ดนตรีและนาฏศิลป์

Download Report

Transcript ดนตรีและนาฏศิลป์

นาฏศิลป์ และดนตรี
ความหมายของดนตรีและนาฏศิลป์


กำธร สนิทวงศ์ ณ อยุธยำ (2514 : 1) ดนตรี หมายถึง เครื่ องมือ (Tools) สาหรับ
ไว้สื่อความคิด (Idia) ความนึกฝัน (Imagination) และความรู้สึก
(Emotion) โดยออกมาในรู ปของ “เสี ยง” เพื่อให้ตนเอง ให้ผอู้ ื่น ได้ชื่นชมชื่น
ใจ อย่างไรก็ตามการที่ผฟู ้ ังจะเข้าใจภาษาสากลของดนตรี น้ ี ได้อย่าง ลึกซึ้ งเพียงใด
ก็ยอ่ มขึ้นอยูก่ บั ความแตกต่างระหว่างบุคคล พื้นฐานการศึกษา ความรู ้ เกี่ยวกับ
ดนตรี ตลอดจนประสบการณ์ของผูฟ้ ังเป็ นสาคัญ
ประดิษฐ์ อินทนิล (2536:1) นาฏศิลป์ หมายถึง การเคลื่อนไหวอิริยาบถต่างๆ ทั้ง
มือ แขน ขา ลาตัว และใบหน้า เป็ นสื่ อถ่ายทอดความหมายและอารมณ์ เพือ่ ให้ผชู้ ม
คนดูเกิดความรู ้สึกสะเทือนอารมณ์ต่างๆ
ดนตรี





