แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของประเทศไทย ม.4

Download Report

Transcript แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของประเทศไทย ม.4

วิชาหน้ าที่พลเมือง (เพิ่มเติม) รหัสวิชา ส 30225
ผู้สอน ครูโชคชัย กลมเกลียว
การศึกษาเกี่ยวกับที่มาของชนชาติไทยยังคงเป็ นประเด็นถกเถียงกันอยู่และ
หาข้ อยุตแิ น่ นอนไม่ ได้ 5 แนวคิด คือ
แนวคิดที่ 1 ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่ทางตอนเหนือของจีน แถบ
ภูเขาอัลไต
แนวคิดที่ 2 ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่ตอนกลางของจีน แถบ
มณฑลเสฉวน
แนวคิดที่ 3 ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่ทางตอนใต้ ของจีน
แนวคิดที่ 4 ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่ในบริเวณที่เป็ นประเทศไทย
ในปั จจุบันมาตัง้ แต่ โบราณกาล
แนวคิดที่ 5 ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่แถบหมู่เกาะ มาเลเซียและ
อินโดนีเซียในปั จจุบัน
1. ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่ทางตอนเหนือของจีน
แถบภูเขาอัลไต
• ดร.วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด์ (Dr.
william Clifton Dodd) หมอสอน
ศาสนาชาวอเมริกนั พบว่าหมูช่ นที่เชื่อกันว่าเป็ น
ชนชาติไทยนัน้ ได้ ตงถิ
ั ้ ่นฐานเป็ นรัฐอยู่แว่นแคว้ น
อยูใ่ นประเทศจีนแล้ ว ก่อนที่จีนจะอพยพลงมา
โดยเสนอแนวคิดนี ้ในงานเขียนเรื่ อง The Tai
Race : The Elder Brother of
the Chinese ซึง่ เขาได้ อาศัยหลักฐาน
ประเภทตานานและพงศาวดาร และจดหมาย
เหตุของจีนในการค้ นคว้ า
• เมื่อ ๒๐๙๔ ปี ก่อนพุทธศักราช ขณะนันจี
้ นยังอยูท่ างทะเลแคสเบี ้ยน หรื อ
อยูร่ ะหว่างการเคลื่อนย้ ายมุ่งสูต่ ะวันออก ยังไม่ได้ ตงอาณาจั
ั้
กรลงในดินแดน
ที่เป็ นประเทศจีนเวลานี ้ และประวัติศาสตร์ ที่ขงจื ้อ เขียนเอง เริ่ มต้ นที่พระเจ้ า
เย้ า เมื่อ ๑๘๑๔ ปี ก่อนพุทธศักราช ก็ยงั เป็ นระยะเวลาที่อาณาจักรจีนยัง
ไม่ได้ ตงถิ
ั ้ ่นฐานมัน่ คง การสารวจดินแดนซึง่ กระทาในรัชสมัย พระเจ้ ายู้ เมื่อ
ประมาณ ๑๕๐ ปี พบว่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลเสฉวน
ปั จจุบนั เขตแดนจีนในครัง้ นันไปจดอาณาเขตของอาณาจั
้
กรใหญ่อาณาจักร
หนึ่งชื่อว่า ต้ ามุง ซึง่ เป็ นพวกเดียวกับพวกที่มาตังอาณาจั
้
กรน่านเจ้ า เมื่อปี
พ.ศ. ๑๑๗๒ และพวกต้ ามุงนี ้เรี ยกตัวเองว่าอ้ ายลาว
• จากหลักฐานพบว่า ก่อนนี ้มีอาณาจักรของคนไทยเราเรี ยกตนเองว่า
“อ้ ายลาว” ต่อมาจึงใช้ คาว่า “ไท” หลังอ้ ายลาว นอกจากอ้ ายลาวแล้ ว
