สงครามเจ้าอนุวงศ์

Download Report

Transcript สงครามเจ้าอนุวงศ์

สงครามเจ้ าอนุวงศ์
การขยายอานาจของฝรั่งเศสสูล่ มุ่ แม่น ้าโขง
ยุคพระราชอาณาจักรลาวและสงครามกลางเมือง
สมัยสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
สงครามเจ้ าอนุวงศ์
พ.ศ. 2369 อาณาจักรล้ านช้ างเวียงจันทน์มีพระเจ้ าอนุวงศ์เป็ นกษัตริ ย์ ได้ รับราชการกับ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัยแห่งกรุงสยามมีความชอบมาก จึงประทานเมืองจาปาสักให้
เจ้ าราชบุตรโย้ ราชโอรสของเจ้ าอนุวงศ์ปกครอง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย
เสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยู่หวั เสด็จขึ ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็ น
พระมหากษัตริ ย์รัชกาลต่อมา เจ้ าอนุวงศ์เห็นว่าเป็ นช่วงเปลี่ยนแผ่นดินจึงคิดแยกตัวเป็ นอิสระไม่
ขึ ้นกับไทยอีกต่อไป จึงระดมกาลังรวมกับเจ้ าราชบุตรโย้ ซงึ่ ครองจาปาสักยกทัพมาตีสยามทางด้ าน
ภาคอีสานของไทยในปั จจุบนั พร้ อมทังแสวงหาพั
้
นธมิตรจากหลวงพระบางและหัวเมืองล้ านนาแต่ก็
ไม่ได้ รับการตอบสนอง เนื่องจากหัวเมืองดังกล่าวฝั กใฝ่ กับฝ่ ายไทยมากกว่าเมื่อกองทัพของเจ้ าอนุวงศ์
ยกทัพมาถึงเมืองนครราชสีมาเห็นจะทาการไม่สาเร็จจึงตัดสินใจเผาเมืองนครราชสีมาทิ ้งและกวาด
ต้ อนเชลยตามรายทางกลับไปเวียงจันทน์ ระหว่างทางเชลยที่ถกู กวาดต้ อนก็ได้ ลกุ ขึ ้นต่อสู้กองทัพลาว
ที่ทงุ่ สาริ ดจนเสียกาลังทหารลาวส่วนหนึง่ ด้ วย ด้ านฝ่ ายไทยซึง่ ทราบข่าวค่อนข้ างช้ าก็ได้ สง่ กองทัพ
ภายใต้ การนาของกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์และเจ้ าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)
ขึ ้นมาปราบปราม กองทัพเจ้ าอนุวงศ์ส้ ไู ม่ได้ จงึ แตกพ่าย ตัวเจ้ าอนุวงศ์และราชวงศ์เชื ้อสายก็ต้องหนี
ภัยไปพึง่ จักรวรรดิเวียดนาม ฝ่ ายสยามจึงยึดกรุงเวียงจันทน์ไว้ โดยยังมิได้ ทาลายเมืองลงแต่อย่างใด และได้
แต่งตังกองทหารจ
้
านวนหนึง่ รักษาเมืองไว้ เท่านันในปี
้
พ.ศ. 2371
เจ้ าอนุวงศ์ได้ กลับมายังกรุงเวียงจันทน์โดยมากับขบวนราชทูตเวียดนามพามาเพื่อขอสวามิภกั ดิ์สยาม
อีกครัง้ แต่พอสบโอกาสเจ้ าอนุวงศ์จงึ นาทหารของตนฆ่าทหารไทยที่รักษาเมืองจนเกือบทังหมดและยึ
้
ด
กรุงเวียงจันทน์คืน กองทัพสยามจึงถอนกาลังเพื่อรวบรวมกาลังพลและยกทัพมาปราบปรามเจ้ าอนุวงศ์
อีกครัง้ ฝ่ ายเจ้ าอนุวงศ์เมื่อสู้กองทัพไทยไม่ได้ จงึ ไปหลบภัยที่เมืองพวน แต่เจ้ าน้ อยเมืองพวนกลับจับตัว
