ละครพูด

Download Report

Transcript ละครพูด

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3
ความสั มพันธ์ ของนาฏกรรมประเภทต่ าง ๆ กับมนุษย์
3.1 ประเภทของนาฏกรรม
3.1.1 นาฏกรรมไทยรูปแบบมาตรฐาน หรือแบบแผน
( Classical Dance)
ที่มาของนาฎกรรมไทย
- จากการละเล่ นของชาวบ้ านในท้ องถิ่น อาทิ ราโทน ก็มีการพัฒนา ปรับปรุงขึน้ ใหม่
กลายเป็ นการแสดงทีเ่ รียกว่ า “รำวงมำตรฐำน” ซึ่ง
มีปรากฏอยู่ปัจจุบัน
- จากการแสดงที่เป็ นแบบแผน นาฏกรรมไทยทีเ่ ป็ นแบบแผนได้ รับการปลูกฝังและ
ถ่ ายทอดมาจากปรจารย์ ทอี่ ยู่ในวังหลวง ได้ รับการสื บ
ทอดต่ อเนื่องกันมาจนถึงปัจจุบัน
- จากการรับอารยธรรมของอินเดีย พระเจ้ าทีช่ าวอินเดียนับถือ ได้ แก่
- พระศิวะ
= พระอิศวร
- พระวิษณุ =
พระนารายณ์
- พระพรหม
รวมพระเจ้ าสามพระองค์ มีชื่อเรียกเฉพาะว่ า
- พระตรีมูรติ - หมายถึง พระผู้เป็ นใหญ่ ท้งั สาม
พระองค์
ประเภทของนาฏกรรมไทย
1. ระบา ศิลปะการราทีม่ ีผู้แสดงพร้ อมกันเป็ นหมู่ ไม่
ดาเนินเรื่องราว เช่ น ระบาโบราณคดี
2. ราเดี่ยว
3. ราคู่
เป็ นศิลปะการร่ ายราที่เน้ นท่ วงท่ าลีลาที่งดงามใน
การร่ ายรา ใช้ ผู้แสดงเพียง 1 คน เช่ น ราฉุยฉาย
พราหมณ์
เป็ นการแสดงที่นิยมใช้ เบิกโรง อาทิ
ราแม่ บท ราอวยพร หรือ เป็ นราคู่ที่
ตัดตอนมาจากการแสดงเรื่องใหญ่
4. โขน
อากัปกิริยาของตัวละครมีท้งั การราและการเต้ น
ผู้แสดงจะสวมหน้ ากากหรือเรียกว่ า “หัวโขน”
5. ละคร แบ่ งเป็ น 2 แบบ คือ
1.ละครแบบโบรำณ
2.ละครที่มีพฒ
ั นำกำรขึน้ มำใหม่
1.ละครแบบโบรำณ
1.1 ละครราแบบดั้งเดิม
1.2 ละครแบบปรับปรุง
1.1.1 ละครชาตรี
1.2.1 ละครดึกดาบรรพ์
1.1.2 ละครนอก
1.2.2 ละครพันทาง
1.1.3 ละครใน
1.2.3 ละครเสภา
2. ละครที่มีพฒ
ั นำกำรขึ้นมำใหม่
2.1 ละครร้ อง
2.2 ละครพูด
2.3 ละครสั งคีต
2.4 ละครหลวงวิจิตรวาทการ
2.5 ละครเพลง
ละครราแบบดั้งเดิม
ละครชาตรี เป็ นละครที่ถือว่าเป็ นต้นแบบของละครราทุก
ชนิดเรื่ องที่นิยมแสดงกัน เช่น พระสุ ธนมโนราห์และพระรถเสน
ละครนอก เป็ นละครที่มีลีลากระบวนการราและบทร้องที่
ดาเนินไป ค่อนข้างจะรวดเร็ ว ไม่พิถีพิถนั มุ่งหมายดาเนินเรื่ อง
สนุกสนานและ ขบขัน การดาเนินเรื่ องรวดเร็ ว เรื่ องที่นิยมแสดง
กัน เช่น เรื่ องสังข์ทอง มณี พิชยั ไกรทอง
ละครใน เป็ นละครที่มุ่งเน้นศิลปะการร่ ายราเป็ นสาคัญ
โดยยึดถือระเบียบประเพณี อย่างเคร่ งครัด เรื่ องที่นิยมแสดง
กัน เช่น เรื่ องอิเหนา อุณรุ ท รามเกียรติ์
ละครแบบปรับปรุง
ละครดึกดาบรรพ์ จะเรี ยกชื่อตามชื่อโรงละครเป็ น
