ภูเขาไฟ

Download Report

Transcript ภูเขาไฟ

โลกและการเปลี่ยนแปลง
วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.4-6
กำเนิดโลก
เ มื่ อ ป ร ะ ม า ณ 4,600 ล้ า น ปี ม า แ ล้ ว
กลุมก
วกันเป็ นหมอกเพลิง
่ ๊ าซใน เอกภพบริเวณนี้ ไดรวมตั
้
มีชอ
ื่ วา่ “โซลารเนบิ
วลา” แรงโน้มถวงท
าให้กลุมก
่
่ ๊ าซยุบตัว
์
และหมุนตัวเป็ นรูปจาน ใจกลางมีความร้อนสูงเกิดปฏิกริ ย
ิ า
นิวเคลียรแบบฟิ
วชัน
่ กลายเป็ น
ดวงอาทิตย ์ ส่วนวัสดุท ี่
์
อยู่รอบๆ มีอุ ณ หภูมต
ิ ่า กว่า รวมตัว เป็ นกลุ่มๆ มีมวลสาร
และความหนาแน่ นมากขึ้ น เป็ นชั้น ๆ และกลายเป็ นดาว
เคราะหในที
ส
่ ุด
์
โครงสร้าง
โลก
โครงสร้าง
ภายใน
โครงสร้าง
ภายนอก
โครงสร้า
ง
ภายนอก
ชัน้
บรรยาก
อุาศ
ทก
ภาค
ชีว
มณฑล
ธรณี
ภาค
โครงสร้า
ง
ภายนอก
ชัน้
บรรยาก
อุาศ
ทก
ภาค
ชีว
มณฑล
ธรณี
ภาค
โครงสร้า
ง
ภายนอก
สวนทีเ่ ป็ นน้าทัง้ หมดบนพืน
้ ผิวโลก เชน
่
่
แมน
่ ้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร
ฯลฯ ตลอดจนน้าทีอ
่ ยูใต
่ ้ดิน ซึ่งแทรก
อยูตามช
พรุนและรอยแตกของ
่
่ องวางในรู
่
หิน ในส่วนทีเ่ ป็ นน้าทีอ
่ ยูบนโลกนั
้นมีอยู่
่
ชัน้
บรรยาก
อุาศ
ทก
ภาค
ชีว
มณฑล
ธรณี
ภาค
โครงสร้า
ง
ภายนอก
เป็ นบริเวณพืน
้ ผิวทีส
่ ่ิ งตาง ๆ ทีม
่ ช
ี ว
ี ต
ิ
่
เกิดขึน
้ ทัง้ ทีม
่ ช
ี ว
ี ต
ิ อยูและตายไปแล
วก็
่
้ ตาม
ในส่วนของพวกทีต
่ าย ถ้าไมมี
่ การเน่า
เปื่ อย ผุพงั ก็จะกลายเป็ นซากดึกดา
บรรพ ์ (Fossils) กอให
น
่
้เกิดแหลงถ
่ านหิ
่
ชัน้
บรรยาก
อุาศ
ทก
ภาค
ชีว
มณฑล
ธรณี
ภาค
โครงสร้า
ง
ภายนอก
เป็ นสวนของแข็งทีห
่ อหุมอยูรอบนอกสุด
่
่ ้
่
ของโลก ประกอบดวย
ดิน แร่ หิน
้
ตาง
ๆ มีความหนาประมาณ 45
่
กิโลเมตร ธรณีภาคนั้นมีความสาคัญ
ทีส
่ ุดทางดานธรณี
วท
ิ ยาบนพืน
้ ผิวโลก
้
ชัน้
บรรยาก
อุาศ
ทก
ภาค
ชีว
มณฑล
ธรณี
ภาค
โครงสร้าง
ภายใน
ชัน้ เปลือก
โลก
CRUST
ชัน้ เนื้ อ
โลก
MANTLE
ชัน้ แกน
โลก CORE
โครงสร้าง
ภายใน
เป็ นชัน
้ นอกสุดของธรณีภาค
มีความหนาประมาณ 30 - 45 กม.
มีองคประกอบส
่ วนใหญเป็
่ น
์
ซิลค
ิ อนออกไซด ์
และ
อะลูมเิ นียมออกไซด ์
ชัน้ เปลือก
โลก
CRUST
ชัน้ เนื้ อ
โลก
MANTLE
ชัน้ แกน
โลก CORE
โครงสร้าง
ภายใน
มีความหนาประมาณ 2,900 กม.
หินทีป
่ ระกอบเป็ นเปลือกโลกชัน
้ ใน
คือ หินอัคนีทม
ี่ ส
ี ี เขมมาก
้
ไหลเวียนอยางช
่
้า ๆ มี
องคประกอบหลั
กเป็ นซิลค
ิ อน
์
ออกไซด ์ แมกนีเซียมออกไซดและ
์
ชัน้ เปลือก
โลก
CRUST
ชัน้ เนื้ อ
โลก
MANTLE
ชัน้ แกน
โลก CORE
โครงสร้าง
แอสธีโนสเฟี ยภายใน
ร์
ความหนาประมาณ 130 กม.