เจ้ าอนุวงศ์และพระราชวงศ์ที่เหลืออยูส่ ง่ ลงมากรุงเทพ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้ าเจ้ าอยูห่ วั ทรงพระ
พิโรธเจ้ าอนุวงศ์มากจึงทรงให้ คมุ ขังเจ้ าอนุวงศ์ประจานกลางพระนครจนสิ ้นพระชนม์ ส่วนกรุง
เวียงจันทน์ก็ทรงมีพระบรมราชโองการให้ ทาลายจนไม่เหลือสภาพความเป็ นเมือง และตังศู
้ นย์กลางการ
ปกครองฝ่ ายไทยเพื่อดูแลอาณาเขตของอาณาจักรเวียงจันทน์ทเี่ มืองหนองคายแทน เมืองเวียงจันทน์ที่
ถูกทาลายลงในครัง้ นันมี
้ เพียงแค่หอพระแก้ วและวัดสีสะเกดเท่านันที
้ ย่ งั คงสภาพสมบูรณ์มาจนถึง
ปั จจุบนั สงครามเจ้ าอนุวงศ์ที่เกิดขึ ้นในเวลานัน้ ต่อมาได้ กลายเป็ นส่วนหนึ่งของความขัดแย้ งระหว่าง
ราชอาณาจักรสยามและจักรวรรดิเวียดนาม จนกระทัง่ เกิดสงครามที่เรี ยกว่า “อานามสยามยุทธ” เป็ น
ระยะเวลาถึง 14 ปี เพราะทังสองอาณาจั
้
กรล้ วนต้ องการขยายอิทธิพลของตนเข้ าไปในดินแดนลาวและ
เขมร ทังสงครามนี
้
้ยังเป็ นประวัติศาสตร์ บาดแผลระหว่างไทยกับลาวสืบเนื่องต่อมาจนถึงปั จจุบนั
การขยายอานาจของฝรั่ งเศสสู่ล่ ุมแม่ นา้ โขขง
ปลายพุทธศตวรรษที่ 24 ต่อช่วงต้ นพุทธศตวรรษที่ 25 ประเทศฝรั่งเศสเริ่ มให้ ให้ ความสนใจที่จะขยาย
อานาจเข้ ามาสูด่ ินแดนในแถบลุม่ แม่น ้าโขง เพื่อหาทางเข้ าถึงดินแดนตอนใต้ ของจีนเพื่อเปิ ดตลาด
การค้ าแห่งใหม่แข่งกับอังกฤษ ซึง่ สามารถยึดพม่าได้ ก่อนหน้ านันแล้
้ ว โดยฝรั่งเศสเริ่ มจากการยึดครอง
แคว้ นโคชินจีนหรื อเวียดนามใต้ ก่อนในปี พ.ศ. 2402 รุกคืบเข้ ามาสูด่ ินแดนเขมรส่วนนอกซึง่ ไทย
ปกครองในฐานะประเทศราชในปี พ.ศ. 2406 (ไทยตกลงยอมสละอานาจเหนือเขมรส่วนนอกอย่างเป็ น
ทางการในปี พ.ศ. 2410) จากนันจึ
้ งได้ ขยายดินแดนในเวียดนามต่อจนกระทัง่ สามารถยึดเวียดนามได้
ทังประเทศในปี
้
พ.ศ. 2426 พรมแดนของสยามทางด้ านประเทศราชลาวจึงประชิดกับดินแดนอาณา
นิคมของฝรั่งเศสอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ พ.ศ. 2428 ประเทศจีนได้ เกิดเหตุการณ์กบฏไท่ผิงต่อต้ าน
ราชวงศ์ชิง กองกาลังกบฏชาวจีนฮ่อที่แตกพ่ายได้ ถอยร่นมาตังก
้ าลังซ่องสุมผู้คนอยูใ่ นแถบมณฑลยูน
นานของจีน ดินแดนสิบสองจุไทย และตามแนวชายแดนประเทศราชลาวตอนเหนือ กองกาลังจีนฮ่อได้
มารุกรานลาวและตีเมืองต่างๆ ไล่จากทางตอนเหนือไล่มาถึงนครเวียงจันทน์ตอนใต้ ไทย (หรื อสยามใน
เวลานัน)จึ
้ งร่วมกับฝรั่งเศสปราบฮ่อจนสาเร็จ โดยทังสองฝ่
้
ายไล่ตีกองกาลังจีนฮ่อจากอาณาเขตของแต่
