ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ
Download
Report
Transcript ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ
ไทยศึกษา
การแสดงของไทย
รองศาสตราจารย์ ดร. เสาวณิต วิงวอน
ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ความหมายของการแสดง
การแสดงเป็ นศิลปะทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้ เป็ นการถ่ ายทอดความคิดและ
แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้ สึกเพือ่ สื่ อสารกัน
การแสดงของไทยแบ่ งเป็ น 2 ประเภท
1. การแสดงแบบจารี ตหรื อ
แบบแผนประเพณี หรื อแบบหลวง
2. การแสดงพื้นบ้าน
การแสดงเป็ นศิลปะผสม
ประกอบด้วย
ศิลปะแห่ งการออกท่ าทาง
ดนตรี (ดุริยางคศิลป์ )
การขับร้ อง (คีตศิลป์ )
วรรณกรรม
ศิลปะการแสดงสร้ างจากธรรมชาติ
ท่ าเดิน
ศิลปะการแสดงสร้ างจากธรรมชาติ
ท่ านอน
ศิลปะการแสดงสร้ างจากธรรมชาติ
ดอกบัวกับฝักบัว
ชื่อท่ ารา “บัวชูฝัก”
ศิลปะการแสดงสร้ างจากธรรมชาติ
เถาวัลย์พนั ต้นไม้ใหญ่
ชื่อท่ ารา “เครือวัลย์พนั ไม้ ”
ศิลปะการแสดงสร้ างจากธรรมชาติ-วิถีชีวิต
แหย่ไข่มดแดง
เซิ้งแหย่ไข่ มดแดง
ศิลปะการแสดงสร้ างจากธรรมชาติ-วิถีชีวิต
ปั่ นฝ้ าย
ฟ้ อนสาวไหม
จุดประสงค์ ของ “การแสดง”
การเล่นเพือ่ ความรื่นเริงใจ
“เล่ นป่ าหิมพานต์ ”
สมุดภาพไตรภูมิฉบับกรุ งศรี อยุธยา - ฉบับกรุ งธนบุรี เล่ม ๒, กรมศิลปากร
หลักฐานการแสดงในประเทศไทยดูจากโบราณสถาน
ศิวนาฏราช ปราสาทพนมรุ้ ง
ภาพเขียนสี รูปคนรา ที่ ประตูผา ลาปาง
หลักฐานการแสดงในประเทศไทยดูจากโบราณวัตถุ
รู ปคนฟ้ อนศิลปะอู่ทอง พบที่เพชรบุรี
สมัยสุโขทัย (พ.ศ. 1792 – 1981)
พบหลักฐานคาว่ า ระบา รา เต้ น
จารึ กเขาสุมนกูฏ
ไตรภูมิพระร่ วง
สมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893 – 2310)
หลักฐานเรื่ องการแสดง
- กฎมนเทียรบาล
- จดหมายเหตุลาลูแบร์
- บุณโณวาทคาฉันท์
สมัยธนบุรี (พ.ศ. 2310 – 2325)
หลักฐานเรื่ องการแสดง
- จดหมายความทรงจาของพระเจ้ าไปยิกาเธอ
กรมหลวง นรินทรเทวี (เจ้ าครอกวัดโพ)
- หมายรับสั่ ง
- พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325 – ปั จจุบัน)
หลักฐานเรื่ องการแสดง
- พระราชพงศาวดารรัตนโกสิ นทร์
- วรรณคดีและวรรณกรรม
- หนังสื อพิมพ์
- สื่ อโทรทัศน์
- สื่ ออิเล็กทรอนิกส์
การแสดงของไทย
- มหรสพในพระราชพิธี: โมงครุ่ม ระเบ็ง กุลาตีไม้ เล่นแพน