เป็ นชัน
้ ทีม
่ ส
ี ภาพพลาสติก
(Plastic) ไมเป็
่ ก
ี าร
่ นของทีม
เคลือ
่ นไหวอยูตลอดเวลา
่
ชัน้ เปลือก
โลก
CRUST
ชัน้ เนื้ อ
โลก
MANTLE
ชัน้ แกน
โลก CORE
โครงสร้าง
ภายใน
แกนโลกภายนอก (Outer Core)
ส่วนใหญมี
่ ธาตุนิเกิลและเหล็ก
ความหนา 2,200 กม.
ประกอบดวยสารละลายที
เ่ รียกวา่
้
ของเหลวหนัก (Heavy Liquid)
ชัน้ เปลือก
โลก
CRUST
ชัน้ เนื้ อ
โลก
MANTLE
ชัน้ แกน
โลก CORE
โครงสร้าง
แกนโลกภายในภายใน
(Inner Core)
ความหนาประมาณ 1,270 กม.
ประกอบดวยหิ
นทีม
่ ค
ี วาม
้
ถวงจ
าเพาะสูงมาก เนื่องจากอยู่
่
ในระดับลึกจึงถูกความดันบีบอัด
มาก หรือหินนี้อาจจะหลุดจากดาว
นพเคราะหดวงอื
น
่ ๆ ประกอบ
์
ชัน้ เปลือก
โลก
CRUST
ชัน้ เนื้ อ
โลก
MANTLE
ชัน้ แกน
โลก CORE
ธรณีภาค
ธรณีภาค (lithosphere)
คือ ชั้นเนื้อโลก
ส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกัน ชั้นธรณีภาคมีความหนา
ประมาณ 100 กิโลเมตรนับจากผิวโลกลงไป เปลือกโลกมี
การเปลี่ย นแปลงตลอดเวลา การศึ กษาการเปลี่ย นแปลง
ของเปลือกโลกทัง้ ส่วนทีเ่ ป็ นพืน
้ ดิน พืน
้ น้า และส่วนทีเ่ ป็ น
บรรยากาศจัดเป็ นวิธก
ี ารหนึ่งทีจ
่ ะช่วยป้องกัน ผลกระทบที่
เ กิ ด จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง ธ ร ณี วิ ท ย า ไ ด้ แ ก่
แ ผ่ น ดิ น ไ ห ว แ ล ะ ภู เ ข า ไ ฟ ร ะ เ บิ ด ซึ่ ง เ ป็ น พิ บ ั ต ิ ภ ั ย ที่ ม ี
ผลกระทบต่อชีวต
ิ และทรัพยสิ์ นของมนุ ษย ์ การศึ กษาการ
เปลี่ย นแปลงของเปลือ กโลกท าให้ เกิด ทฤษฎีห ลากหลาย
แตทฤษฎี
ทเี่ ป็ นทีย
่ อมรับกันในปัจจุบน
ั และอธิบายถึงกาเนิด
่
การเลือ
่ นของแผนธรณ
่
ในปี พ.ศ. 2458 นักอุตุนิยมวิทยาชาวเยอรมัน
ชือ
่ ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร ์ (Dr. Alfred Wegener) ตัง้
สมมุต ฐ
ิ านเกีย
่ วกับ การเลือ
่ นของแผ่นธรณีภาคจากอดีตถึง
ปัจจุบน
ั โดยกาหนดวา่ เมือ
่ ประมาณ 3,002,200 ล้านปี
มาแล้ว ผืนแผนดิ
่ นทัง้ หมดบนโลกเป็ นแผ่นดินผืนเดียวกัน
เรียกวา่ พันเจีย (pangaea) ซึ่งเป็ นภาษากรีก แปลวา่
แผนดิ
ดการเลือ
่ นตัวของแผน
่ นทัง้ หมด (all land) ตอมาเกิ
่
่
ธรณีภาคเป็ นขัน
้ ตอน ดังนี้
การเลือ
่ นของแผนธรณ
่
1. เมือ
่ 2,002,135 ล้านปี พันเจีย เริ่มแยกออกเป็ นทวีป
ใหญ่ 2 ทวีป คือ ลอเรเซียทางตอนเหนือ และกอนดวา
์
นาทางตอนใต้ โดยกอนดวานาจะแตกและเคลื
อ
่ นแยกจาก
์
กัน เป็ นอิ น เดี ย อเมริ ก าใต้ และแอฟริ ก า ในขณะที่
ออสเตรเลียยังคงเป็ นส่วนหนึ่งของกอนดวานา
์
2. เมื่อ 135,265 ล้ านปี มหาสมุ ท รแอตแลนติก แยกตัว
กว้างขึน
้ ทาให้แอฟริกาเคลือ
่ นทีห
่ างออกไปจากอเมริ
กาใต้
่
แตออสเตรเลี
ยยังคงเชือ
่ มอยูกั
