นางสาวสิริภรณ์ คลังชำนาญ เลขที่ 23

Download Report

Transcript นางสาวสิริภรณ์ คลังชำนาญ เลขที่ 23

จัดทำโดย
นำงสำว สิริภรณ์ คลังชำนำญ
เลขที่ 23
ชัน้ มัธยมศึกปี ที่ 4/1
“ข้ อความทุกข้ อความทีเ่ ราเข้ าใจต้ องประกอบขึน้ ด้ วย
ส่ วนประกอบทีเ่ ราคุ้นเคยเท่ านั้น”
• เบอร์ ทรั นด์ อำร์ เทอร์ วิลเลียม รั ส
เซลล์
• Bertrand Arthur William
Russell
ประวัติ
• รัสเซลล์เป็ นเด็กกำพร้ำ ตั้งแต่ 2 ขวบ และอำศัยอยูก่ บั ปู่ ย่ำ
• รัสเซลล์เป็ นเด็กที่เรี ยนดีมำก แต่เขำต้องเรี ยนที่บำ้ นเนี่องจำกย่ำเป็ นห่วงควำม
ปลอดภัยของเขำ
• ย่ำของรัสเซลเคร่ งเรื่ องกำรเรี ยนของเขำทำให้เขำเป็ นเด็กค่อนข้ำงหัวรุ นแรง
• อำยุ 11 ขวบ เขำได้เริ่ มสนใจเรื่ องศำสนำอย่ำงจริ งจัง
• อำยุ 18 ปี รัสเซลเข้ำเรี ยนในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เขำไม่พอใจในกำรสอน
แบบโปรำณของมหำลัย จึงคิดวิธปรับเปลี่ยนกำรสอน
• สำมปี ต่อมำ เขำได้รับ ปริ ญญำเกียรตินิยมสำขำคณิ ตศำสตร์ และสมัครเข้ำ
เป็ นสมำชิกของสมำคมเกี่ยวกับกำรเผยแพร่ ศำสนำชื่อ “The Apostles”
ประวัติ
• รัสเซลล์เป็ นเด็กกำพร้ำ ตั้งแต่ 2 ขวบ และอำศัยอยูก่ บั ปู่ ย่ำ
• รัสเซลล์เป็ นเด็กที่เรี ยนดีมำก แต่เขำต้องเรี ยนที่บำ้ นเนี่องจำกย่ำเป็ นห่วงควำม
ปลอดภัยของเขำ
• ย่ำของรัสเซลเคร่ งเรื่ องกำรเรี ยนของเขำทำให้เขำเป็ นเด็กค่อนข้ำงหัวรุ นแรง
• อำยุ 11 ขวบ เขำได้เริ่ มสนใจเรื่ องศำสนำอย่ำงจริ งจัง
• อำยุ 18 ปี รัสเซลเข้ำเรี ยนในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เขำไม่พอใจในกำรสอน
แบบโปรำณของมหำลัย จึงคิดวิธปรับเปลี่ยนกำรสอน
• สำมปี ต่อมำ เขำได้รับ ปริ ญญำเกียรตินิยมสำขำคณิ ตศำสตร์ และสมัครเข้ำ
เป็ นสมำชิกของสมำคมเกี่ยวกับกำรเผยแพร่ ศำสนำชื่อ “The Apostles”
• ปี ถัดมำ รัสเซลล์สนใจเรี ยนวิชำปรัชญำอีกสำขำหนึ่งนักปรัชญำที่เขำสนใจผลงำน
มำกที่สุด คือ เฮเกล และบรัดเลย์ และได้คว้ำปริ ญญำเกียรตินิยมอันดับ 1
• เขำได้รวบรวมคำบรรยำยของเขำตีพิมพ์เป็ นเล่ม ชื่อ ประวัติศาสตร์ แห่ งปรัชญา
ตะวันตก (History of Western Philosophy) ซึ่ งได้กลำยเป็ นหนังสื อที่ขำย
ดีที่สุดทั้งในอังกฤษและสหรัฐอเมริ กำ
• รัสเซลเคยได้รับ รำงวัลโนเบลสำขำวรรณกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950)
ปรัชญำของรัสเซลล์