ไต่ เชือกหนัง ลอดบ่ วง พุ่งหอก ยิงธนู นอนหอกดาบ
- หนัง
- โขน
- หุ่น
- ละคร
ฯลฯ
มหรสพในพระราชพิธี
กุลาตีไม้
โมงครุ่ม
ระเบ็ง
มหรสพในพระราชพิธี
เล่ นแพน
นอนหอกดาบ
หนังใหญ่
การแสดงทีใ่ ช้ แผ่ นหนังวัวสลักเป็ นรูปตัวละคร มีผู้เชิดตามบท
พากย์ เจรจาและเพลงหน้ าพาทย์ ดูท่าทางทีส่ วยงามและดูเงา
แสดงเรื่องรามเกียรติ์ เท่ านั้น
หนังตะลุง
การแสดงพื้นบ้านของภาคใต้ เป็ นการเชิดดูเงาบนจอผ้า เล่าเรื่ องราว
ที่ผกู ร้อยเป็ นนิยาย ดาเนินเรื่ องด้วยบทร้อยกรองขับร้องเป็ นสาเนียง
ท้องถิ่น หรื อที่เรี ยกกันว่าการ "ว่าบท" มีบทสนทนาแทรกเป็ นระยะ
ตัวหนังมีขนาดเล็กกว่าหนังใหญ่
หุ่น
หุ่นหลวง
หุ่นขนาดใหญ่ มีลาตัว แขน ขาครบ
แสดงเรื่ องที่เป็ นนิทานต่างๆ เช่น รามเกียรติ์
ไชยทัต โสวัต ฯลฯ
หุ่น
หุ่นกระบอก
หุ่นขนาดเล็ก มีศีรษะและมือทั้ง 2 ข้าง ส่ วนลาตัวหุ่นเป็ นกระบอก
ไม้ไผ่สอดเข้าไปตรงลาคอ ส่ วนศีรษะและลาตัวถอดออกจากกันได้
มือทั้ง 2 ข้างตอกติดกับเรี ยวไม้ไผ่เล็กๆ 2 อันเรี ยกว่า ตะเกียบ เรื่ องที่
แสดงได้แก่นิทานต่างๆ เช่น พระอภัยมณี ลักษณวงศ์ สังข์ทอง ฯลฯ
หุ่น
หุ่นละครเล็ก
ลักษณะเหมือนหุ่นหลวงแต่กลไกน้อยกว่า และใช้คนเชิด 3 คน
เรื่ องที่แสดงเช่นเดียวกับหุ่นหลวง แต่ปัจจุบนั เพิ่มเรื่ องใหม่ๆ
หรื อชุดการแสดงเบ็ดเตล็ด
โขน
การแสดงสวมหัว ตัวนางยกเว้ นไม่สวม ต่อมาตัวพระไม่สวมหัวด้ วย
โขน
เรื่ องที่แสดง – รามเกียรติ์
ละคร
ละครแบบดั้งเดิม
ละครทีป่ รับปรุงใหม่
- ละครชาตรี
- ละครนอก
- ละครใน
- ละครเสภา
- ละครพันทาง
- ละครดึกดาบรรพ์
- ละครร้อง
- ละครพูด
ละครแบบดัง้ เดิม - ละครรา
เริ่ มในสมัยอยุธยาเป็ นต้นมาจนถึงรัตนโกสิ นทร์
- ละครชาตรี
- ละครนอก
- ละครใน
ละครชาตรี
ละครชาตรี ละครเร่ เป็ นละครชาวบ้าน ผูแ้ สดงเป็ นชายล้วน
ตัวแสดงหลัก 3 ตัวคือ พระ(นายโรง) นาง และตัวตลกหรื อ
ตัวเบ็ดเตล็ด
ละครนอก
ละครนอก ละครชาวบ้าน ผูแ้ สดงเป็ นชายล้วน มีตวั ละครเพิ่ม
มากขึ้นกว่าละครชาตรี กระบวนการแสดงรวดเร็ ว มุ่งให้ตลกขบขัน
ละครใน
ละครใน หมายถึง ละครข้างใน หรื อ ละครนางใน
ผูแ้ สดงเป็ นสตรี ในราชสานัก กระบวนการแสดงช้าละมุนละม่อม
เน้นการรางาม ไม่ตลกคะนอง
สมัยรัตนโกสินทร์ – รัชกาลที่ 1
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ตารารา
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัย
ละครนอกแบบหลวง
สตรีในราชสานักแสดง – กระบวนเร็ ว เน้ นขบขันแบบละครนอก