่
่ บแอนตารกติ
์ กา และอเมริกา
เหนือกับยุโรปยังคงตอเนื
่องกัน
่
3. เมือ
่ 65 ล้านปี ปัจจุบน
ั มหาสมุทรแอตแลนติกขยาย
กว้างขึน
้ อีก อเมริกาเหนือและยุโรปแยกจากกัน อเมริกา
การเลือ
่ นของแผนธรณ
่
หลักฐานและขอมู
ิ ยา
้ ลทางธรณีวท
หลักฐานและขอมู
ทีท
่ าให้นักวิทยาศาสตร ์
้ ลตางๆ
่
เชือ
่ ในทฤษฎีการแปรสั ณฐานแผนธรณี
ภาค ไดแก
่
้ ่
1. รอยตอของแผ
นธรณี
ภาค
่
่
2. รอยแยกของแผนธรณี
ภาค และอายุของหินบน
่
เทือกเขากลางมหาสมุทร
3. การคนพบซากดึ
กดาบรรพ ์
้
4. การเปลีย
่ นแปลงของอากาศ
5. สนามแมเหล็
กโลกโบราณ
่
รอยตอของแผ
นธรณี
ภาค
่
่
นักธรณีวท
ิ ยาแบงแผ
นธรณี
ภาคของโลก
่
่
ออกเป็ น 2 ประเภท คือ แผนธรณี
ภาค
่
ภาคพืน
้ ทวีป และแผนธรณี
ภาคใต้มหาสมุทร
่
รวมทัง้ หมด 15 แผน
่ ไดแก
้ ่
1. แผนแอฟริ
กา
2. แผนอเมริ
กาใต้
่
่
3. แผนคาลิ
บเบีย
4. แผนอาระเบี
ย
่
่
5. แผนอเมริ
กาเหนือ
6. แผนยู
่
่ เรีย
7. แผนฟิ
ิ ปิ นส์ 8. แผนแปซิ
ฟิก
่ ลป
่
9. แผนคอคอส
10. แผนนาสกา
่
่
11. แผนแอนตาร
กติ
่
่ นเดีย ์ ก 12. แผนอิ
ออสเตรเลีย
รอยแยกของแผนธรณี
ภาค และอายุหน
ิ บน
่
เทือกเขากลางมหาสมุทร
ใต้มหาสมุทรมีเทือกเขายาวโค้งอ้อมไปตามรูปราง
่
ของขอบทวีปดานหนึ
่งเกืบขนานกับชายฝั่งสหรัฐอเมริกาและอีก
้
ดานหนึ
่งขนานชายฝังทวีปยุโรปและแอฟริกาเทือกเขากลาง
้
มหาสมุทรนี้มรี อยแยกตัวออกเป็ นรองลึ
กไปตลอดความยาว
่
เทือกเขา และมีรอยตัดขวางบนสั นเขานี้มากมาย รอยแตกนี้
เป็ นศูนยกลางการเกิ
ดแผนดิ
่ นไหวและภูเขาไฟระเบิด
์
ตอมาเครื
อ
่ งมือการสารวจใตมหาสมุ
ทรมีการพัฒนาอยางมาก
่
้
่
เช่นมีการค้นพบหินบะซอลตที
่ ริเวณรองลึ
กหรือรอยแยกบริเวณ
่
์ บ
เทือกเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก และยังพบอีกวาหิ
่ นบะ
ซอลตที
่ ยูไกลจากรอยแยกมี
อายุมากกวาหิ
่ ยูใกล
่
่ นบะซอลตที
่
้
์ อ
์ อ
รอยแยก อธิบายไดว
่ เกิดรอยแยกแผนดิ
่ นตัวออก
้ าเมื
่ อ
่ นจะเคลือ
จากกันอยางช
่
้าๆ ตลอดเวลา ขณะเดียวกันแมกมาจากใตธรณี
้
จะดันแทรกเสริมขึน
้ มาแข็งตัวเป็ นหินบะซอลตใหม
่ ยๆ
่ เรือ
์
การคนพบซากดึ
กดาบรรพ ์
้
ซากดึก ด าบรรพ ของพื
ช และสั ต ว ในทวี
ป ต่างๆน ามาเทีย บเคีย ง
์
์
จะพบว่าปั จ จุ บ น
ั แต่ละทวีป อยู่ไกลกัน มากและมีล ก
ั ษณะภู ม ิอ ากาศ
แตกตางกั
น แตในอดี
ตมีพช
ื หรือสั ตวชนิ
่
่
์ ดเดียวกัน
ซากดึกดาบรรพส
่ ข็ ง ๆของสั ตวและพื
ช
่
่ วนทีแ
์ ่ วนใหญมาจากส
์
เช่น เปลือกหอย กระดูก ฟัน หรือไม้ ซึง่ อาจจะเปลีย
่ นแปลงไป
จากรู ป เดิม หรือ ไม่ก็ เ ปลี่ย นเป็ นแร่ธาตุ สั ต ว และพื
ช จะถู ก เก็ บ อยู่ใน
์
หนองซึ่งทับถมกันจนดาเกือบเป็ นน้ามันดิน พีต น้าแข็งและอาพัน