ละฝ่ ายให้ มาบรรจบกันที่เมืองแถง (เดียนเบียนฟูในปั จจุบนั ) แต่ก็เกิดปั ญหาใหม่ คือ ฝ่ ายฝรั่งเศสฉวย
โอกาสอ้ างสิทธิปกครองเมืองแถงและสิบสองจุไทย โดยไม่ยอมถอนกาลังทหารออกจากเมืองแถงเพราะ
อ้ างว่าเมืองนี ้เคยส่งส่วยให้ เวียดนามมาก่อน
ปั ญหาดังกล่าวนี ้มีที่มาจากภาวะการเป็ นเมืองสองฝ่ ายฟ้า ซึง่ จะส่งส่วยให้ แก่รัฐใหญ่ทกุ รัฐทีม่ ีอิทธิพล
ของตนเองเพื่อความอยูร่ อด ดินแดนลาวทังหมดก็
้
เปลี่ยนไปตกอยูภ่ ายใต้ อิทธิพลของ ประเทศฝรั่งเศส
จากการใช่เล่ห์เหลีย่ มของโอกุสต์ ปาวี กงสุลฝรั่งเศส โดยการใช้ เรื อรบมาปิ ดอ่าวไทยเพื่อบังคับให้ ยก
ดินแดนฝั่ งซ้ ายแม่น ้าโขง รวมทังดิ
้ นแดนอื่น ๆ ลาวถูกรวมเข้ าเป็ นอินโดจีนของฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2436
ในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 กองทัพญี่ปนได้
ุ่ รุกเข้ ามาในลาวและดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสอื่นๆ เมื่อญี่ปนุ่
ใกล้ แพ้ สงคราม ขบวนการลาวอิสระซึง่ เคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อกู้เอกราชลาวในเวลานันประกาศ
้
เอกราชให้ ประเทศลาวเป็ นประเทศ ราชอาณาจักรลาว หลังญี่ปนแพ้
ุ่ สงคราม ฝรั่งเศสก็กลับเข้ ามามี
อานาจในอินโดจีนอีกครัง้ หนึง่ ฝรั่งเศสปกครองลาวแต่ละแขวงโดยมีคนฝรั่งเศสเป็ นเจ้ าแขวงหรื อ
ข้ าหลวง คอยควบคุมเจ้ าเมืองที่เป็ นคนลาวอีกต่อหนึง่ ซึง่ ต้ องเก็บส่วยตัวเลขจากชายฉกรรจ์ให้ ข้าหลวง
ฝรั่งเศส ตลอดเวลาที่ลาวตกเป็ นเมืองขึ ้นนันฝรั
้ ่งเศสไม่รักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ โดยรื อ้ สร้ างเป็ น
ถนนไม่ได้ สนใจกับประเทศลาวเท่าไรนัก เพราะถือว่าเป็ นดินแดนบ้ านป่ าล้ าหลังไม่มีคา่ ในเชิงเศรษฐกิจ
ต่อมาในสงครามโลกครัง้ ที่สอง เยอรมันนีมีชยั เหนือประเทศฝรั่งเศสและก่อตังคณะรั
้
ฐบาลขึ ้นที่เมืองวิซี
คณะข้ าหลวงฝรั่งเศสในอินโดจีนให้ การหนุนหลัง รัฐบาลวิซี และตกลงเป็ นพันธมิตรกับญี่ปนุ่ ครัน้ ถึงปี
พ.ศ.2484 รัฐบาลใต้ ภายใต้ การนาของพลตรี หลวงพิบลู สงครามก่อเริ่ มดาเนินการต่อต้ านอานาจของ
ฝรั่งเศสที่เริ่ มเสื่อมถอย ด้ วยการยึดแขวงไชยบุรีและจาปาศักดิ์กลับคืนมา ญี่ปนยุ
ุ่ ให้ ลาวประกาศเอก
ราช แต่กองทัพฝรั่งเศสก็ย้อนกลับคืนมาอีกครัง้ หลังสงครามยุติได้ ไม่นาน ลาวหันมาปกครองระบอบสม
บูรณาญาสิทธิราช โดยมีรัฐธรรมนูญเป็ นกฎหมายสูงสุดภายใต้ การควบคุมดูแลของฝรั่งเศส
พ.ศ. 2492 สหรัฐอเมริ กาและสหราชอาณาจักรฯ ขบวนการลาวอิสระล่มสลาย แนวรักร่วมชาติได้