แต่ มีความละมุนละม่ อมแบบละครผู้หญิง
รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้ าเจ้ าอยู่หวั
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้ าเจ้ าอย่ หู ัว
โปรดเกล้า ฯ ให้เลิกละครหลวง
ละครแบบหลวง เจ้านายและข้าราชการผูใ้ หญ่
อุปถัมภ์
รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอย่ หู ัว
โปรดเกล้า ฯ ให้ร้ื อฟื้ นละครหลวง
ประกาศว่ าด้ วยละครผู้หญิง
มีละครด้วยกันหลายรายดี บ้านเมืองจะได้
ครึ กครื้ น จะได้เป็ นเกียรติยศแผ่นดิน
รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เกิดละคร
แบบใหม่เพิ่มขึ้น
1.
2.
3.
4.
5.
ละครเสภา
ละครพันทาง
ละครดึกดาบรรพ์
ละครร้ อง
ละครพูด
ละครเสภา
การขับเสภา
เสภาประกอบปี่ พาทย์
พระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์ พงศ์
ทรงปรับปรุ งให้ เป็ นเรื่องติดต่ อกัน
ละครเสภา
เสภารา
ละครพันทาง
ปริ นส์ เธี ยเตอร์
ละครแบบผสม ทังท่
้ ารา เพลงร้ อง ดนตรี
การแต่งกายและเรื่ องที่แสดง
ละครพันทาง
เจ้ าพระยามหิ นทรศักดิ์ธารง (เพ็ง เพ็ญกุล)
ละครดึกดาบรรพ์
เจ้ าพระยาเทเวศรวงศ์ วิวฒ
ั น์
สมเด็จฯ เจ้ าฟ้ า
กรมพระยานริ ศรานุวดั ติ
วงศ์์
วังบ้ านหม้ อ
ที่ตั้งโรงละครดึกดาบรรพ์
ของเจ้ าพระยาเทเวศรวงศ์ วิวัฒน์
ละครดึกดาบรรพ์
ละครร้อง
แผนผังโรงละครปรี ดาลัย
พระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ
กรมพระนราธิ ปประพันธ์ พงศ์
ละครร้ อง
ละครพูด
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว
ผู้ให้ กาเนิดละครพูดสมัยใหม่
ชายจริงหญิงแท้
ทรงแสดงละครพูดเรื่ อง โพงพาง ร่ วมกับหม่อมเจ้าหญิงวัลลภาเทวี
หม่อมเจ้าหญิงลักษมีลาวัณ และพระยาประสิ ทธิ์ศุภการ (ม.ล.เฟื้ อ พึ่งบุญ)
ปั จจุบัน
ละครโทรทัศน์
ละครวิทยุ
ละครเพลง
นาฏกรรมร่ วมสมัย
เรื่องที่ใช้ ในการแสดงของไทย - สัมพันธ์ กับวรรณคดีและวรรณกรรม
หนัง / โขน
รามเกียรติ์
ละครชาตรี
มโนห์ รา รถเสน แก้วหน้ าม้ า
หุ่น / ละครนอก /
ละครนอกแบบหลวง
สั งข์ ทอง คาวี
มณีพชิ ัย ไกรทอง
ไชยเชษฐ์ สั งข์ ศิลป์ ชัย
เรื่องที่ใช้ ในการแสดงของไทย
ละครใน
รามเกียรติ์ อิเหนา
อุณรุ ท ดาหลัง
ละครเสภา
ขุนช้างขุนแผน
ละครพันทาง
ละครดึกดาบรรพ์
เรื่ องออกภาษา เช่น ราชาธิ ราช
พระอภัยมณี
เรื่ องที่เล่นละครนอก
และละครใน เช่น
รามเกียรติ์ อิเหนา
สังข์ทอง มณี พิชยั
เรื่องที่ใช้ ในการแสดงของไทย
ละครร้อง
สาวเครือฟ้า