ยางของต้ นไม้ โบราณ ไข่ รอยเท้ าและโพรงไม้ ต่ างก็ ส ามารถ
กลายเป็ นซากดึกดาบรรพได
์ ้ทัง้ สิ้ น จากการศึ กษาซากดึกดาบรรพ ์
ท าให้ ทราบว่า สิ่ งมีชีว ต
ิ ได้ อุ บ ต
ั ข
ิ ึ้น บนโลกอย่างน้ อย3,500ล้ านปี
มาแลวเกิ
วมี
้ ดมีสายพันธสั์ ตว ์ และ พืชซึง่ ส่วนใหญได
่ สู
้ ญพันธุไปแล
้
์
แตชิ
้ ส่วนเล็กจิว๋ ทีย
่ งั หลงเหลือ เป็ นซากดึกดาบรรพซากดึ
กดาบรรพ ์
่ น
์
ทีเ่ กาแกทีส
่ ุด ในโลกคือเซลลรูป รางเหมือน บัก เตรีข นาดเล็ กมากมี
รูปฟอสซิลไดโนเสารภู
์ กุ้ม
ข้าว
ต.โนนบุร ี
อ.สหัสขันธ ์ จ.กาฬสิ นธุ ์
รอยเทาไดโนเสาร
ภู
้
์ แฝก
ต.ภูแลนช
กิง่
่ ้าง
อาเภอนาคู
จ.กาฬสิ นธุ ์
การเปลีย
่ นแปลงของอากาศ
การเปลีย
่ นแปลงของอากาศทีท
่ าให้เกิดการสะสม
ตัว ของตะกอนในบริเ วณต่างๆของโลก เช่ น หิน ที่
เกิดจากตะกอนธารน้ า แข็ ง ซึ่ง ควรจะเกิดขึ้นบริเวณ
ขั้ ว โ ล ก แ ต่ ปั จ จุ บั น พ บ หิ น ลั ก ษ ณ ะ นี้ ใ น บ ริ เ ว ณ
ชายทะเลตอนใต้ ของแอฟริก าและอิน เดีย แสดงว่า
แผ่ นทวี ป มี ก ารเคลื่ อ นที่ ห ลัง จากที่ ม ี ก ารสะสมของ
ตะกอนจากธารน้าแข็งแลว
้
สนามแมเหล็
กโลกโบราณ
่
สนามแมเหล็
กโลกโบราณ(paleomagnetism) เป็ น
่
หลักฐานทีใ่ ช้พิสูจนทฤษฎี
การเคลือ
่ นทีข
่ องแผนธรณี
ภาค
่
์
โดยใช้หลักทีว่ าในอดี
ตเหล็กทีเ่ กิดปนอยูกั
่ ๆ
่
่ บแรอื
่ น
กอนจะมี
การแข็งตัวกลายเป็ นหินจะมีการเรียงตัวใน
่
รูปแบบทีเ่ กิดจากการเหนี่ยวนาของสนามแมเหล็
กโลกใน
่
ขณะนั้น ตอมาเมื
อ
่ มีการแข็งตัวเป็ นหินเหล็กนั้นจะมี
่
คุณสมบัตค
ิ ลายเข็
มทิศทีถ
่ ก
ู เก็บฝังอยูในเนื
้อหินเป็ นระยะ
้
่
เวลานาน เมือ
่ นักวิทยาศาสตรน
นซึง่ ทราบ
่
์ าตัวอยางหิ
ตาแหน่งทีม
่ ามาศึ กษา และนาขอมู
้ ลมาแปลความหมาย
และคานวณหาตาแหน่งดัง้ เดิมของพืน
้ ทีใ่ นอดีตได้ แสดง
วาโลกของเราไม
เคยหยุ
ดนิ่งมีการเปลีย
่ นแปลงอยู่
่
่
ลักษณะการเคลือ
่ นทีแ
่ ผนธรณี
ภาค
่
การเคลือ
่ นทีแ
่ ผนธรณี
ภาคมีการเคลือ
่ นที่ 3 ลักษณะ
่
1.ขอบแผนธรณี
ภาคแยกออกจากกัน
่
เป็ น แนวขอบของแผนธรณี
ภาคทีแ
่ ยกออกจาก
่
กัน เนื่องจากการดันตัวของแมกมาในชัน
้ ธรณีภาค
ทาให้เกิดรอยแตกในชัน
้ หินแข็ง จนแมกมาสามารถ
ถายโอนความร
อนสู
้ เปลือกโลกได้ อุณหภูมแ
ิ ละ
่
้
่ ชัน
ความดันของแมกมาจึงลดลงเป็ นผลให้เปลือกโลก
ตอนบนทรุดตัวกลายเป็ น หุบเขาทรุด ปรากฏเป็ น
เทือกเขากลางมหาสมุทร
การแยกออกจากกันของแผน
่
เปลือกโลก
2.ขอบแผนธรณี
ภาคเคลือ
่ นเขาหากั
น
่
้
3 แบบ ดังนี้
แนวทีแ
่ ผนธรณี
ภาคเคลือ
่ นเขาหากั
นเป็ นได้
่
้
ก. แผนธรณี
ภาคใตมหาสมุ
ทรชนกับแผน
่
้
่
ธรณีภาคใต้
มหาสมุทร แผนธรณี
ภาคแผนหนึ
่ง
่
่
จะมุดลงใตแผ
ภาคอีกแผนหนึ
