought.
Unconscious and Conscious thought.
(Dijksterhuis, Bos, Nordgren, and van Baaren’s. 2006)
Theory and Conceptual idea
Theory of dual-process model of moral judgment.
Deontology and Consequentialism
(Greene et al., 2001)
1. Deontology
2. Consequentialism
Theory of moral judgment
1. Deontology
หมายถึง แนวคิดปฏิบัตนิ ิยม ของการตัดสินใจเชิง
คุณธรรมจริยธรรม จะเน้ นที่การปฏิบัติ การกระทา
ตามกฎระเบียบของบ้ านเมือง หลักปฏิบัตทิ างศาสนา
ข้ อควรปฏิบัตใิ นสังคม สิทธิและหน้ าที่ ที่ควรปฏิบัติ
Theory of moral judgment
1. Deontology
ตัวอย่ างการปฏิบัติ
1. ลูกเรือไททานิค ไม่ ยอมรับผู้โดยสารเพิ่ม ทัง้ ที่มีท่ วี ่ าง
แต่ อาจเกินจานวนภาระที่กาหนดของเรื อชูชีพ
2. ตารวจจับกุมผู้กระทาผิดกฎจราจร ทัง้ ที่รถคันนีก้ าลัง
จะไปส่ งผู้ป่วยที่โรงพยาบาล
3. การสังหารผู้ป่วยโรคร้ ายแรงเพื่อปกป้องชีวติ ผู้อ่ นื
อีกนับหมื่นคน
Theory of moral judgment
2. Consequentialism
หมายถึง แนวคิดผลลัพธ์ นิยม ของการตัดสินใจในเชิง
คุณธรรมจริยธรรม จะเน้ นที่ผลลัพธ์ ผลกระทบ
ที่ดีท่ สี ุดของการปฏิบัติ ของการกระทานัน้ แม้ ส่ งิ ปฏิบัติ
อาจจะขัดกับกฎหมาย หรือหลักศาสนาไปบ้ าง
Theory of moral judgment
2. Consequentialism
ตัวอย่ างการปฏิบัติ
1. ลูกเรือไททานิค ยอมรับผู้โดยสารเพิ่ม แต่ กช็ ่ วยกัน
ระวังเพราะเกินจานวนภาระที่กาหนดของเรื อชูชีพ
2. ตารวจไม่ จับกุม แต่ ตกั เตือน หรือจดชื่อผู้กระทาผิด
กฎจราจร เพราะรถรีบไปส่ งผู้ป่วยที่โรงพยาบาล
3. การไม่ สังหารผู้ป่วยโรคร้ ายแรงเพื่อปกป้องชีวติ ผู้อ่ นื
อีกนับหมื่นคน แต่ หาทางดูแลแก้ ไขให้ ดที ่ สี ุด
Objective of the Study
Study on judgment and more specifically,
on an influential dichotomy in ethics,
between Deontology and Consequentialism.
Experiment 1
Participants
67 psychology students from the University of Basel
(45 women; age range: 17– 46 years,
M = 24.7, SD = 5.8)
Man
Woman
Total
22
45
67
Experiment 1
Design
Randomly assigned to 2 group
Group condition
Participants
Time screen
Time response
Time pressure No time pressure
33
34
35 s.
35 s.
With in 8 sec.
3 min
Experiment 1
Materials
10 Moral dilemmas question.
เป็ นข้ อคาถามเชิงสถานการณ์
5 ข้ อเกี่ยวกับ อันตรายถึงชีวติ ของผู้คน ตาย สาหัส
5 ข้ อเกี่ยวกับ ข้ อควรปฏิบัติ คุณธรรม จริยธรรม
หรือข้ อกฎหมาย
Experiment 1
Procedure
1. เริ่มทาทีละข้ อ ตามลาดับ จนครบ 10 ข้ อ
2. มีเวลาพิจารณาสถานการณ์ 35 วินาที
(จับเวลาเมื่อหยุดดูคาถาม เพื่อเริ่มการตอบได้ )
3. กลุ่ม Time pressure ตอบภายใน 8 วินาที
(เวลาที่หน้ าจอ จะนับถอยหลัง 8 7 6 5 4...0)
4. กลุ่ม No time pressure ครบ 3 นาที แล้ วค่ อยตอบ
5. เลือกแล้ วไม่ สามารถเปลี่ยนคาตอบได้
Experiment 1
Moral dilemmas question.