ละครที่ปรับปรุ งขึ้นใหม่ให้แตกต่างไปจากละครแบบเดิม
โดยให้ผแู้ สดงร้องเอง ราเอง เจราเอง
ละครพันทาง เป็ นละครที่นิยมนาเอาพงศาวดาร
ของชาติต่าง ๆ มาแสดงนาเอาท่าราที่เป็ นแบบแผนของ
ไทยไปผสมดัดแปลงจากท่าราของชาติอื่น ๆ
ละครเสภา ดาเนินเรื่ องใช้การขับเสภาเป็ นส่ วนใหญ่
ละครที่มีพฒ
ั นาการขึน้ มาใหม่
ละครพูดสลับลา เป็ นละครที่ใช้ศิลปะการพูดและการร้อง
สลับกันแต่จะดาเนินเรื่ องด้วยการพูดเป็ นสาคัญส่ วนการร้องมี
ก็ได้ไม่มีกไ็ ด้
ละครพูด เป็ นละครที่ใช้ศิลปะการพูดดาเนินเรื่ อง
ละครร้ อง เป็ นละครร้องที่ใช้การร้องเป็ นหลักในการ
ดาเนินเรื่ องไม่มีการรา แต่ใช้ท่าทางหรื อกิริยาอาการสามัญชน
ทัว่ ไป เป็ นละครที่ได้รับอิทธิ พลมาจากตะวันตก เช่น เรื่ อง
สาวเครื อฟ้ า
ละครสั งคีต มีววิ ฒั นาการมาจากละครพูดสลับลา แต่
ต่างกันที่ละครสังคีตมีบทสาหรับพูด และบทสาหรับผู้
แสดงร้องในการดาเนินเรื่ องเท่า ๆ กัน
ละครหลวงวิจิตรวาทการ ละครหลวงวิจิตรวาทการจะ
เป็ นแบบผสมมีลกั ษณะละครหลายประเภทรวมกันเป็ น
เอกลักษณ์เฉพาะของละคร
ละครเพลง เป็ นการแสดงที่ดาเนินเรื่ องด้วยบทเพลง
ที่ปรับปรุ ง ขึ้นมาใหม่
3.1.2 นาฏกรรมพืน้ บ้ าน ( Folk Dance)
- เขตพืน้ ที่วฒ
ั นธรรมทางนาฏกรรมพืน้ บ้ านอีสาน
1. นาฏกรรมพืน้ บ้ านอีสานเหนือ
กลุ่มอีสานเหนือ คนส่ วนใหญ่จะใช้ภาษาไทยอีสาน
หรื อภาษาลาว เพราะชนกลุ่มนี้สืบทอดวัฒนธรรมจากกลุ่ม
ลุ่มน้ าโขงข้ามมาตั้งภูมิลาเนาในภาคอีสาน และยังมีชน
กลุ่มน้อยบางส่ วนอาศัยอยูโ่ ดยทัว่ ไป คือ ผูไ้ ท แสก ย้อ โส้
โย้ย ฯลฯ
2. นาฏกรรมพืน้ บ้ านอีสานใต้
กลุ่มอีสานใต้ คือ บริ เวณที่ราบตอนใต้ที่เรี ยกว่า “แอ่ง
โคราช” ซึ่ งได้แก่ จังหวัดนครราชสี มา บุรีรัมย์
สุ ริทร์ ศรี สะเกษ นี้มีการสื บทอดวัฒนธรรมแบ่งออกเป็ น
2 กลุ่มใหญ่ คือ
2.1 กลุ่มสื บทอดวัฒนธรรมจากเขมร – ส่ วย
ได้แก่ ชนส่ วนใหญ่ในจังหวัดสุ รินทร์ บุรีรัมย์ และ
ศรี ษะเกษ ชนกลุ่มที่ได้รับสื บทอดวัฒนธรรมจาก
เขมร – ส่ วย เช่น เรื อมอันเร เรื อมซันตรู จน์ เรื อมจับ
กรับ เรื อมกันตรึ ม เป็ นต้น
2.2 กลุ่มวัฒนธรรมโคราช
ได้แก่ ชนส่ วนใหญ่ ที่อาศัยอยูใ่ นจังหวัดนครราชสี มาและ
บางส่ วนในจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่ งพูดภาษาโคราช และมีศิลปะ
ประจาถิ่น คือการเล่นเพลงโคราช
สรุปลักษณะนาฏยลักษณ์ อสี าน
1. ท่าฟ้ อนของภาคอีสานนั้นมีความเป็ นอิสระสูงคือ
ไม่มีขอ้ จากัด ตายตัวทั้งมือและเท้า
2.ท่วงทานองของดนตรี จังหวะ ลีลาเป็ นเอกลักษณ์