่ง ปลายของแผนธรณี
ภาค
้ นธรณี
่
่
่
ทีม
่ ุดลง จะหลอมตัวกลายเป็ นแมกมาประทุขน
ึ้ มา เกิดเป็ นแนว
ภูเขาไฟกลางมหาสมุทร เช่นที่ ญีป
่ ่ ุน ฟิ ลป
ิ ปิ นส์
ข. แผนธรณี
ภาคใตมหาสมุ
ทรชนกับแผนธรณี
ภาคภาคพืน
้
่
้
่
ทวีป แผนธรณี
ภาคใตมหาสมุ
ทรหนักกวาจะมุ
ดลงใต้ ทาให้
่
้
่
เกิดรอยคดโค้งเป็ นเทือกเขาบนแผนธรณี
ภาคภาคพืน
้ ทวีป เช่น
่
ที่ อเมริกาใตแถบตะวั
นตก แนวชายฝั่งโอเรกอน
้
ค. แผนธรณี
ภาคภาคพืน
้ ทวีปชนกับแผนธรณี
ภาคภาคพืน
้
่
่
ทวีปอีกแผนหนึ
่ง เมือ
่ ชนกันทาให้ส่วนหนึ่งมุดตัวลงอีกส่วน
่
หนึ่งเกยอยูด
เกิดเป็ นเทือกเขาสูง เช่น เทือกเขา
่ านบน
้
หิมาลัย เทือกเขาแอลป์
ภาพ ข.
ภาพ
ก.
ภาพ ค.
3.ขอบแผนธรณี
ภาคเคลือ
่ นทีผ
่ านกั
น
่
่
มักเกิดใต้มหาสมุทร ภาคพืน
้ ทวีปก็ม ี เนื่องจาก
การเคลือ
่ นตัวของแมกมาในชัน
้ เนื้อโลกไมเทากั
่ น ทา
ให้แผนธรณี
ภาคเคลือ
่ นทีไ่ มเท
เกิดการเลือ
่ น
่
่ ากั
่ นดวย
้
ผานและเฉื
อนกัน เป็ นรอยเลือ
่ นระนาบดานข
างขนาด
่
้
้
ใหญ่
แผนดิ
่ นไหว
แผนดิ
หมายถึง
่ นไหว
ปรากฏการณที
่ าให้
์ ท
พืน
้ ผิวโลกเกิดการสั่ นไหวสะเทือน
สาเหตุการเกิดแผนดิ
่ นไหว
• ธรรมช
าติ
1. การปลดปลอย
่
พลังงานเพือ
่ ลด
ความเครียดบริเวณ
รอยเลือ
่ นของบริเวณ
รอยตอแผ
นเปลื
อกโลก
่
่
และการระเบิ
รอยเลืดอ
่ ของภู
น ของ
2.
เขา
เปลือกโลก
ไฟ
• มนุ ษย ์
1. การสรางเขื
อ
่ นและ
้
อางเก็
บน้าขนาดใหญ่
่
2. การทาเหมืองใน
ระดับลึก
3. การสูบน้าใตดิ
้ น
4. การทดลองระเบิด
นิวเคลียรใต
์ ดิ
้ น
แผ่ นดินไหวจำกธรรมชำติ
(Earthquake)
ความร้ อนจากแก่นโลก
ผลักดันให้ เปลือกโลก
ส่งผ่านขึ ้นมาบนเปลือกโลก
เกิดการเคลื่อนที่
ความเครี ยดของรอยเลื่อน
เพิ่ม
เกิดการสะสมพลังงาน
บริเวณรอยต่อ และ
รอยเลื่อน
พลังงานเกินจุดวิกฤต
ปลดปล่อยพลังงาน
ออกมา อย่างรวดเร็ว
Earthquake
ทฤษฎีเกีย่ วกับกำรเกิดแผ่ นดินไหว
• ทฤษฎีท่ วี ่ าด้ วยการขยายตัวของเปลือกโลก
(Dilation source theory)
เชื่อว่ าแผ่ นดินไหวเกิดจากการที่เปลือกโลกเกิดการคดโค้ งโก่ งงอ
อย่ างฉับพลัน และเมื่อวัตถุขาดออกจากกันจึงปลดปล่ อย
พลังงานออกมาในรูปคลื่นแผ่ นดินไหว (ทาให้ เกิดแผ่ นดินไหว
เป็ นครัง้ แรกของพืน้ ที่)
ทฤษฎีเกีย่ วกับกำรเกิดแผ่ นดินไหว
• ทฤษฎีท่ วี ่ าด้ วยการคืนตัวของวัตถุ
(Elastic rebound theory)
เมื่อเกิดแผ่ นดินไหวอันเนื่องมาจากเคลื่อนตัวของรอย
เลื่อน (Fault) จนถึงจุดหนึ่งที่วัตถุจงึ ขาดออกจากกัน และ
เสียรูปอย่ างมาก พร้ อมกับการปลดปล่ อยพลังงานออกมา
หลังจากนัน้ วัตถุกค็ ืนตัวกลับสู่รูปเดิมพร้ อมกับปล่ อย
พลังงานออกมาเป็ นระยะๆ เรียกว่ า การเกิด After
shock
ชนิดของรอยเลือ่ น