เรายังมีชื่อเรี ยกกันหลายอย่าง เช่น มุง ลุง ปา ตามหลักฐานกล่าวว่าถิ่น
ฐานของไทยอยูร่ ะหว่างแม่น ้าฮวงโหและแม่น ้ายัง่ จื ้อหรื อแยงซี และใน
จดหมายเหตุจีนเรี ยกชื่อคนไทยครัง้ แรกว่า “ต้ ามุง” ซึง่ ก็คือ “อ้ ายลาว” ที่
ไว้ เรี ยกตัวเองนัน่ เอง
• ขุนวิจติ รมาตรา (รองอามาตย์ โท สง่ า กาญจนาค
พันธุ์) ข้ าราชการที่มีความสนใจประวัติศาสตร์ ไทย มีความเห็น
สอดคล้ องกับแนวความคิดนี ้ จึงได้ นามาขยายความต่อ โดยได้ ศกึ ษา
ค้ นคว้ าและเขียนผลงานออกเผยแพร่ในหนังสือชื่อ หลักไทย ซึง่ พิมพ์
เผยแพร่เมื่อ พ.ศ. 2471
•
“....... ในชัน้ แรกทีเ่ ดียว ไทยจะมีชาติ ภูมิอยู่ตรงไหนนัน้ ไม่มีทางทราบ
ได้ชดั แต่อาจกล่าวได้กว้างๆ ว่ามีแหล่งเดิ มอยู่ในบริ เวณภูเขาอัลไตอัน
เป็ นบ่อเกิ ดของพวกมงโกลด้วยกันเท่านัน้ ภายหลังจึงแยกลงมาข้าง
ใต้ มาตัง้ ภูมิลาเนาใหญ่โตขึ้นในลุ่มน้าเหลือง ขณะทีจ่ ี นแยกไปเรี ยงราย
อยู่ตามชายทะเลสาบคัสเปี ยนทางด้านตะวันตก พร้อมกันกับพวก
ตาต ซึ่งเทีย่ วไปมาอยู่แถวทะเลทรายชาโมหรื อโกบีใกล้ๆ กับบ้านเกิ ด
นัน้ เอง พวกไทยได้ชยั ภูมิเป็ นอู่ขา้ วอู่น้าบริ บูรณ์ดีกว่าพวกอืน่ ๆ จึง
เจริ ญก้าวหน้าบรรดาสายมงโกลด้วยกัน.......” (ขุนวิจิตรมาตรา)
หมายเหตุ แนวคิดที่ 1
ปั จจุบันมีผ้ ูคัดค้ านแนวความคิดนีม้ าก เนื่องจากหลักฐานที่มีอยู่
ไม่ เพียงพอ ประเกอบกับเทือกเขาอัลไตอยู่ในเขตหนาว ซึ่งอยู่
ห่ างไกลจากประเทศไทยในปั จจุบันมาก หากมีการอพยพ
โยกย้ ายลงมาจริงก็จะต้ องผ่ านอากาศหนาวเย็น และทะเลทราย
อันกว้ างใหญ่ ท่ เี ต็มไปด้ วยความทุรกันดาร เป็ นระยะทางยาวไกล
ยากที่จะมีชีวิตรอดมาเป็ นจานวนมากได้
2. ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่ตอนกลางของจีน
แถบมณฑลเสฉวน
• ศาสตราจารย์ แตร์ รีออง เดอ ลาคูเปอรี (Terrien de la
Couprie) แห่งมหาวิทยาลัยลอนดอน เป็ นผู้เสนอแนวความคิดนี ้
เมื่อ พ.ศ. 2428 ลาคูเปอรี่ ได้ แนวความคิดนี ้จากการค้ นคว้ า
ประวัตศิ าสตร์ และนิรุกติศาสตร์ (ภาษาโบราณ) โดยเสนอความเห็นไว้
ในบทนาของหนังสือ The Cardle of The Shan Race ตีพิมพ์ที่
อังกฤษใน พ.ศ. 2428 ในบทความนี ้ลาคูเปอรี สรุปว่าคนเชาติไทยเดิม
ตังถิ
้ ่นฐานอยูท่ างตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลเสฉวน
• สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยาดารง
ราชานุภาพ ได้ ทรงแสดงทัศนะในแนวเดียวกัน
ไว้ ในพระนิพนธ์เรื่ อง แสดงบรรยายพงศาวดาร
สยาม เมื่อ พ.ศ. 2467 ว่า ดินแดนแถบ
ประเทศไทยแต่เดิมเป็ นถิ่นที่อยูข่ องพวก
ละว้ า มอญ เขมร คนไทยอยูแ่ ถบทิเบตติดต่อ
กับเขตแดนจีน (มณฑลเสฉวน