พัฒนาเป็ นขบวนการคอมมิวนิสต์ประเทศลาว ในเวลาต่อมาโดยได้ รับการสนับสนุนจาโฮจิมินห์และ
พรรคคอมมิวนิสต์ของเวียดนาม
พ.ศ.2495 ลาวในหัวเมืองด้ านตะวันออกเฉียงเหนือเริ่ มก่อการจลาจลต่อต้ านการปกครองของฝรั่งเศส
ภายใต้ การสนับสนุนจากรัฐบาลกรุงฮานอย เมื่อฝรั่งเศสแพ้ สงครามที่คา่ ยเดียนเบียนฟู ลาวจึงได้ รับ
เอกราชอย่างสมบูรณ์ ฝรั่งเศสถอนกาลังออกจากประเทศลาว ซึง่ แตกแยกออกเป็ น 2 ฝ่ าย คือ ฝ่ าย
สนับสนุนระบบกษัตริ ย์ในนครเวียงจันทน์ (ฝ่ ายขวา) กับฝ่ ายขบวนการประเทศลาว (ฝ่ ายซ้ าย)
พ.ศ. 2500 เจ้ าสุวรรณภูมาขึ ้นดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี เป็ นผู้นารัฐบาลผสมในนครเวียงจันทน์ 3
ปี ต่อมา เวียงจันทน์เริ่ มสัน่ คลอนเพราะความขัดแย้ งระหว่างกลุม่ ก่อรัฐประหารและกลุม่ ต่อต้ านการ
ทารัฐประหาร ฝ่ ายขบวนการประเทศลาวก่อการจลาจลขึ ้นในภาคเหนือและภาคตะวันออก
ยุคพระราชอาณาจักรลาวและสงครามกลางเมือง
พ.ศ. 2502 เจ้ ามหาชีวิตศรี สว่างวงศ์เสด็จสวรรคต เจ้ าสว่างวัฒนาจึงขึ ้นครองราชย์เป็ นเจ้ ามหาชีวิตแทน
เหตุการณ์ในลาวยุง่ ยากมาก เจ้ าสุภานุวงศ์ 1 ในคณะลาวอิสระประกาศตนว่าเป็ นพวกฝ่ ายซ้ ายนิยม
คอมมิวนิสต์ และเป็ นหัวหน้ าขบวนการปะเทศลาว ได้ ออกไปเคลื่อนไหวทางการเมืองในป่ า เนื่องจากถูก
ฝ่ ายขวาในลาวคุกคามอย่างหนัก ถึงปี 2504 ร้ อยเอกกองแลทาการรัฐประหาร รัฐบาลเจ้ าสุวรรณภูมา แต่
ถูกกองทัพฝ่ ายขวาและฝ่ ายซ้ ายรุมจนพ่ายแพ้ กองแลต้ องลี ้ภัยไปสหรัฐจนถึงปั จจุบนั
เหตุการณ์ทางการเมืองในระยะเวลาไม่นานหลังจากนันบั
้ งคับให้ ลาวต้ องตกอยู่ทา่ มกลางสงครามอินโดจีน
ครัง้ ที่สอง ซึง่ รุนแรงยิ่งกว่าครัง้ แรก และเป็ นปั จจัยก่อให้ เกิดสงครามกลางเมืองและรัฐประหารหลายครัง้
ด้ วยกัน จนถึงปี พ.ศ. 2518 พรรคประชาชนปฏิวตั ิลาวซึง่ ได้ รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียต และ
คอมมิวนิสต์เวียดนามโดยการนาของ เจ้ าสุภานุวงศ์ ก็ล้มล้ างรัฐบาลประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริ ย์
เป็ นประมุขของเจ้ ามหาชีวิตสว่างวัฒนา ซึง่ ได้ รับการสนับสนุนจากรัฐบาลฝรั่งเศสและสหรั ฐอเมริ กาสาเร็ จ
จึงนาเจ้ ามหาชีวิตและมเหสีไปคุมขังในค่ายกักกันจนสิ ้นพระชนม์ และสถาปนาประเทศลาวเป็ น
“สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว” ในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ระยะ 5 ปี
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ลาวใช้ นโยบายคอมมิวนิสต์ปกครองอย่างเข้ มงวด ควบคุมพุทธศาสนา