ละครพูด
เวนิสวานิช ตามใจท่ าน
วิวาหพระสมุท หัวใจนักรบ
เรื่องที่ใช้ ในการแสดงของไทย
ละครเพลง ละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ฯลฯ
นวนิยาย
พระมหากษัตริ ยท์ รงทะนุบารุ งศิลปะการแสดง
นอกจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ านภาลัยแล้ว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอย่ หู ัว
ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่ อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามเดินดง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว
ทรงพระราชนิพนธ์
รามเกียรติ์บทร้ องและบทพากย์
สาหรับเล่นโขน เช่น ชุดสี ดาหาย
ชุดจองถนน ชุดนาคบาศ
บทพระราชนิพนธ์ สาหรับการแสดงละครพูด
หัวใจนักรบ
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั รัชกาลปั จจุบนั
บัลเล่ต์เรื่ อง มโนห์ รา
ทรงพระราชนิพนธ์และเรี ยบเรี ยงเสี ยงประสานเพลงชุด “กินรี ”
(Kinari Suite)
การแสดงพืน้ บ้ าน
อัตลักษณ์ประจาถิ่น
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ลิเก
มาจากการสวดบูชาพระเป็ นเจ้าของชาวมลายู
จึงมีการออกแขกเบิกโรง เป็ นเหมือนการไหว้ครู
ลิเก
มีการราและใช้ปี่พาทย์เหมือนละคร
ลิเก
เรื่ องที่นิยมเล่นคือเรื่ องจักรๆ วงศ์ๆ เหมือนละครนอก
หรื ออาจแต่งใหม่ได้
ไกรทอง
มนต์ รักดาวเรื อง
ลิเกประเภทต่างๆ
ลิเกฮูลู
ลิเกป่ า
ลิเกทรงเครื่ อง
โขนสด - ภาคกลาง
โนรา – ภาคใต้ (พุทธ)
รองเง็ง – ภาคใต้ (มุสลิม)
กลองสะบัดชัย - ภาคเหนือ
รากิงกะหร่ า – ภาคเหนือ (ไทใหญ่ )
ลา – ภาคอีสาน (ไทย-ลาว)
เรือมอันเร – อีสานใต้ (ไทย-เขมร)
ฟ้อนภูไท - กลุ่มชาติพนั ธุ์
ฟ้ อนภูไท สกลนคร
การถ่ ายทอดวัฒนธรรม
ญวนราโคม
ราโคมบัว
การถ่ ายทอดวัฒนธรรม
ละครพันทาง เลียนชาติต่างๆ
การแต่ งกายของพม่ า ราชวงศ์ คองบอง
ละครพันทางราชาธิ ราช
การถ่ ายทอดวัฒนธรรม
ละครพูด แบบตะวันตก
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัวทรงแสดงละครพูดเรื่ อง “เจ้ าข้ า,สารวัด”
การแสดง: วัฒนธรรมร่ วมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การฟ้อนรา
เขมร-ระบาอัปสรา
ไทย-ระบาเทพอัปสรพนมรุ้ง
การแสดงเรื่องพระราม (รามายณะ)
ฟิ ลิปปิ นส์
พม่ า
ลาว
ไทย
การแสดงหนัง (เชิดดูเงา)
ไทย
เขมร
อินโดนีเซี ย
คุณค่ าของการแสดง
เป็ นเครื่ องบันเทิงใจ
ให้ขอ้ คิดแก่ชีวิต
เป็ นบันทึกสังคม
โขน
ละครโทรทัศน์
สวัสดี