ปั จจุบนั ) ราว พ.ศ. 500 ถูกจีนรุกราน จึง
อพยพมาอยูท่ ี่ยนู นาน และแยกย้ ายกันไปทาง
ตะวันตก คือ เงี ้ยว ฉาน ทางใต้ คือ สิบสองจุ
ไทย และทางตอนล่างคือ ล้ านนา ล้ านช้ าง
• ศาสตราจารย์ พระยาอนุมานราชธน
(เสถียรโกเศศ) ได้ กล่าวไว้ ในหนังสือ ที่
เขียนขึ ้นจากการรวบรวมข้ อมูลเอกสาร
ชื่อ เรื่องของชาติไทย(พ.ศ. 2483) ว่า
“ถิ่นเดิมของคนไทยอยูท่ างตอนกลางของ
ประเทศจีนในลุม่ แม่น ้าแยงซี ฝั่ งซ้ ายตังแต่
้
มณฑลเสฉวนไปจดทะเลทางตะวันออก”
• พระบริหารเทพธานี กล่าวไว้ ในผลงาน ซึง่ ได้ จากการศึกษาค้ นคว้ า
คือเรื่ อง พงศาวดารชาติไทย (พ.ศ. 2496) ว่า ถิ่นเดิมของไทยอยู่
บริเวณตอนกลางของจีน ต่อมาอพยพลงมาที่มณฑลยูนนาน และ
ค่อยๆ ลงมาทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
• หลวงวิจติ รวาทการ เป็ นอีกท่านหนึง่ สนใจเรื่ องถิ่นกาเนิดของชาติไทย
ท่านได้ แสดงทัศนะไว้ ในหนังสือ สยามกับสุวรรณภูมิ(พ.ศ. 2467)และ
งานค้ นคว้ าเรื่ องชนชาติไทย (พ.ศ. 2499) สรุปว่าเดิมคนไทยอยู่ทาง
ตอนกลางของจีน ในดินแดนซี่งเป็ นมณฑลเสฉวนร ฮูเป อันฮุย และ
เกียงซีในปั จจุบนั แล้ วค่อยๆ อพยพลงมาสูม่ ณฑลยูนานและแหลมอิน
โดจีน
หมายเหตุ แนวคิดที่ 2
• ปั จจุบันได้ มีหลักฐานการค้ นคว้ า
ใหม่ ๆ แย้ งแนวความคิดนีว้ ่ าคน
ไทยเป็ นพวกประกอบอาชีพการ
เพาะปลูกพืชเมือง
ร้ อน โดยเฉพาะการปลูกข้ าว จึง
น่ าจะอยู่ในที่ราบลุ่มในเขตร้ อน
ชืน้ มากกว่ าบริเวณที่เป็ นภูเขาอัน
ฮุยหรือที่ราบสูงซึ่งมีอากาศหนาว
หลวงวิจติ รวามการ
3. ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่ทางตอนใต้ ของจีน
• บริเวณทางตอนใต้ ของจีนในทีนี ้ หมายถึง บริเวณซี่งปั จจุบนั เป็ น
มณฑลยูนนานของจีน ตอนเหนือของเวียตนาม รัฐฉานของพม่า และ
รัฐอัสสัมของอินเดีย
• อาร์ ซิบัล รอสส์ โคลฮูน (Archibal Ross Colquhoun)
หลังจากเขาเดินทางสารวจโดยออกเดินทางจากวางตุ้ง ประเทศจีนไป
ทางตะวันตกถึงเมืองมันฑะเลย์ในพม่า เมื่อ พ.ศ. 2428 ในหนังสือชื่อ
ไครเซ(Chryse)
• อี.เอช. ปาร์ คเกอร์ (E.H. Parker) ปาร์ คเกอร์ เคยเป็ นกงสุล
อังกฤษประจาเกาะไหหลา และได้ เขียนบทความเรื่ อง น่ านเจ้ า พิมพ์
เผยแพร่เมื่อ พ.ศ. 2437 สรุปใจความสาคัญว่า น่านเจ้ าซึง่ ได้ รับการ
สถาปนาขึ ้นเป็ นอาณาจักรที่ยนู านนันเคยเป็
้
นของไทย
• โวลแฟรม อีเบอร์ ฮาร์ ด (Wolfram Eberhard) ชาว
เยอรมันได้ ศกึ ษาเรื่ องนี ้เมื่อ พ.ศ.2491และได้ แสดงแนวความคิดไว้
ในหนังสือชื่อ A History of China ยืนยันว่าคนไทยมีถิ่น
กาเนิดใกล้ ปากแม่น ้าแยงซี ในมณฑลเสฉวน ต่อมาได้ อพยพถอย
ร่นลงมาจนถึงมณฑลยูนนาน