ตัดสัมพันธ์กบั ประเทศไทย ปราบปรามชนกลุม่ น้ อย ราษฎรหลายหมื่นคนถูกจับ ส่งผลให้ ปัญญาชนและชน
ชันกลางจ
้
านวนมากหลบหนีออกนอกประเทศ เจ้ าสว่างวัฒนาและพระญาติวงศ์สิ ้นพระชนม์อยู่ในค่าย
กักกัน ชาวบ้ านยากจนลง
ข้ อมูลทั่วไปของประเทศลาว
เมืองหลวง:เวียงจันทน์
สกุลเงิน:กีบ
ดอกไม้ ประจาชาติ:ดอกลีลาวดี
ชุดประจาชาติลาว
เมืองหลวงพระบาง
วัดเซียงทอง
แม่น ้าโขง
พระธาตุหลวง
วังเวียง
ปราสาทหินวัดพู
สี่พนั ดอน
ถ ้าปากอู
ทุง่ ไหหิน
เวียงไซ
เมืองหลวงพระบาง
เมืองหลวงพระบางอยูท่ างตอนเหนือของประเทศลาว และถูกขนาบไปด้ วยแม่น ้าคานและแม่น ้าโขง
เมืองนี ้จัดว่าเป็ นเมืองที่มีเสน่ห์น่าหลงใหล เพราะเป็ นเมืองที่เต็มไปด้ วยวัดวาอารามเก่าแก่ มีบ้านเรื อน
ที่มีสถาปั ตยกรรมแบบโคโลเนียน บรรยากาศในเมืองเต็มไปด้ วยเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม จึงไม่น่า
แปลกที่ได้ รับการขึ ้นทะเบียนให้ เป็ นมรกดโลก ส่งผลให้ นกั ท่องเทีย่ วต่างชาติให้ เดินทางมาเยี่ยมชมเป็ น
จานวนมาก โดยสถานที่ทอ่ งเที่ยวน่าสนใจ เช่น วัดใหม่สวุ นั นะพูมาราม พระธาตุจอมพูสี น ้าตกตาด
กวางสี และวัดวิชนุ ฯลฯ
แม่ นา้ โขขง
แม่น ้าโขงเป็ นแม่น ้าที่ยาวที่สดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีความยาวถึง 4,350 กิโลเมตร ประเทศ
ลาวเองก็มีพรมแดนติดแม่น ้าโขงด้ วยเช่นกัน และใช้ แม่น ้าโขงสาหรับสัญจรไปมาอีกด้ วย ทัศนียภาพ
ตลอดแนวริ มฝั่ งนันสะท้
้
อนให้ เห็นถึงวิถีชีวิตของคนลาว และความงดงามทางธรรมชาติ อากาศที่
บริ สทุ ธิ์ ทาให้ ทริ ปล่องแม่น ้าโขงนันเป็
้ นทีน่ ิยมในหมูน่ กั ท่องเทีย่ วจานวนมาก โดยจุดเริ่ มต้ นเส้ นทางเริ่ ม
ที่เมืองห้ วยทรายและสิ ้นสุดที่เมืองหลวงพระบาง หรื อจะออกเดินทางจากหลวงพระบาง-ห้ วยทรายก็ได้
วังเวียง
วังเวียงเป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ตังอยู
้ ใ่ นเมืองวังเวียง ริ มแม่น ้าซอง อยูห่ ่างจากเมืองหลวง
เวียงจันทน์ 150 กิโลเมตร ตัวเมืองถูกล้ อมรอบด้ วยภูเขาและแม่น ้า ด้ วยลักษณะภูมิประเทศเช่นนี ้ทาให้
กลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่งดงามไปด้ วยธรรมชาติ มีทศั นียภาพอันงดงามของทิวเขาที่วางสลับตัวกัน เหมาะ
จะไปสูดอากาศบริ สทุ ธิ์ นอกจากนี ้ นักท่องเที่ยวจะได้ สมั ผัสกับกลิน่ อายวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชาวลาวใน
ชนบท เช่น เผ่าลาวสูง, ลาวเทิง, ลาวม้ ง และไทลื ้อ ส่วนกิจกรรมที่น่าสนใจประกอบด้ วย เดินทางไกลชมป่ าไม้