เฉพาะถิ่น ซึ่ งแตกต่างจากภาคอื่นๆของไทย
3. ลักษณะโดดเด่นที่เป็ นเอกลักษณ์ของภาคอีสานอย่าง
ชัดเจนก็คือ เครื่ องดนตรี ได้แก่ พิณ แคน โปงลาง โหวด
ไหซอง ฯลฯ
4. การแต่งกายของผูแ้ สดง คือ ถ้าผูห้ ญิงมักจะนุ่งซิ่น
มัดหมี่สวมเสื้ อแขนกระบอก ห่มผ้าสไบหรื อแพร
วา ผมเกล้ามวย ส่ วยฝ่ ายชายมักจะสวมเสื้ อม่อฮ่อม
นุ่งผ้าโสร่ งผ้าลายเป็ นตาๆ
5. ภาษาอีสานเป็ นภาษาเฉพาะถิ่น
3.1.3 นาฏกรรมตะวันตก (BALLET)
บัลเล่ตเ์ ป็ นศิลปะการเต้นราประกอบดนตรี ไม่มีคา
ร้อง ถือกาเนิดในช่วง ค.ศ. 15 ในราชสานักของประเทศ
อิตาลี
ในปี พ.ศ.2124 พระนาง Catherine de
Medici (แคทเธอรี น เดอ เมดิซี) ไปเผยแพร่
ประเทศฝรั่งเศส
บัลเล่ตไ์ ด้ถึงจุดสูงสุ ดในสมัยพระเจ้าหลุยส์ 14
แห่งฝรั่งเศส
ผลิดอกออกผลที่ ประเทศรัฐเชีย
มีนกั เต้นบัลเล่ตท์ ี่มีชื่อเสี ยงโด่งดังเป็ นที่รู้จกั กันทัว่ โลก
อาทิ ลูดอฟ นูลีเยฟ ,นาตาเลีย มาคาโลว่า
พระราชครู สอนเต้นราส่ วนพระองค์ชื่อ Pierre
Beauchamp ( ปี แอโบชอม) ผูน้ ้ ีคือผูแ้ รกที่กาหนดท่า
แม่บทของบัลเล่ตใ์ ห้เป็ นแบบฉบับที่ชดั เจน โดยกาหนด
แบ่งอกเป็ น 5 ท่า คือ
ท่าที่ 4 เรี ยกว่าFourth
ท่าที่ 1 เรี ยกว่า First
ท่าที่ 2 เรี ยกว่า Second
ท่าที่ 3 เรี ยกว่า Third
ท่าที่ 5 เรี ยกว่า Fifth
นอกจากนั้นพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ทรงให้จดั การ
แสดงบัลเล่ตเ์ รื่ อง The Sun King พระองค์
ทรงร่ วมแสดงด้วย รับบทเป็ น The Sun
การใช้ รองเท้ าปลายเท้ า สาหรับนักบัลเล่ ต์
Toe Shoes
Soft Shoe
การสวมกระโปรง
กระโปรงสั้ นเรียกว่ า
(Tutu
Classic)
กระโปรงยาวรู ปทรงคล้ ายระฆังควา่
เรียกว่ า (Tutu Romantic)
สรุปลักษณะทางนาฏยลักษณ์ ของบัลเล่ต์พอสั งเขป
1. การร่ ายราเน้นความสมดุลทางร่ างกายในการ
เคลื่อนไหว
2. ลีลา ท่าทางในการเคลื่อนไหว นิยมเขย่ง เหยียด
และยืดส่ วนต่างๆ ของร่ างกายเพือ่ ให้เกิดความรู้สึก
เบา ง่าย หนีแรงโน้มถ่วงของโลก
3. เครื่ องแต่งกายรัดรู ป เพื่อเน้นการแสดงออก
ในลวดลายแขนขา ลาตัว ชื่นชมในความงามใน
สรี ระมนุษย์
4. เครื่ องแต่งกายมีความหรู หรา ฟุ่ มเฟื อย
5.การร่ ายราเน้นร่ างกายท่อนล่างเป็ นความสาคัญ
นับแต่สะโพกจนถึงปลายเท้า เน้นความแข็งแรงที่
แฝงอยูใ่ นความนุ่มนวลในการแสดง ออกมา
6. เรื่ องราวในการแสดงมี 2 ลักษณะ คือ
- คลาสสิ ค เน้ นความรัก ความสง่ างามของเจ้ าชาย
และเจ้ าหญิง
- โรแมนติก เป็ นเรื่องเพ้อฝัน ตัวละครทีไ่ ม่ มใี นโลก