• พระยาประชากิจกรจักร (แช่ ม บุนนาค) ผู้แต่งหนังสือ
พงศาวดารโยนก ซึง่ เชื่อว่าถิ่นกาเนิดของชนชาติไทยอยูก่ ระจัด
กระจายในบริเวณตอนใต้ ของจีน รวมไปถึงรัฐอัสสัมของอินเดีย โดย
การศึกษาค้ นคว้ าจากพงศาวดารพม่า รามัญ ไทยใหญ่ ล้ านช้ าง
และพงศาวดารจีน พงศาวดารเหนือ พระราชพงศาวดารสยาม และ
พงศาวดารเขมรกับ
• ศาสตราจารย์ ขจร สุขพานิช (พ.ศ. 2456 –
2521) ซี่งเคยเป็ นกรรมการชาระประวัติศาสตร์
ไทย ก็มีความเชื่อว่าถิ่นกาเนิดของคนไทยอยูท่ าง
ตอนล่างของจีน หลังจากที่ได้ ค้นคว้ าหลักฐาน
ทางฝ่ ายไทยตรวจสอบกับความเห็นของอีเบอร์
ฮาร์ ด และหมอดอดด์ แล้ วลงความเห็นว่า คน
ไทยมีถิ่นกาเนิดเดิมอยูต่ อนใต้ ของจีนในเขต
มณฑลกวางตุ้ง กวางสี ต่อมาได้ อพยพมาทาง
ตะวันตก ตังแต่
้ มณฑลเสฉวนลงล่างเรื่ อยมาจน
เข้ าเขตสิบสองจุไทยลงมาในเขตประเทศลาว
 หมายเหตุ แนวคิดที่ 3
• แนวความคิดนีเ้ ป็ นที่ยอมรับกันอย่ างกว้ างขวางในปั จจุบนั นัก
วิชาการาชาวตะวันตกบางท่ านได้ ขยายแนวความคิดนี ้
ออกไป ทาให้ มีสมมุตฐิ านใหม่ ๆ เพิ่มขึน้ อย่ างเช่ นมีข้อเสนอ
ว่ า ถิ่นกาเนิดของคนไทยน่ าจะอยู่มณฑลกวางสีและมณฑล
กวางตุ้ง เพราะอยู่ในเขตร้ อนชืน้ บ้ างก็ว่าน่ าจะอยู่ห่างไกลจาก
น่ านเจ้ าไปทางตะวันออก คือแนวเขตแดนระหว่ างมณฑลกวางสี
ของจีนกับบริเวณที่ต่อกับเขตของเวียดนาม เป็ นต้ น
4. ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่ในบริเวณที่เป็ นประเทศไทยใน
ปั จจุบันมาตัง้ แต่ โบราณกาล
• อาณาบริเวณที่เป็ นประเทศปั จจุบนั หมายถึง อาณาบริเวณที่เรี ยกว่า สุวรรณ
ภูมิ ได้ แก่ดินแดนที่เป็ นคาบสมุทรอินโดจีน ครอบคลุมถึงบริเวณตอนใต้ ของจีน
ปั จจุบนั และตอนเหนือของพม่าปั จจุบนั ลงไปจนถึงแหลมมลายู
ศาสตราจารย์ นายแพทย์
สุด แสงวิเชียร
ศาสตราจารย์ ชิน อยู่ดี
แนวคิดนีส้ นับสนุนโดยอาศัยหลักฐานทางโบราณคดี
• 1. การสารวจและขุดค้ นที่บริเวณสองฝั่ งแควน้ อยและแควใหญ่ จังหวัด
กาญจนบุรี ของคณะสารวจไทย-เดนมาร์ ก พ.ศ. 2503 – 2505 และ
พ.ศ. 2509
• 2. การสารวจและขุดค้ นที่บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี และในพื ้นที่ใน
เขตจังหวัดของแก่น สกลนคร และนครพนม ด้ วยความร่วมมือของ
มหาวิทยาลัยฮาวาย สหรัฐอเมริกา และบริติชมิวเซียม ณ กรุง
ลอนดอน ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2509 – 2510
หมายเหตุแนวคิดที่ 4
• จากการขุดพบโครงกระดูกที่จงั หวัดกาญจนบุรี ศาสตราจารย์
นายแพทย์ สุด แสงวิเชียร แพทย์ ผ้ ูเชี่ยวชาญทางกายวิภาคผู้
ร่ วมการสารวจขุดค้ นยืนยันว่ า เป็ นโครงกระดูกยุคหินใหม่ อายุ