เครื่ องดนตรี คือ เครื่ องมือที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้บรรเลงให้มีเสี ยงดังเป็ น
ทานองเพลง ทาให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน การแบ่งเครื่ องดนตรี
โดยอาศัยอากัปกิริยาในการบรรเลง แบ่งออกได้เป็ น 4 ประเภท คือ
เครื่ องดนตรี ประเภทดีด
เครื่ องดนตรี ประเภทสี
เครื่ องดนตรี ประเภทตี
เครื่ องดนตรี ประเภทเป่ า
1.เครื่องดนตรีประเภทดีด ใช้มือดีด หรื อดีดด้วยวัสดุอื่นเกิดเป็ นเสี ยง ดีดที่
สายขึง ใช้นิ้วกดที่สาย แล้วดีดให้เกิดเป็ นเสี ยง 7 เสี ยงได้แก่ พิณ ซึ ง จะเข้ กระจับปี่
2.เครื่องดนตรีประเภทสี มีเสี ยงเกิดจากการสี ของคันชักที่ทามาจากหางม้าสี
ลงบนสายที่ทามาจากไหม หรื อเอ็น มี 2-3 สาย มีคนั ทวนและกะโหลก ได้แก่ สะ
ล้อ ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ ซออีสาน ซอมอญ
3.เครื่องดนตรีประเภทตี จาแนกได้อีก 3 ประเภท คือ
3.1 เครื่ องตีทาด้วยไม้ ได้แก่ กรับคู่ กรับพวง
3.2 เครื่ องตีทาด้วยโลหะ ได้แก่ มโหระทึก ฆ้อง ฉิ่ ง ฉาบ ระฆัง กังสดาล
3.3 เครื่ องตีทาด้วยหนัง ได้แก่ กลองทัด กลองตุก๊ ตะโพน บัณเฑาะว์ กลอง
มลายู
4.เครื่องดนตรีประเภทเป่ า ได้แก่ แตรเขาควาย แตรงอน แตรสังข์ ปี่ ใน ขลุ่ย
ปี่ ซอ ประเภทของวงดนตรี ไทย
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย มี ดังนี้
1. วงขับไม้ ประกอบด้วยเครื่ องดนตรี ซอสามสาย โทน กระจับปี่
และผูข้ บั ร้อง
2. วงเครื่องกลองแขก ประกอบด้วยเครี่ องดนตรี กลองมลายู ปี่ ฆ้อง
โหม่ง
3. วงเครื่องสาย ประกอบด้วยเครื่ องดนตรี ซอด้วง ซออู ้ จะเข้ ฉิ่ง ขลุ่ย
โทน รามะนา
4. วงปี่ พาทย์ มีชื่อเรี ยกต่าง ๆ กัน ได้แก่
4.1 วงปี่ พาทย์ชาตรี มี ปี่ นอก ฆ้องคู่ โทนชาตรี ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง
ฆ้องวงใหญ่
4.2 วงปี่ พาทย์เครื่ องห้า มี ระนาดเอก ปี่ ใน ตะโพน กลองทัด ฆ้องวง
ใหญ่ ฉิ่ง
4.3 วงปี่ พาทย์เครื่ องคู่ มี ระนาดเอก ระนาดทุม้ ปี่ ใน ตะโพน กลอง
ทัด ฉิ่ง ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก
4.4 วงปี่ พาทย์เครื่ องใหญ่ มี ระนาดเอก ระนาดทุม้ ฆ้องวงใหญ่ ฆ้อง
วงเล็ก ปี่ ใน ปี่ นอก ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง ระนาดเอก
เหล็ก ระนาดทุม้ เหล็ก
5. วงมโหรี เป็ นวงดนตรี ที่มีความสมบูรณ์มากที่สุด มีเครื่ องดนตรี ทุกประเภท เป็ น
การรวมวงเครื่ องสายกับปี่ พาทย์เข้าด้วยกัน วงมโหรี มี 3 ชนิด คือ
5.1 วงมโหรี เครื่ องเดี่ยว มี ระนาดเอก ฆ้องวง ซอ ขลุ่ย จะเข้ โทน รามะนา ฉิ่ ง
ฉาบ
5.2 วงมโหรี เครื่ องคู่ มี ซอด้วง ซออู ้ จะเข้ ซอสามสาย (อย่างละ 2) ระนาดเอก
ระนาดทุม้ ฆ้องวงเล็ก ฆ้องวงใหญ่ ขลุ่ยหนีบ ขลุ่ยเพียงออ โหม่งราว ฉิ่ง ฉาบ กรับ
พวง โทน รามะนา
5.3 วงมโหรี เครื่ องใหญ่ มีเครื่ องดนตรี ครบทุกประเภท และสมบูรณ์มาก
ที่สุด โดย เพิ่มระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุม้ เหล็กเข้าไป มีขลุ่ยอูอ้ ีกชิ้นหนึ่ง
ด้วย ดนตรี สากล
เป็ นเครื่ องดนตรี ที่ชาวตะวันตกได้นามาเผยแพร่ จนเป็ นที่
รู ้จกั กันทัว่ โลก จึงทาให้ทุกชนชาติทุกภาษาสามารถเล่นดนตรี สากลได้ ทั้งนี้เพราะ
เครื่ องดนตรี สากลมีมาตรฐานเดียวกัน และใช้ โน้ต บันทึกทานองเพลง
ประเภทของดนตรีสากล
แบ่งออกได้เป็ น 3 ประเภท คือ
1. ดนตรีพนื้ เมือง หรือดนตรีพนื้ บ้ าน (Folk Music) มีอยูต่ ามท้องถิ่น ส่ วน
ใหญ่ใช้เครื่ องประกอบจังหวะ ฉิ่ ง กรับ ฉาบ โหม่ง โทน ระมะนา กลอง อาจมี สะ
ล้อ ซอ ซึ ง แคน เป็ นต้น
2. ดนตรีแบบฉบับ (Classical Music) เป็ นการพัฒนาดนตรี ของแต่ละ
ชนชาติ จนเป็ นดนตรี ช้ นั สู ง มีความดีเด่นจนเป็ นดนตรี ประจาชาติได้ เช่น ดนตรี
ไทย มีพฒั นาการจนสามารถบรรเลงในราชสานักได้
3. ดนตรีสมัยนิยมหรือ ชนนิยม (Popular Music) เป็ นดนตรี ที่ได้รับ
ความนิยมจากประชาชนทัว่ ไป จะมีเพลงที่ได้รับความนิยมอยูใ่ นช่วงเวลาหนึ่ง แล้ว
ก็เสื่ อมไป มีเพลงใหม่เข้ามาแทนที่ มีการนาเอาทานองของต่างชาติมาใช้
เครื่องดนตรีสากล






แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท คือ
เครื่องสาย (The String Instruments)
เครื่องเป่ าลมไม้ (The Woodwind Instruments)
เครื่องเป่ าโลหะ (The Brass Instruments)
คีย์บอร์ ด (The Keyboard Instruments)
เครื่องตี (The Percussion Instruments)
1. เครื่องสาย (The String Instruments) ทามาจากสายโลหะ และสายเอ็น
1.1 จาพวกเครื่ องสายแบบดีด ได้แก่ กีตาร์ แบนโจ แมนโดลีน ฮาร์ป
1.2 จาพวกเครื่ องสายสี ใช้คนั ชัก ได้แก่ ไวโอลีน วิโอล่า ดับเบิลเบส
2. เครื่องเป่ าลมไม้ (The Woodwind Instruments)
2.1 ประเภทเป่ าลมผ่านช่องลม ได้แก่ ฟลุท ปิ คโคโล เรคอเดอร์
2.2 ประเภทเป่ าลมผ่านลิ้น ได้แก่ คลาริ เนท แซกโซโฟน โอโบ บา
สซูน
3. เครื่องเป่ าโลหะ (The Brass Instruments) เป่ าผ่านริ มฝี ปากไปปะทะช่องที่
เป่ า ได้แก่ คอร์เน็ท ทรัมเป็ ต เฟรนซ์ฮอร์น ทรอมโบน แบริ โทน ยูโฟเนีม
ทูบา ซูซาโฟน
4. ประเภทคีย์บอร์ ด (The Keyboard Instruments) มีลิ่มนิ้วเรี ยงกันเป็ น
แผง ได้แก่ เปี ยโน ออร์ แกน อิเล็กโทน แอ็คคอร์เดียน คียบ์ อร์ดไฟฟ้ า
5. เครื่องตี (The Percussion Instruments) แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ
5.1 เครื่ องตีนาทานอง (Molodic Percussion) ได้แก่ โซโลโฟน เบล
ไลลา ระฆังราว
5.2 เครื่ องตีทาจังหวะ (Rhythmic Percussion) ได้แก่ กลอง
บองโกส์ ทอมบา ฉิ่ ง ฉาบ กรับ ลูกแซก กลองชุด ความไพเราะของเพลง มี
ส่ วนประกอบ 2 ส่ วนคือ เพลงขับร้อง กับเพลงบรรเลง เพลงบรรเลง เป็ นเพลงที่ใช้
เครื่ องดนตรี ลว้ น ๆ เช่น เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์เพลงขับร้อง เป็ นการร้อง
ประกอบดนตรี คือ ร้องและมีดนตรี รับ เช่น เพลงเถา เพลงตับเพลงที่เราได้รับฟัง
กันอยูใ่ นปั จจุบนั มี 2 กลุ่ม คือ เพลงไทย และ เพลงไทยสากล
นาฏศิลป์