ปี นเขา ชมถ ้า และล่องห่วงยางเล่นบนแม่น ้าซอง ฯลฯ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากมีนกั ท่องเที่ยวเดินทางมาเที่ยว
เป็ นจานวนมาก จึงมีที่พกั ร้ านอาหาร ร้ านอินเทอร์ เน็ต ตัวแทนบริ ษัทท่องเที่ยวเปิ ดให้ บริ การอย่างคึกคัก
สี่พันดอน
สี่พนั ดอน แปลว่า สี่พนั เกาะนัน่ เอง เป็ นหมูเ่ กาะที่อยูบ่ ริ เวณแม่น ้าโขงทางตอนใต้ ของประเทศลาว ก่อนที่จะ
ไหลเข้ าเขตประเทศกัมพูชา ชาวบ้ านแถบนี ้ประกอบอาชีพประมงเป็ นส่วนใหญ่ และยังคงดารงชีวิตแบบชาว
ชนบท มีความเป็ นอยูท่ ี่เรี ยบง่าย เป็ นเขตที่คอ่ นข้ างสงบทีเดียว จุดท่องเที่ยวหลัก ๆ มีอยู่ 3 แห่ง คือ ดอนคง
ดอนคอน และดอนเด็ด สาหรับดอนคงเป็ นเกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ มีบรรยากาศเงียบสงบ เหมาะแก่การ
พักผ่อนแบบชิล ๆ สัมผัสอากาศบริ สทุ ธิ์ ชมความงามของธรรมชาติ สาหรับดอนคอนและดอนเด็ดเป็ นเกาะที่
นักท่องเที่ยวนิยมเดินทางมาค่อนข้ างมาก จึงมีที่พกั เปิ ดให้ บริ การกับผู้คนที่แวะเวียนมาเยี่ยมชมธรรมชาติที่นี่
ที่สาคัญราคาที่พกั ไม่แพงเลย
ทุ่งไหหิน
ทุง่ ไหหินเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่อยูใ่ นเมืองเชียงขวาง (Xieng Khouang) เป็ นที่ราบกว้ างเต็มไปด้ วยหิน
รูปทรงคล้ ายไหหรื อโอ่ง มีความสูงตังแต่
้ 1-3 เมตร นักโบราณคดีสนั นิษฐานว่า ไหพวกนี ้ปรากฏขึ ้นตังแต่
้ ยคุ
หิน และน่าจะมีความเกี่ยวข้ องกับพิธีกรรมฝั งศพ เพราะมีการค้ นพบซากโครงกระดูกมนุษย์และสิ่งของที่
เกี่ยวข้ องกับการฝั่ งศพบริ เวณรอบ ๆ นอกจากนี ้ บริ เวณรอบ ๆ ไหหินยังมีร่องรอยของหลุมระเบิดที่ทิ ้งลงมา
โดยสหรัฐอเมริ กาอีก อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการยืนยันแน่ชดั จากนักโบราณคดีวา่ ที่มาของไหหินนี ้เป็ นมา
อย่างไรกันแน่ แต่ปัจจุบนั กลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้ รับความสนใจจากชาวต่างชาติไปเรี ยบร้ อยแล้ ว
วัดเซียงทอง
วัดเชียงทองตังอยู
้ ท่ างทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองหลวงพระบาง มีการออกแบบด้ วยสถาปั ตยกรรม
แบบล้ านนา และได้ รับการยกย่องจากนักโบราณคดีวา่ เป็ นสถาปั ตยกรรมที่งดงามมากที่สดุ แห่งหนึ่งในลาว
จนทาให้ มีนกั ท่องเที่ยวจากทัว่ โลกต่างพากันมาชื่นชมความงามนี ้ด้ วยสายตาของตัวเอง นอกจากจะมีรูปทรง
ที่สวยงามแล้ ว ยังเป็ นศาสนสถานที่ทรงคุณค่าทางจิตใจของชาวลาว ทังนี
้ ้ วัดเชียงทองถูกสร้ างขึ ้นในปี ค.ศ.