ประมาณ 4,000 ปี มีลักษณะสาคัญตรงกับโครงกระดูกของคน
ไทยในปั จจุบัน น่ าเชื่อว่ าโครงกระดูกที่พบนัน้ เป็ นโครงกระดูก
ของคนไทย จึงน่ าเป็ นไปได้ ว่า ถิ่นกาเนิดเดิมของคน
ไทย คือ บริเวณที่เป็ นประเทศไทยเรานีเ้ อง ไม่ ได้ อพยพ
โยกย้ ายมาจากที่ไหนเลย อย่ างไรก็ตาม แนวคิดนีย้ ังคงไม่ ได้
รับการยอมรับกันทั่วไป คงจะต้ องศึกษาค้ นคว้ าหาหลักฐานมา
สนับสนุนเพิ่มเติมอีก
5. ชนชาติไทยมีถ่ นิ กาเนิดอยู่แถบหมู่เกาะ
มาเลเซียและอินโดนีเซียในปั จจุบัน
แนวความคิดนีเ้ สนอโดยวกลุ่มวิชาการทางการแพทย์ ของไทย เริ่ม
แต่ พ.ศ. 2500 เป็ นต้ นมาผู้เสนอความเห็น คือ
• นายแพทย์ สมศักดิ์ สุวรรณสมบูรณ์ นายแพทย์สมศักดิไ์ ด้ ตรวจกลุม่
เลือดของคนไทย คนชวาและคนจีน พบว่ากลุม่ เลือดของคนไทยมี
เปอร์ เซ็นต์ความถี่ของยีนส์เหมือนกับของชาวเกาะชวา นาจะมีความ
เกี่ยวข้ องกันในทางใดทางหนึง่ คนไทยจึงน่าจะเคยอาศัยอยูใ่ นหมูเ่ กาะ
ชวา
• นายแพทย์ ประเวศ วะสี
• นายแพทย์ประเวศพบว่ามี
เฮโมโกลบิน อี (Hgb. E) ใน
เลือดของคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ของไทยมาก เช่นเดียวกับที่พบในกลุม่
ของชาวมอญ ละว้ า และเขมร แต่
แทบไม่พบในคนจีน จึงไม่น่าเป็ นไปได้
ที่คนไทยจะเคยอาศัยอยูใ่ นดินแดน
ประเทศจีน
• หมายเหตุ แนวคิดที่ 5
• เมื่อนาไปประกอบกับความเห็นาของพอล เบเนดิกต์ ( Poul Benedict )
นักภาษาศาสตร์ และมานุษยวิทยาชาวอเมริกัน ซึ่งเสนอไว้
เมื่อ พ.ศ.2485 ว่ า ภาษาไทยเป็ นภาษาเป็ นภาษาตระกูลออสโตรนี
เซียน (กลุ่มชวา-มลายู) คนเผ่ าไทยจึงน่ าจะเป็ นชนชาติเดียวกับชวามลายู จึงตัง้ ข้ อสันนิษฐานว่ า ชนชาติไทยน่ าจะอพยพมาจากทางตอน
ใต้ คือ จากหมู่เกาะอินโดนีเซียและแหลมมลายู แล้ วเลยขึน้ ไปทางเหนือ
ถึงบริเวณตอนใต้ ของประเทศจีนและอาจอพยพถอยร่ นลงมาอีกครั ง้
หนึ่ง จนสามารถตัง้ ถิ่นฐานถาวรอยู่ในดินแดนที่เป็ นประเทศไทยปั จจุบัน
แนวความคิดนีแ้ ม้ จะมีผ้ ูเห็นด้ วยอยู่บ้าง แต่ กม็ ีความคิดเห็นโต้ แย้ งอยู่ จึง
จะต้ องค้ นหาหลักฐานอื่นๆ มาประกอบให้ แนวความคิดนีม้ ีนา้ หนัก
น่ าเชื่อถือมากยิ่งขึน้
บรรณานุกรม
• กาญจนี ละอองศรี . 2549. “หน่วยที่ 3 พัฒนาการของบ้ านเมืองและแคว้ นใน
ดินแดนประเทศไทย” ประวัตศิ าสตร์ ไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 5 . นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
• ศิริพร ดาบเพชรและคณะ. ม.ป.ป. ประวัตศิ าสตร์ ม.4-6. กรุงเทพฯ: อักษรเจริ ญ
ทัศน์ อจท.จากัด.
เว็ปไซด์
• http://www.thaigoodview.com/node/18300?page=0%2C2
• http://www.kwc.ac.th/0e-book%20ThaiKingdom/10TinKumNud1.htm