นาฏศิลป์ ไทย เป็ นการแสดงท่าทาง โดยการร่ ายรา ซึ่งตามปกติจะใช้
ดนตรี และการขับร้องประกอบอยูด่ ว้ ย เช่น ระบา ราฟ้ อน เซิ้ง
ละคร โขน
1. ระบา การแสดงท่าทางราพร้อมกันเป็ นหมู่ เป็ นชุด ไม่มีการดาเนิน
เรื่ อง เช่น ระบาไก่ ระบาเทพบันเทิง ระบาศรี วิชยั ระบาดอกบัว
2. รา เป็ นการแสดงท่าทางด้วยวงแขน มือที่อ่อนช้อยสวยงาม เป็ นการ
แสดงคนเดียวหรื อหมู่ เช่น ราศรี นวล ราแม่บท ราโคม
3. ฟ้อน เป็ นการราแบบพื้นเมืองของภาคเหนือ ด้วยลีล่าที่ค่อนข้างจะ
เชื่องช้า แต่งกายแบบพื้นเมือง เช่น ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนเทียน ฟ้ อนเงี้ยว


4. เซิ้ง ศิลปะการร่ ายราแบบพื้นเมืองภาคอีสาน ใช้จงั หวะเร็ ว สนุกสนาน ได้แก่
เซิ้ งสวิง เซิ้ งกระติบ เซิ้ งบั้งไป (นาขบวนแห่บ้ งั ไฟ)
5. ละคร เป็ นศิลปการแสดงที่ผกู เป็ นเรื่ องราวเป็ นตอน ๆ ตามลาดับ ประกอบด้วย
บทร้อง รา ทาท่าทาง บทเจรจา ใช้ดนตรี ประกอบการแสดง มีการจัดฉากให้
สอดคล้องกับเรื่ องราว ได้แก่
5.1 ละครชาตรี เป็ นต้นแบบของละครรา ใช้ผแู้ สดง 3 คน มีวงปี่ พาทย์บรรเลง
5.2 ละครนอก เป็ นกระบวนการร้องราที่ค่อนข้างจะรวดเร็ ว เรื่ องตลกขบขัน มี
วงปี่ พาทย์บรรเลง เดิมผูช้ ายแสดง ปัจจุบนั ผูแ้ สดงเป็ นชาย-หญิง
5.3 ละครใน มุ่งเน้นศิลปะการร่ ายราเป็ นสาคัญ ยึดระเบียบประเพณี ใช้เพลง
ไพเราะ ไม่นิยมตลกขบขัน ใช้ผหู ้ ญิงแสดงล้วน
5.4 ละครดึกดาบรรพ์ เป็ นละครที่ผแู ้ สดงร้องเอง ราเอง เจรจาเอง มี
การแต่งกาย มีฉากประกอบตามเนื้อเรื่ อง มีวงดนตรี วงปี่ พาทย์ดึกดา
บรรพ์
5.5 ละครพันทาง เป็ นละครแบบผสม ทาเอาศิลปการแสดง ท่าทาง
ของชาติอื่นมาผสมกับศิลปะของไทย แต่งกายตามเนื้อเรื่ อง แบ่งการ
แสดงออกเป็ นชุด
5.6 ละครร้อง ใช้การร้องเป็ นหลัก ดาเนินเรื่ อง ไม่มีรา ใช้ท่าทาง
ประกอบการแสดง
5.7 ละครพูด เป็ นละครสมัยใหม่ ใช้การพูดดาเนินเรื่ องแทน การร้อง

6. โขน เป็ นศิลปการแสดงของไทย รู ปแบบหนึ่ง มีท้ งั การรา การเต้น
ออกท่าทางเข้ากับดนตรี ผูแ้ สดงสมมุติเป็ นตัวยักษ์ ตัวลิง เทวดา ตัวพระ
ตัวนาง โดยสวมหน้า เรี ยกกันว่า “หัวโขน”ผูแ้ สดงไม่ตอ้ งร้อง จะมีผู ้
พากย์และร้อง ซึ่งเรี ยกว่า “ตีบท” เรื่ องที่นามาแสดง คือ เรื่ องรามเกียรติ์
โขนมี 5 ชนิด คือ
โขนกลางแปลง
โขนโรงนอก (โขนนัง่ ราว)
โขนโรงใน
โขนหน้าจอ
โขนฉาก
นาฏยศัพท์