แนวปรัชญาของรัสเซล ไม่คงตัว ซึง่ พอจะแบ่งออกได้ เป็ น 4 ระยะ คือ
• ระยะอุดมกำรณ์ นิยม
• ระยะสัจนิยมและปรมำณูทำงตรรกะ
• ระยะสัจนิยมและสร้ ำงสรรค์ นิยมทำงตรรกะ
• ระยะสัจนิยมและสร้ ำงสรรค์ นิยมของมนัส
ระยะสั จนิยมและปรมาณูทางตรรกะ
• ท่ำนมีควำมเชื่อมัน่ ว่ำ ภำษำในอุดมกำรณ์ (ideal language) จะต้อง
ตรงกับควำมเป็ นจริ ง ภำษำในอุดมกำรณ์น้ ีได้มำโดยอำศัยหลัก
ควำมคุน้ เคย (principle of acquaintance) อันเนื่องมำจำก
ประสบกำรณ์ ตั้งสูตรขึ้นว่ำ“ ข้ อความทุกข้ อความทีเ่ ราเข้ าใจต้ อง
ประกอบขึน้ ด้ วยส่ วนประกอบทีเ่ ราคุ้นเคยเท่ านั้น” นั้นคือรัสเซลเชื่อว่ำ
ควำมคุน้ เคย (acquaintance) เป็ นสิ่ งค้ ำประกันควำมแน่นอนของ
ควำมรู ้ของเรำ และในทำนองนี้สิ่งที่เรำมัน่ ใจได้ก่อนอืน่ ทั้งหมดมิใช่
ข้อควำม หรื อควำมสัมพันธ์ (Logical construction) แต่เป็ นข้อมูล
(data) ซึ่งจะประกอบขึ้นเป็ นข้อควำมปรมำณู (Logical statement)
• อย่ำงไรก็ดี ต่อมำรัสเซลเองเกิดสงสัยขึ้นมำว่ำ เรำจะเอำอะไรมำตัดสิ น
ได้วำ่ อะไรเป็ นปรมำณูทำงตรรกะ เรำคุน้ เคยและคิดว่ำมันง่ำยทีส่ ุ ด
แล้วแต่ควำมจริ งมันอำจจะถูกวิเครำะห์ต่อไปอีกก็ได้ ที่สุดรัสเซลก็ละ
ควำมพยำยำมที่จะคิดอภิปรัชญำ และสนใจที่จะค้นคว้ำเรื่ องรำวควำมรู ้ที่
เขำมีสมรรถภำพอยูเ่ ท่ำนั้น พยำยำมให้ได้ใกล้ควำมเป็ นจริ งทีส่ ุ ดก็
พอแล้ว
ประโยชน์ จากปรัชญาที่นามาใช้ ในชีวติ ประจาวัน
• ใช้ ในการคิดการคานวณคณิตศาสตร์ กล่ำวคือ เรำต้องคุน้ เคยในกำร
ทำโจทย์คำนวณในเรื่ องนั้นๆมำก่อน หำกเรำไม่คุน้ เคยใจส่ วนประกอบ
ของโจทย์ที่กำหนดมำให้ หรื อเรำไม่เคยเรี ยนมำเรำก็จะไม่สำมำรถทำ
โจทย์น้ นั ๆได้
• ใช้ ในการวิเคราะห์ โจทย์ คณิตศาสตร์ กล่ำวคือ กำรที่เรำเข้ำกำร
ตีควำมของโจทย์วำ่ กล่ำวถึงเรื่ องอะไร เรำต้องมีควำมคุน้ เคยในเรื่ อง
นั้นๆมำก่อน จึงจะทรำบ เช่น หำกโจทย์ถำมถึงเรื่ องสับเซต เรำต้องมี
ควำมเข้ำใจ คุน้ เคยหรื อเคยทรำบมำก่อนว่ำสับเซตนั้นต้องหำอย่ำงไร ทำ
อย่ำงไร เรำจึงสำมำรถทำเรื่ องสับเซตได้
อ้ำงอิง….
• http://th.wikipedia.org
/wiki/%E0%B9%80%E0
%B8%9A%E0%B8%AD
%E0%B8%A3%E0%B9%
8C%E0%B8%97%E0%B
8%A3%E0%B8%B1%E0
%B8%99%E0%B8%94%
E0%B9%8C_%E0%B8%
A3%E0%B8%B1%E0%B
8%AA%E0%B9%80%E0
%B8%8B%E0%B8%A5%
E0%B8%A5%E0%B9%8
C
วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2556