1560 โดยพระโพธิสารเจ้ า มีฐานะเป็ นวัดหลวง จึงทาให้ มีการดูแลปฏิสงั ขรณ์เป็ นอย่างดี ภายในวัดเชียงทอง
ประกอบไปด้ วยพระอุโบสถ พระประธาน วิหารน้ อย โรงเมี ้ยนโกศ ซึง่ มีการประดับตกแต่งด้ วยศิลปะแบบ
หลวงพระบางแท้ ๆ
พระธาตุหลวง
พระธาตุหลวงเป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางศาสนาพุทธตังอยู
้ ท่ ี่เมืองเวียงจันทน์ ถูกสร้ างขึ ้นโดยบุรีจนั อ้ วยล้ วย หรื อพระ
เจ้ าจันทบุรีศกั ดิ์ เจ้ าผู้ครองนครเวียงจันทน์พระองค์แรก ตามตานานเล่าว่า มีพระภิกษุลาวจานวน 5 รูป เดินทางไป
ศึกษาพระพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดีย แล้ วนาพระอุรังคธาตุ (กระดูกส่วนที่เป็ นหน้ าอก) มาไว้ ที่เวียนจันทน์ เจ้ านคร
ในสมัยนันจึ
้ งสัง่ ให้ มีการสร้ างพระธาตุขึ ้นมาเพื่อบรรจุพระอุรังคธาตุไว้ สาหรับกราบไหว้ บชู า เริ่มแรกนันพระธาตุ
้
ถกู
สร้ างด้ วยหิน แต่ตอ่ มามีการสร้ างเจดีย์ครอบองค์พระธาตุ และบริเวณรอบ ๆ องค์พระธาตุมีเจดีย์รายล้ อมหลายองค์
ที่เจดีย์ถกู แกะสลักเป็ นลวดลายพญานาค พระพุทธรูปปิ ดทองลายกลีบบัวประดับอยูบ่ นฐานปั กษ์ อย่างไรก็ตาม
ปั จจุบนั รูปทรงของพระธาตุมีลกั ษณะคล้ ายกับป้อมปราการ เพราะมีระเบียงล้ อมรอบสูง สถานที่แห่งนี ้ถือว่าเป็ นปู
ชนียสถานที่มีคณ
ุ ค่าทางจิตใจต่อคนลาวมากที่สดุ ก็วา่ ได้ เสมือนเป็ นศูนย์รวมจิตใจของคนทัง้ ประเทศ
ปราสาทวัดหินพู
ปราสาทหินวัดพูตงอยู
ั ้ บ่ นเนินเขาพู ในแขวงจาปาสัก (Champasak) เป็ นซากปรักหักพังของวัดฮินดู
โบราณ ที่สร้ างขึ ้นช่วงศตวรรษที่ 11 ถึง 13 นอกจากนี ้ วัดพูยงั ได้ รับการยกย่องให้ เป็ นมรดกโลกเพราะเคยเป็ น
แหล่งอารยธรรมโบราณถึง 3 สมัยด้ วยกัน ตรงทางเข้ าวัดพูนนมี
ั ้ หินปูเรี ยงรายสาหรับเดินเข้ าวัด มีเสาเรี ยงตัง้
เรี ยงอยูห่ ลายต้ นขนาบข้ างทางเดิน มีเรื อนใหญ่ 2 หลัง ซุ้มประตูที่พลังทลาย หินสลักเป็ นรูปเศียรช้ าง และรูป
ปั น้ หินรูปต่าง ๆ เช่น โยคี จระเข้ และมีพระพุทธรูปตังวางส
้
าหรับกราบไหว้ บชู า บรรยากาศที่ ปราสาทแห่งนี ้ให้
ความรู้สกึ ถึงความอลังการ ความขลัง ผสมผสานกับความลี ้ลับ น่าพิศวง อาจด้ วยความเก่าแก่ตามกาลเวลา
อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั ถูกใช้ เป็ นสถานที่ทางพุทธศาสนานิกายเถรวาท
ถา้ ปากอู
ถ ้าปากอู หรื อถ ้าติ่ง อยูใ่ นแขวงหลวงพระบาง (Laung Prabang) ตังอยู