บริเวณทีม่ กั เกิดแผ่ นดินไหว
1. แนวแผ่ นดินไหวของโลก ตรงบริเวณขอบของแผ่ นเปลือกโลก
ในกรณีของประเทศไทย แนว แผ่นดินไหวโลกที่ใกล้ ๆ ได้ แก่ แนวใน
มหาสมุทรอินเดีย สุมาตรา และ ประเทศพม่า
2. แนวรอยเลื่อนต่ าง ๆ ในกรณีประเทศไทย ได้ แก่ แนวรอยเลื่อนในประเทศ
เพื่อนบ้ าน พม่า จีนตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
3. บริ เวณที่มนุษย์มีกิจกรรมกระตุน้ ให้เกิดแผ่นดินไหว
เช่น เหมือง เขื่อน บ่อน้ ามัน เป็ นต้น
คลืน่ แผ่ นดินไหว (Seimic wave)
Seismograph
ลักษณะของกรำฟแผ่ นดินไหว
คลืน่ ในแผ่ นดินไหว
คลื่น BODY
WAVE
1) P - WAVE (P) หมายถึง
คลื่นแผ่ นดินไหวที่มีช่วง
คลื่นสัน้ และเคลื่อนที่ใน
ลักษณะ PUSH PULL เป็ นคลื่นแรกที่มาถึง
สถานีตรวจวัด
คลืน่ ในแผ่ นดินไหว
คลื่น BODY WAVE
2) S - WAVE (S) หมายถึง
คลื่นแผ่ นดินไหว ที่มีช่วงคลื่น
สัน้ และเคลื่อนที่ในลักษณะ
SIDE TO SIDE คือ เคลื่อนที่ตงั ้
ฉากกับ ทิศทางที่เคลื่อนที่ไป จึง
ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านแกนโลก
ได้ มีความเร็วประมาณ 0.6 เท่า
ของ คลื่น P WAVE
คลืน่ ในแผ่ นดินไหว
คลื่น SURFACE
1) WAVE
LOVE WAVE (LQ) หมายถึง
คลื่นแผ่ นดินไหว ที่มีช่วงคลื่น
ยาว และเคลื่อนที่ในลักษณะ
เดียวกับคลื่น S WAVE คือ
เคลื่อนที่แบบ SIDE TO SIDE ไป
ตามเปลือกโลก ซึง่ ในระยะทาง
สันๆ
้ จะมีความเร็วเท่ากับคลื่น S
WAVE แต่ถ้าระยะ
ทางไกลๆ ความเร็วจะขึ ้นอยู่
กับ ความหนาของเปลือกโลก
2) RAYLEIGH WAVE (LR)
หมายถึง คลื่นแผ่ นดินไหวที่มีช่วง
คลื่นยาว และเคลื่อนที่ในลักษณะ
คล้ ายกับขดลวด คือ แบบ
ELLIPTICAL - RETROGRADE ซึง่
เคลื่อนที่ทงทางตั
ั้
งและทางนอนใน
้
ระยะทางสันๆ
้ ความเร็วจะเท่ากับ
0.92 เท่าของ คลื่น S WAVE แต่ถ้า
ระยะทางไกลๆ ความเร็วจะขึ ้นอยู่กบั
ความหนาของเปลือกโลก
ขนำดและควำมรุนแรง
1. ขนาด (Magnitude)
• เป็ นปริ มาณที่มีความสัมพันธ์กบั พลังงานที่พื ้นโลก ปลดปล่อย
ออกมาในรูปของการสัน่ สะเทือน คานวณได้ จากการตรวจวัดค่า
ความสูงของคลื่นแผ่นดินไหวที่ตรวจวัด ได้ ด้วยเครื่ องมือตรวจ
แผ่นดินไหว โดยเป็ นค่าปริ มาณที่บง่ ชี ้ขนาด ณ บริ เวณ
ศูนย์กลางแผ่นดินไหว มีหน่วยเป็ น " ริ คเตอร์ " ซึง่ จะมีคา่ ตังแต่
้
1.0 - 9.0
ขนำด
1-2.9
ควำมสั มพันธ์ ของขนำดโดยประมำณกับควำมสั่ นสะเทือนใกล้
ศูนย์ กลำง
เกิดการสัน่ ไหวเล็กน้อย ผูค้ นเริ่ มมีความรู ้สึก
ถึงการสัน่ ไหว บางครั้ง รู ้สึกเวียน ศีรษะ
เกิดการสัน่ ไหวเล็กน้อย ผูค้ นที่อยูใ่ นอาคาร
รู ้สึกเหมือนรถไฟวิง่ ผ่าน
เกิดการสัน่ ไหวปานกลาง ผูท้ ี่อาศัยอยูท่ ้ งั
ภายในอาคาร และนอกอาคาร รู ้สึกถึงการ