ข้ อคาถามเชิงสถานการณ์
1. ถ้ าคุณอยู่บนเรือขนาดเล็กจุได้ 5 คนแล่ นกลางทะเล
ท่ ามกลางพายุ แต่ พบคน 2 คนกาลังจมนา้ ถ้ ารับขึน้ มา
เรืออาจจมเพราะนา้ หนักเกิน ทาให้ ทุกคนเป็ นอันตราย
ถ้ าไม่ ช่วย พวกเขาจมนา้ เสียชีวติ แน่ นอน คุณจะช่ วยหรือไม่ .
Experiment 1
Moral dilemmas question.
ข้ อคาถามเชิงสถานการณ์
2. ถ้ าคุณอยู่ในหมู่บ้านชายแดนที่มีปัญหาขัดแย้ งรุ นแรง
คุณเห็นทหารต่ างชาติอาวุธครบมือ รุ กลา้ เข้ ามา
หากคุณตะโกนบอกเพื่อนบ้ านคุณจะเสียชีวติ เป็ นคนแรก
แต่ อาจช่ วยหลายคนให้ ปลอดภัย ถ้ าไม่ ตะโกนคุณก็จะ
ปลอดภัย ถามว่ าคุณจะตะโกนแจ้ งข่ าวหรือไม่ .
Experiment 1
Moral dilemmas question.
ข้ อคาถามเชิงสถานการณ์
3. ถ้ าคุณ อยู่ตรงที่สับหลีก รางรถไฟ และรถไฟกาลังวิ่ง
มาด้ วยความเร็ว รางด้ านซ้ ายมีเด็ก 2 คน อายุ 7 ขวบ
เล่ นอยู่บนราง ส่ วนรางด้ านขวามีคนงาน 5 คน กาลัง
ซ่ อมราง คุณจะเลือกสับรางไปในทิศทางใด.
Experiment 1
Results
1. กลุ่ม Time pressure จะตอบภายใน 3 วินาที
เฉลี่ย 2,853 ms. SD 768 (ทัง้ ที่มีเวลา 8 วินาที)
2. ในกลุ่ม Time pressure มี 3 คนไม่ ตอบ 1 ข้ อคาถาม
(สอดคล้ องกับทฤษฎีของ Greene.(2001) กล่ าวว่ า
ภายใต้ ความกดดันในด้ านเวลา ผู้ตอบมีแนวโน้ ม
ที่จะเลือกไม่ ตอบ/ไม่ กล้ าตัดสินใจ)
Experiment 1
Results
เวลาที่ใช้ ดขู ้ อคาถาม
Time pressure
No time pressure
M
26.87 s
28.25 s
SD
4.39 s
4.24 s
จากเวลาที่อนุญาตให้ ผ้ ูร่วมทดลอง ดูทงั ้ หมด 35 วินาที
Experiment 2
Theory of unconscious thought.
(Dijksterhuis, Bos, Nordgren, and van Baaren’s. 2006)
เพื่อตรวจสอบ ทาซา้ การทดลองที่ 1
Theory of unconscious thought
1. Unconscious thought (Intuition)
คิดโดยใช้ สัญชาตญาณ – คิดเร็ว ในเวลาจากัด
2. Conscious thought (Deliberation)
คิดพิจารณาไตร่ ตรองอย่ างรอบคอบ – คิดช้ า ไม่ จากัดเวลา
Experiment 2
Participants
80 psychology students from the University of Basel
(48 women; age range: 18– 49 years,
M = 23.3, SD = 5.2)
Man
Woman
Total
32
48
80
Experiment 2
Design
Randomly assigned to 2 group
Group condition
Participants
Time screen
Time response
Intuition
40
35 s.
Quickly
Deliberation
40
35 s.