้ ร่ ิ มแม่น ้าโขง นักท่องเที่ยวต้ อง
นัง่ เรื อจากตัวเมืองในหลวงพระบางประมาณ 25 นาที เมื่อมาถึงบ้ านปากอู ต้ องนัง่ เรื อข้ ามฝากมาฝั่ งตรงข้ าม
จะพบถ ้าติ่ง ซึง่ แบ่งออกเป็ น 2 ถ ้า คือ ถ ้าติ่งลุม่ และถ ้าติ่งเทิ่ง เมื่อลงมาจากเรื อจะพบทางเข้ าถ ้าติ่งลุม่ เป็ นถ ้า
ที่มีโพรงไม่ลกึ ภายในมีหินงอกหินย้ อย และมีรูปปั น้ พระพุทธรูปที่ทาจากไม้ เต็มไปหมด เชื่อกันว่าในสมัยก่อน
เคยถูกใช้ เป็ นสถานที่สาหรับสักการบูชาดวงวิญญาณ ภูตผี แต่เมื่อศาสนาพุทธเข้ ามาในลาวจึงกลายเป็ นศา
สนสถานทางพุทธไป และเมื่อเดินไปอีกทางหนึ่งจะพบถ ้าเทิ่ง เป็ นถ ้าที่ลกึ มาก ภายในมีพระพุทธรูปเช่นกัน แต่
มีจานวนไม่มากเท่ากับถ ้าติ่งลุม่
เวียงไซ
เวียงไซเป็ นเมืองหนึง่ ในแขวงหัวพัน (Hua Phan) แหล่งท่องเที่ยวที่เปรี ยบเสมือนแม่เหล็กของเมืองเวียงไซ คือ
"ถ ้าผู้นา" เป็ นถ ้าหินปูนขนาดใหญ่ปกคลุมตัวต้ นไม้ เขียวขจี ดูแล้ วก็เหมือนถ ้าทัว่ ๆ ไป แต่สิ่งที่ต้องทาให้ ผ้ คู นตะลึง
คือ ภายในถ ้าถูกขุดเจาะและสร้ างเป็ นที่อยูอ่ าศัย มีสิ่งอานวยความสะดวกครบครัน เช่น ห้ องพัก ห้ องรับแขก ห้ อง
ประชุม โรงเรี ยน โรงพยาบาล ห้ องหลบภัย โรงภาพยนตร์ ห้ องสาหรับเล่นกีฬา ฯลฯ ซึง่ สามารถรองรับผู้อาศัยได้
ประมาณ 20,000 คน โดยถ ้าผู้นาสร้ างขึ ้นมาเพื่อเป็ นสถานที่หลบภัยของแกนนาทหารคอมมิวนิสต์ ในช่วงสงคราม
อินโดจีน เมื่อย้ อนกลับไปสมัยนัน้ สหรัฐอเมริกาทิ ้งระเบิดลงมาในลาวหลายลูกติดต่อกันเป็ นเวลาถึง 9 ปี เพื่อขจัด
พวกคอมมิวนิสต์ไปหมดสิ ้นไป เหล่าแกนนาคอมมิวนิสต์จงึ หาที่หลบภัย โดยการเข้ าไปใช้ ชีวิตอยู่ในถ ้า ทาให้ มี "ถ ้า
ผู้นา" ลักษณะนี ้อยูถ่ งึ 12 แห่ง ตังอยู
้ ใ่ กล้ เคียงกันในเมืองเวียงไซ แต่เปิ ดให้ นกั ท่องเที่ยวชมเพียง 6 ถ ้าเท่านัน้
นอกจากนี ้ ยังมีการแสดงนิทรรศการเล่าเรื่ องราวความเป็ นมาของเหตุการณ์ในครัง้ นันในแง่
้
มมุ ของความรักชาติ การ
เสียสละเพื่อชาติอีกด้ วย
ทังหมดนี
้
้คือ 10 แหล่งท่องเที่ยวยอดฮิตในประเทศลาว ที่ได้ รับการกล่าวขานจากนักท่องเที่ยว
ต่างประเทศว่าเป็ นสถานที่ที่สมควรค่าแก่การมาพักผ่อน สัมผัสความงามทางธรรมชาติและ
วัฒนธรรมด้ วยตัวเอง นอกจากนี ้ ประเทศลาวยังอยูใ่ กล้ เราแค่นิดเดียวเอง ค่ายใช้ จ่ายในการ
เดินทาง ค่าที่พกั ค่าครองชีพก็นบั ว่าถูกมาก ๆ ด้ วยค่ะ