สัน่ สะเทือน วัตถุหอ้ ยแขวนแกว่งไกว
เกิดการสัน่ ไหวรุ นแรงเป็ นบริ เวณกว้าง
มำตรำริคเตอร์
3-3.9
4-4.9
2. ความรุ นแรงแผ่ นดินไหว (Intensity)
แสดงถึงความรุนแรงของเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ ้น วัด ได้
จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ ้น ขณะเกิด และหลังเกิดแผ่นดินไหว
เช่น ความรู้สกึ ของผู้คน ลักษณะที่วตั ถุหรื อ อาคารเสียหายหรื อ
สภาพภูมิประเทศที่เปลี่ยนแปลง เป็ นต้ น ในกรณีของ ประเทศ
ไทย ใช้ มาตราเมอร์ แคลลี่ สาหรับเปรี ยบเทียบอันดับ ซึ่งมี
ทัง้ หมด 12 อันดับ เรี ยงลาดับความรุนแรงแผ่นดินไหวจากน้ อย
ไปมาก
อันดับที่
ลักษณะควำมรุนแรงโดยเปรียบเทียบ
I
เป็ นอันดับที่อ่อนมาก ตรวจวัดโดยเครื่ องมือ
พอรู ้สึกได้สาหรับผูท้ ี่อยูน่ ิ่ง ๆ ในอาคารสู ง
ๆ
พอรู ้สึกได้สาหรับผูอ้ ยูใ่ นบ้าน แต่คนส่ วน
ใหญ่ยงั ไม่รู้สึก
ผูอ้ ยูใ่ นบ้านรู ้สึกว่าของในบ้านสัน่ ไหว
รู ้สึกเกือบทุกคน ของในบ้านเริ่ มแกว่งไกว
รู ้สึกได้กบั ทุกคนของหนักในบ้านเริ่ ม
II
III
IV
V
VIII
เสี ยหายค่อนข้างมากในอาคารธรรมดา
IX
สิ่ งก่อสร้างที่ออกแบบไว้อย่างดี เสี ยหายมาก
X
อาคารพัง รางรถไฟบิดงอ
XI
อาคารสิ่ งก่อสร้างพังทลายเกือบทั้งหมด ผิว
โลกปูดนูนและเลื่อนเป็ นคลื่นบน
พื้นดินอ่อน
ทาลายหมดทุกอย่าง มองเห็นเป็ นคลื่นบน
XII
ภูเขำไฟ (Volcano)
ภูเขาที่เกิดขึน้ โดยการปะทุของหินหนืด
ร้ อนแรงที่อยู่ใต้ เปลือกโลกดันตัวขึน้ สูงสู่พนื ้ ผิวโลก
สำเหตุกำรเกิด
• เกิดจากหินหนืดใต้ เปลือก(magma)โลกดันตัวปะทุผ่านรอย
แตกของเปลือกโลกขึน้ มา (lava)
ลาวา มีก่ ปี ระเภทอะไรบ้ าง
ลาวาสามารถแบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท
คือ
1. ลาวาที่มีความเป็ นกรด ซึ่งจะมี 2. ลาวาที่มีความเป็ นเบส ซึ่ง
องค์ ประกอบส่ วนใหญ่ เป็ น ธาตุ จะมีองค์ ประกอบนใหญ่ เป็ น
ซิลิกอน มีความหนืดมาก
ธาตุ เหล็ก และแมกนีเซียม มี
เคลื่อนที่อย่ างช้ าๆ และแข็งตัว ความหนืดน้ อย เคลื่อนที่ได้ เร็ว
เร็ว
และแข็งตัวช้ า
ลาวากรด และลาวา เบส มีลักษณะการระเบิดต่ างกัน
อย่ างไร
ลาวากรด
ลาวาเบส
หนืดมาก จึงทาให้ รวมกันเป็ น
ก้ อนอุดปล่ อง ความดันจึง
สะสมมาก
ระเบิดรุ นแรง
หนืดน้ อย ไหลง่ าย ไม่ มีการอุด
ปล่ อง ความดันจึงสะสมไม่ มาก
ระเบิด
เงียบ
สิ่ งทีไ่ ด้ จำกกำรปะทุของภูเขำไฟ
สิ่ งที่ได้
ลำวำ บอมบ์
bomb)
ลำวำหลำก
flow)
(Lava
(Lava
ก๊ ำซ
(Gas)
เถ้ ำถ่ ำน และ
ละออง
ฝุ่ น
ชนิดของลำวำหลำก
ปาฮอยฮอย
(Pahoehoe flow)
อาอา
(Aa)
ชนิดของภูเขำไฟแบ่ งตำมกำรสะสมและสั ณฐำน
1. ภูเขาไฟรู ปโล่
(Shield volcano)
รูปร่ างคล้ ายโล่ มีความ
ลาดชันด้ านข้ างน้ อย