แห่ งความเป็ นจริง เช่ น ผี วิญญาณ นางไม้ ฯลฯ
7. การสัมผัสร่ างกายของบัลเล่ตร์ ะหว่างชาย หญิง มี
ความอิสระมากกว่า (อยูใ่ นขอบเขตของการแสดง)
- การเต้นราคู่
Pas de deux
- การเต้นเดี่ยว
SOLO
8. การเต้นบัลเล่ตม์ ีความอิสระในการยกขา ใน
ระดับสูงๆไม่วา่ จะเป็ น ชายหรื อหญิง
9. วงดนตรี ประกอบการแสดง เรียกว่ า-Symphony Orchestra
3.1.4 นาฏกรรมแบบสร้ างสรรค์ (Creative )
นาฏยประดิษฐ์ หรื อนาฏกรรมแบบสร้างสรรค์ หมายถึง
การคิด การออกแบบ การสร้างสรรค์ แนวคิดรู ปแบบกลวิธี
ของนาฏศิลป์ ชุดหนึ่ง ที่แสดงโดยผูแ้ สดงคนเดียวหรื อหลาย
คน นาฏยประดิษฐ์ จึงเป็ นการทางานที่ครอบคลุม ปรัชญา
เนื้อหา ความหมาย ท่ารา ท่าเต้น การแปรแถว การตั้งซุม้ การ
แสดงเดี่ยว การแสดงหมู่ การกาหนดดนตรี เพลง เครื่ องแต่ง
กายฉาก และส่ วนประกอบอื่น
ผู้ออกแบบนาฏศิลป์
นักนาฏยประดิษฐ์
Choreographer
นาฏกรรมแบบสร้ างสรรค์ แบ่ งออกเป็ น 2 ลักษณะดังนี้
-Creative Classical Dance
ยึดหลักอยูบ่ น พื้นฐานวัฒนธรรมเดิมที่มีอยูแ่ ล้ว ซึ่ งจะ
อาศัยเพียงเอกลักษณ์เด่น ๆ ของนาฏศิลป์ นั้น ๆ มาประดิษฐ์คิด
เป็ นกระบวนท่าใหม่ ๆ การเคลื่อนไหวใหม่ ๆ ให้แหวกแนว
จากของเดิม ทั้งนี้ท้ งั นั้น ซึ่ งรวมไปถึงในเรื่ องของการแต่งกาย
และดนตรี ประกอบด้วย
-Creative New Dance
เป็ นการสร้างสรรค์แบบหลุดโลก คือ การคิดใหม่ ทา
ใหม่ ไม่เคยพบเห็นที่ไหนมาก่อน อิสระทางด้านความคิด
จินตนาการ ท่าเต้น ท่ารา ท่าฟ้ อน ปั จจุบนั นี้เรี ยกนาฏศิลป์ แบบ
นี้วา่ “นาฏศิลป์ ร่ วมสมัย” เป็ นการเคลื่อนไหวอย่างอิสระเสรี ซี่ง
เรี ยกการเคลื่อนไหวร่ างกายแบบนี้วา่ Contemporary
Dance
3.3 ความสั มพันธ์ นาฏกรรมกับชีวติ มนุษย์
3.3.1 นาฏกรรมกับประเพณีพธิ ีความเชื่อ
ในสมัยโบราณ สังคมยึดถือ ความเชื่อ ประเพณี
พิธีกรรม เป็ นเครื่ องมือในการเสริ มสร้างกาลังใจให้กบั
ชุมชน นาฏศิลป์ ซึ่ งเกิดจากประเพณี พิธีกรรม และความเชื่อ
ซึ่ งศิลปิ นอีสานได้คิดประดิษฐ์ข้ ึนเป็ นนาฏยศิลป์ สาคัญ ๆ
เช่น ฟ้ อนเซี ยงข้อง ดึงครกดึงสาก นางด้ง เป็ นต้น
3.3.2 นาฎกรรมกับวรรณกรรม
วรรณกรรม เป็ นผลงานการสร้างสรรค์อีกชิ้นหนึ่ง
ของบรรพบุรุษที่ได้เรี ยบเรี ยงและรจนาขึ้นจากปรัมปรา
จินตนาการ หรื อจากชาดกทางพุทธศาสนาโดยมี
วัตถุประสงค์ที่จะสร้างสรรค์สงั คมให้มีความบันเทิง
เริ งรมย์
นาฏศิลป์ ทีเ่ กิดจากวรรณกรรมพืน้ บ้ านอีสาน
- การฟ้ อนมโนราห์ เล่ นนา้ จากวรรณกรรมเรื่องสี ทนมโนราห์
- การฟ้ อนสั งข์ สินไชย (ฟ้อนกกขาขาว) จากวรรณกรรม
เรื่องท้ าวสิ นไชย