นาฏยศัพท์ เกี่ยวกับการใช้มือ
วง เป็ นการตั้งแขนคล้ายครึ่ งวงกลม ตั้งมือขึ้น นิ้วทั้งสี่ เรี ยงชิดติดกันหลบหัวแม่มือเล็กน้อยแล้ว
หันฝ่ ามือออกนอกตัวหักข้อมือเข้าหาลาตัว ตั้งวงมี 4 ชนิด คือ วงบน วงกลาง วงล่าง วงหน้า
จีบ เป็ นการจรดนิ้วมือเข้าหากัน นิ้วหัวแม่มือกับข้อสุ ดท้ายของปลายนิ้วนิ้วชี้ นิ้วอื่น ๆ กรี ดคล้าย
พัด การจีบมี 5 ลักษณะ คือ จีบหงาย จีบควา่ จีบปรกข้าง จีบปรกหน้า
เดินมือ เป็ นการเคลื่อนมือทั้งสองข้างสลับกันในท่ารา จะช้าหรื อเร็ วขึ้นอยูก่ บั จังหวะนาฏย
ศัพท์ เกี่ยวกับการใช้เท้า
กระดกเท้า เป็ นการยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งไปข้างหลัง ให้น่องชิดโคนขาแล้วหักข้อเท้า
ก้าวเท้า เป็ นการก้าวเท้าไปข้างหน้า และก้าวเท้าไปข้างหลัง โดยเอาส้นเท้าแตะลง
ก้าวข้าง เป็ นการก้าวเท้าออกไปทางด้านข้าง ด้วยเท้าข้างใดข้างหนึ่ง เปิ ดส้นเท้าหลังด้วย
จรดเท้า ใช้จมูกเท้าแตะพื้น วางส้น จรดส้นเท้าข้างใดข้างหนึ่ง
กระทุง้ เท้า ยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งให้สูงขึ้นเล็กน้อย แล้วใช้จมูกเท้ากระทุง้ ลงที่พ้นื
การราวง


ราวง เป็ นศิลปะการเล่นพื้นเมือง โดยผูร้ าจะต้องยืนราเป็ นวงกลม อาจยืนอยูก่ บั ที่
หรื อเดินราเรี ยง กันไป ดนตรี ที่นิยมใช้ คือ โทน บทร้องส่ วนใหญ่เป็ นบท หยอกเย้า
ชมโฉม ราพันรัก บทจากกันเพลงราวง ได้แก่ “ยวนยาเหล ยวนยาเหล หัวใจ
ว้าเหว่ ไม่รู้จะเห่ไปหาใคร”
ราวงมาตรฐาน เป็ นการเล่นที่ประยุกต์มาจากราวงพื้นเมืองหรื อราโทน ซึ่ งกรม
ศิลปากรเป็ นผูจ้ ดั ระเบียบของการราเพื่อให้มีความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย เพลงต่าง
ๆที่ใช้ในการราจะมีความสัมพันธ์ท่ารา ได้แก่
- เพลงงามแสงเดือน
ท่าราสอดสร้อยมาลา
- เพลงชาวไทย
ท่าราชักแป้ งผัดหน้า
- เพลงรามาซิ มารา
ท่ารา ราส่ าย
-
เพลงคืนเดือนหงาย ท่าราสอดสร้อยมาลาแปลง
เพลงดวงจันทร์วนั เพ็ญ
ท่าราแขกเต้าเข้ารัง และผาลาเพียง
ไหล่
เพลงดอกไม้ของชาติ
ท่ารายัว่
- เพลงหญิงไทยใจงาม พรหมสี่ หน้า และยูงฟ้ อนหาง
- เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ า
ช้างประสานงา และจันทร์ทรงกรด
แปลง
- เพลงยอดชายใจหาญ (หญิง) ชะนีรายไม้ (ชาย) จ่อเพลิง
กาฬ
การแสดงเพลงพืน้ บ้ าน