ประมาณ 4 – 10 องศา แต่ ไม่
เกิน 15 องศา ภูเขาไฟชนิดนี ้
มีฐานกว้ างจัดเป็ นภูเขาไฟที่
มีขนาดใหญ่ ท่ สี ุด
ภูเขาไฟบนเกาะฮาวาย
2. ภูเขาไฟกรวยกรวด (Cinder cone)
- มีความลาดชัน้ ประมาณ 33 - 37
องศา
- ภูเขาไฟชนิดนีจ้ ะสูงชันมาก
- ลาวาจะมีความหนืดสูง การไหลไม่
ต่ อเนื่อง
-ลาวาลูกกลมๆ ที่พ่ ุงออกมาจาก
ปล่ องเดี่ยว และทับถมกันบริเวณ
รอบปล่ อง
- ไม่ ค่อยก่ อให้ เกิดความสูญเสีย
ชีวติ
3. ภูเขำไฟกรวยสลับชั้น
(Composite cone or Composite volcano)
• เป็ นภูเขาไฟที่มีการสลับชัน้
ของหินลาวา ของเศษหินและ
หินตะกอนภูเขาไฟ
• เกิดจากการระเบิดของภูเขา
ไฟที่พ่นลาวาออกมาแล้ วไหล
ลามออกไปรอบๆ ปล่ องเป็ น
วงกว้ างสลับกัน
4. ภูเขำไฟแบบกรวยสู ง (Steep cone)
• เกิดจากลาวาที่มีความเป็ น
กรด
• รูปกรวยคว่า
• ลาวามีความข้ นและเหนียว
จึงไหลและเคลื่อนตัวไปอย่ าง
ช้ าๆ แต่ จะแข็งตัวเร็ว ทาให้
ไหล่ เขาชันมาก
• ภูเขาไฟแบบนีจ้ ะเกิดการ
ระเบิดอย่ างรุ นแรง
แนวเขตภูเขำไฟ
Mediterranean belt
Pacific belt
ภูเขำไฟในประเทศไทย
•ภูเขาไฟหินพนมรุ้ ง
•ภูเขาไฟอังคาร
•ภูเขาไฟหินหลุบ
• ภูเขาไฟกระโดง
• ภูเขาไฟไบรบัด
•ภูเขาไฟคอก
• ภูเขาไฟดอยผาดอกจาปา
แดด
• ภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู
ประโยชน์ ของกำรเกิดภูเขำไฟ
•
•
•
•
•
•
แผ่นดินขยายกว้ างขึ ้นหรื อสูงขึ ้น
เกิดเกาะใหม่ภายหลังที่เกิดการปะทุใต้ ทะเล
ดินที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิดจะอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่ ธาตุตา่ งๆ
เป็ นแหล่งเกิดน ้าพุร้อน
แหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ
เป็ นแหล่งเหมืองเพชร
โทษของกำรเกิดภูเขำไฟ
• เป็ นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตได้
• การปะทุของภูเขาไฟอาจทาให้ เกิดแผ่นดินไหวขึ ้นได้
• ชีวิตและทรัพย์สินที่อยูใ่ กล้ เคียงเป็ นอันตราย
• สภาพภูมิอากาศเกิดการเปลี่ยนอย่างเห็นได้ ชดั
ปอมเปอีเมืองทีส่ ู ญหำย
กำลำปำกอสผู้ทใี่ ห้ ทฤษฎีววิ ฒ
ั นำกำร
ตัวป่ วนทำให้ กำรจรำจรทำงอำกำศของโลกเป็ นอัมพำต
ภูเขาไฟไอย์ ยาฟยัลลาโยกูล (Eyjafjallajokull) ตอนใต้ ของ
เกาะไอซ์แลนด์ระเบิดประทุขึ ้นฟ้าสูงถึง 8 กิโลเมตร ฝุ่ นขี ้เถ้ าลอย
กว่า 6,000 เมตร และฟุ้งกระจายไปทัว่ ประเทศตังแต่
้ ช่วงเช้ ามืด
01.00 น. วันที่ 14 เม.ย.ตามเวลาท้ องถิ่น หรื อช่วงเช้ า 8.00 น.ตาม
เวลาไทย
ผลกระทบข้ ำมทวีป
• ภูเขาไฟปูเยฮิวในชิลี
เที่ยวบินระหว่ างประเทศภายในอเมริกาใต้ ต้องถูกยกเลิก ขณะที่
กระแสลมแรงได้ พัดเอาเถ้ าควันลอยข้ ามไปไกลถึงมหาสมุทรแอ
ตแลนติคตอนใต้ มหาสมุทรอินเดียตอนใต้ ออสเตรเลีย และ
นิวซีแลนด์