Long time
Experiment 2
Materials
10 Moral dilemmas question.
เป็ นข้ อคาถามเชิงสถานการณ์ ชุดเดียวกับการทดลองที่ 1
5 ข้ อเกี่ยวกับ อันตรายถึงชีวติ ของผู้คน ตาย สาหัส
5 ข้ อเกี่ยวกับ ข้ อควรปฏิบัติ คุณธรรม จริยธรรม
หรือข้ อกฎหมาย
Experiment 2
Results 1
เวลาที่ใช้ ดขู ้ อคาถาม
Intuition
Deliberation
M
28.98 s
27.61 s
SD
4.66 s
3.98 s
จากเวลาที่อนุญาตให้ ผ้ ูร่วมทดลอง ดูทงั ้ หมด 35 วินาที
Experiment 2
Results 2
เวลาที่ใช้ ตอบข้ อคาถาม
M
Intuition
4,452 ms
Deliberation
12,092 ms
SD
2,721 ms
2,947 ms
จากเวลาที่อนุญาตให้ ผ้ ูร่วมทดลอง
1. กลุ่ม Intuition ต้ องตอบทันที หรือเร็วที่สุด
2. กลุ่ม Deliberation สามารถตอบได้ เมื่อพร้ อม
Conclusion
จากการทดลองที่ 1
1. กลุ่มที่จากัดเวลาในการคิด
ต้ องตอบภายใน 8 วินาที มีแนวโน้ มการตอบ
ไปในทาง การปฏิบัตนิ ิยม (Deontology)
2. กลุ่มที่ให้ เวลาในการคิด 3 นาที
มีแนวโน้ มการตอบ
ไปในทาง ผลลัพธ์ นิยม (Consequentialism)
Conclusion
จากการทดลองที่ 2
1. กลุ่ม Intuition (ใช้ สัญชาตญาณ)
ต้ องตอบทันทีหรือเร็วที่สุด มีแนวโน้ มการตอบ
ไปในทาง การปฏิบัตนิ ิยม (Deontology)
2. กลุ่ม Deliberation (คิดพิจารณาไตร่ ตรอง)
สามารถตอบได้ เมื่อพร้ อม
มีแนวโน้ มการตอบไปในทาง
ผลลัพธ์ นิยม (Consequentialism)
Conclusion
จากการทดลอง แสดงให้ เห็นว่ า
1. เวลาเกี่ยวข้ องกับการตัดสินใจเชิงคุณธรรมจริ ยธรรม
(สอดคล้ องกับ Greene,และคณะ 2001)
2. การคิดแบบใช้ สัญชาตญาณ (Intuition) และ
การคิดแบบพิจารณาไตร่ ตรอง (Deliberation)
เกี่ยวข้ องกับการตัดสินใจเชิงคุณธรรมจริยธรรม
(สอดคล้ องกับ Dijksterhuis,และคณะ 2006)
Conclusion
จากผลการทดลอง
ในมุมมอง ด้ านผลลัพธ์ นิยม (Consequentialism)
คือ การคิดพิจารณาไตร่ ตรอง ใคร่ ครวญอย่ างรอบคอบ
ถือเป็ นการประสบความสาเร็จ หรือสนับสนุน
แนวคิดด้ าน Cognitive Processes
Advantages จุดแข็งของการวิจัย
1. วิจัยโดยอาศัยฐานของทฤษฎี
2. นาเสนอแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้ องชัดเจน
3. การทดลองมีการสุ่มแบ่ งเข้ ากลุ่ม
4. ข้ อคาถามการทดลองมีคุณภาพ เพราะปรับใช้ จาก
งานวิจัยหลายเรื่อง ในประเด็นคล้ ายกัน
แนวทางการทาวิจัยในอนาคต
วิจัยโดยอาศัยฐานทฤษฎีของงานวิจัยนี ้ โดย
1. การพัฒนากิจกรรมที่พฒ
ั นาความสามารถในการ
ตัดสินใจเชิงคุณธรรมจริยธรรมในเด็กและเยาวชน
2. เพิ่มการตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG)
ในขณะทดลองการตัดสินใจเชิงคุณธรรมจริยธรรม
นอกเหนือจาก การวัดเวลาการตัดสินใจ
ขอบคุณครั บ