การแสดงเพลงพืน้ บ้ าน หรือเพลงพืน้ เมือง การแสดงหรื อการละเล่นของในแต่ละ
ท้องถิ่น จะแฝงเอาไว้ดว้ ยศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และจิตใจ
ของคนแต่ละท้องถิ่น
ประเภทของการแสดงท้ องถิ่น
1. เพลงพืน้ บ้ าน เป็ นเพลงที่ชาวบ้านคิดคาร้องและท่าทางในการแสดงตาม
วิถีชีวติ ในท้องถิ่นนั้น ๆ ได้แก่ เพลงเรื อ เพลงฉ่อย เพลงพวงมาลัย เพลงอีแซว ลา
ตัด เพลงเทพทอง เพลงโคราช เพลงบอก เพลงแคน เพลงหมอลา ฯลฯ
2. ราพืน้ เมือง คือ ระบา รา ฟ้ อนที่กาเนิดมาจากถิ่นต่าง ๆ เช่น ฟ้ อนเทียน
ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนภูไท ราวง รากลองยาว ราศรี นวล
การแสดงพืน้ บ้ านภาคต่ างๆ




1. เพลงพืน้ บ้ านภาคกลาง เพลงพวงมาลัย เพลงเหย่ย เพลงฉ่ อย ฯลฯ นิยมเล่นกันในเทศกาล
ตรุ ษ สงกรานต์ สารทไทย การแต่งกายผูแ้ สดงจะนุ่งโจงกระเบน ใส่ เสื้ อสี ลายดอก
2. การแสดงพืน้ เมืองภาคเหนือ ได้แก่ ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนเทียน ด้วยท่วงท่าลีลากรี ดกราย นุ่งผ้า
สิ้ น ห่มสไบ เกล้าผมมวยทรงสูง สวมเล็บยาวทั้ง 4 นิ้ว
3. การแสดงพืน้ เมืองภาคอีสาน ได้แก่ เซิ้งบั้งไฟ หมอลา เซิ้งสวิง เซิ้งกระติบ การแสดงไม่
มีแบบแผน เป็ นรา ทาท่าทางที่สนุกสนาน นาขบวนแห่บ้ งั ไฟ การแต่งกายนุ่งผ้าสิ้ น เสื้ อแขน
กระบอก ชายนุ่งกางเกงขาก๊วย เสื้ อคอกลม ผ้าขาวม้าคาดพุง
4. การแสดงพืน้ เมืองภาคใต้ ได้แก่ โนรา หนังตะลุง เพลงบอก การแสดงโนรา แต่งกายนุ่ง
ผ้าสนับเพลา มีสงั วาล ทับทรวง ปั้นเหน่ง ผ้าห้อยหน้า จีบหางหงส์ กาไลต้นแขน ปลายแขนส่ วน
หนังตะลุง ใช้คนเป็ นผูเ้ ชิดตัวหนังที่ทาด้วยหนังวัว หนังควายขูดจนบาง แกะสลัก ระบายสี
สวยงาม มีท้งั ตัวพระ ตัวนาง ฤษี ตัวตลก ปราสาทราชวัง ฯลฯ เครื่ องดนตรี ที่ใช้ประกอบในการ
แสดงหนังตะลุง ได้แก่ ทับ 2 ลูก ฆ้องคู่ ปี่ ซอ กลองตุ๊ก ฉิ่ ง และกรับ ปัจจุบนั มีการประยุกต์ใช้
เครื่ องดนตรี สากลด้วย
แหล่ งอ้ างอิง

ชาเลือง มณี วงษ์, ศิลปะ (2) ดนตรี นาฏศิลป์ “เรียนรู้หลักการพืน้ ฐาน”
[ออนไลน์], เข้าถึงเมื่อ 4 กันยายน 2550. เข้าถึงได้จาก
http://gotoknow.org/blog/manee01/103371