- การเซิ้งบั้งไฟที่นอกเหนือจากการที่มีมาจากประเพณี
พิธีกรรมและยังมีพนื้ ฐานและความ เป็ นมาจากวรรณคดีอสี าน
เรื่องผาแดงนางไอ่ เป็ นต้ น
3.3.3 นาฏกรรมกับการประกอบอาชีพ
นักวิชาการและศิลปิ นในสาขาต่าง ๆ ทั้งจากหน่วยงานของ
รัฐ ศิลปิ นอิสระ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ได้ประดิษฐ์คิดค้นท่า
ฟ้ อนจากลักษณาการ (Trait) ในการประกอบอาชีพของชุมชน
สามารถนาลักษณาการนั้น ๆ ไปทบทวนให้มองเห็นสภาพความ
เป็ นอยูข่ องชุมชนในอดีตเป็ นอย่างดี เช่น การฟ้ อนทานา การ
ฟ้ อนเก็บขิด การฟ้ อนสาวหลอก การฟ้ อนเก็บฝ้ าย การฟ้ อนไท
ภูเขา การฟ้ อนครกมอง ฯลฯ
3.3.4 นาฏกรรมกับการละเล่ นและเกีย้ วพาราสี
การละเล่นก็เป็ นสิ่ งหนึ่งที่บรรพบุรุษของชุมชนได้
สร้างสรรค์ข้ ึน เพื่อเป็ นกิจกรรมในการพัฒนาสังคม เพื่อให้
เกิดการปะทะสังสรรค์และปฏิบตั ิสมั พันธ์ในกลุ่มชน
การละเล่นแบ่งออกเป็ น 3 ระดับคือ
1. การละเล่นสาหรับเด็ก เช่น การเล่นเฮือนน้อย
การเล่นขายของ การเล่นหมากเก็บ การเล่นงูกินหาง การ
เล่นหมากเก็บ เป็ นต้น
2. การละเล่นสาหรับหนุ่มสาว เน้นออกไปทางการ
เกี้ยวพาราสี การแข่งขัน การชิ่งดีชิงเด่น เช่นการเล่นหมากตี่
การเล่นหมากลี่(ซ่อนหา) การลงข่วง ผญา (โต้ตอบผญา
แสดงปฎิภาณและไหวพริ บเพื่อเกี้ยวสาว) การฟ้ อนลา ฯลฯ
3. การละเล่นสาหรับผูใ้ หญ่และคนสู งอายุ
การละเล่นของคนสู งอายุจึงออกมาในรู ปของการเตือนสติ
สอนใจแก่อนุชนรุ่ นหลัง เช่น การแข่งขันตอบปั ญหา
ธรรม แข่งจ่ายผญา หรื อการเล่านิทานก้อม เป็ นต้น
นาฏศิลป์ ประเภทนีม้ ปี รากฏให้ เห็นหลายชุดด้ วยกัน
เช่ น เต้ ยเดือนห้ า เต้ ยเกีย้ ว เซิ้งกระโป๋ เรือมอันเร เป็ นต้ น
3.3.5 นาฏกรรมกับการเลียนแบบธรรมชาติ
ในอดีตประเทศไทยเป็ นดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์
มากไปด้วยพืชพรรณและสัตว์ธรรมชาติ ประชากรจึงมีชีวติ
ความเป็ นอยูท่ ี่ผกู พันกับธรรมชาติอย่างมากมาย มี
โครงสร้างทางสังคมที่ไม่สลับซับซ้อนเพียง 2 ลักษณะ คือ
1. ลักษณะของสังคมล่าสัตว์ (hunter society)
2. ลักษณะสังคมเกษตรกรรม (Aggrian society)
จากอิริยาบถของสั ตว์ ทาให้ กลายมาเป็ นลีลาท่ าทาง
ของนาฏศิลป์ เมือ่ เริ่มมีการเลียนแบบอิริยาบถหรือ
ลักษณะจากธรรมชาติ
เกิดการขัดเกลาและการปรุงแต่ งทางวัฒนธรรมเพือ่ ให้
เกิดความสวยงามซึ่งต่ อมาได้ กลายมาเป็ นกิริยาท่ าทาง
ทางด้ านนาฏศิลป์
- มวยโบราณจากจังหวัดนครพนม
- กระโน้บติงตอง (ราตัก๊ แตนของชาวอีสานใต้)
- ฟ้ อนแมงตับเต่า เป็ นต้น