ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ "ดนตรีไทย

Download Report

Transcript ไฟล์ประกอบการสอน 01999032 หัวข้อ "ดนตรีไทย

ดนตรี ไทยสมัยสุ โขทัย
หลักฐานที่แสดงเรื่ องราวของดนตรี สมัยสุ โขทัยได้ชดั เจนได้ แก่ ศิลา
จารึ กสมัยสุ โขทัย ไตรภูมิพระร่ วง
ศิลาจารึ กสมัยสุ โขทัยมีหลายหลัก หลักที่สาคัญๆ คือ ศิ ลาจารึ กพ่อขุน
รามคาแหง (ศิลาจารึ กหลักที่หนึ่ง) จารึ กการสมโภชรอยพระพุทธบาท และ
จารึ กวัดพระยืน เมืองลาพูน
ดนตรีไทยในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง
ศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหง พ.ศ.๑๘๓๕ จารึ กเรื่ องราวของชาวสุ โขทัย มี ขอ้ ความ
ตอนหนึ่งกล่าวถึงเครื่ องดนตรี ไทยไว้วา่
(ด้า นที่ ๑) ปากประตู มี ก ะดิ่ ง อัน ณึ่ ง แขวนไว้ห้ ั นไพร่ ฟ้ า
หน้าปกกลางบ้านกลางเมื อง มี ถอ้ ยมี ความ เจ็บท้อง ข้ องใจ
มันจักกล่าว เถิงเจ้าเถิงขุนบ่ไร้ไปลัน่ กะดิ่งอันท่านแขวนไว้...
(ด้านที่ ๒) ...ดบงคกลอง ด้วยเสี ยงพาดเสี ยงพิณ เสี ยง
เลื้อน เสี ยงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจัก
มักเลื้อน เลื้อน...
ที่มา : ฐานข้อมูลจารึ กในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร
ดนตรีไทยในศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหง
ชื่อในศิลาจารึก
ความหมาย
กระดิ่ง
กระดิ่ง
ดบงคมกลอง
ประโคมกลอง
พาด หรื อ พาทย์
พิณ
คือ เครื่ องดนตรี ประเภทตี จะเป็ นระนาดหรื อฆ้อ งไม่
แน่ชดั
เครื่ องดนตรี ประเภทดีด
เสี ยงเลื้อน เสี ยงขับ
เสี ยงร้องหรื ออ่านเป็ นทานองเสนาะ
ดนตรีไทยในศิลาจารึกการสมโภชพระพุทธบาท
ศิลาจารึ กเขาสุ มนกูฏ เขาพระบาท อาเภอเมือง จังหวัดสุ โขทัย พ.ศ.๑๙๑๒ ได้
บันทึกชื่อเครื่ องดนตรี และการละเล่นไว้ ดังนี้
ปลาก (ปลาย) หนทางย่อมเรี ยงขันหมากขันพลู บูชาพิลม (อภิรมย์) ระบา
เต้นเล่นทุกฉัน (ทุกอย่าง)... ด้วยเสี ยงสาธุ การบูชา อีกดุริยพาทย์พิณฆ้อง
กลอง เสี ยงดีดสี พอดังดินจักหล่มอั้น (เพียงดินจักถล่มนั้น)
ที่มา : ฐานข้อมูลจารึ กในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร
ดนตรีไทยในศิลาจารึกเขาสุ มนกูฏ
ชื่อในศิลาจารึก
ความหมาย
ระบา
การเต้น การรา
ดุริย
ดนตรี
พาทย์
พิณ
คือ เครื่ องดนตรี ประเภทตี จะเป็ นระนาดหรื อฆ้อ งไม่
แน่ชดั
เครื่ องดนตรี ประเภทดีด
ฆ้อง กลอง
เครื่ องตีโลหะ เครื่ องตีหนัง
เสี ยงดีด สี
เสี ยงจากเครื่ องดนตรี ประเภทเครื่ องสาย
ดนตรีไทยในศิลาจารึกการสมโภชพระพุทธบาท
ศิลาจารึ กวัดพระยืน อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน พ.ศ.๑๙๑๓ เป็ นจารึ กที่มีชื่อเครื่ อง
ดนตรี ปรากฏอยูม่ ากที่สุด ดังนี้
... ตี พ าทย์ดัง พิ ณ ฆ้อ งกลองปี่ สรไนพิ ส เนญชัย
ทะเทียด กาหล แตรสังข์มาน กังสดาล มรทงค์
ดงเดื อด เสี ยงเลิ ศ เสี ยงก้อ ง อี กทั้ง คนร้ อ งโห่ อ้ื อ ดา
สะท้านทัว่ ทั้งนครหริ ภุญชัยแล...
ที่มา : ฐานข้อมูลจารึ กในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร
ดนตรีไทยในศิลาจารึกวัดพระยืน
ชื่อในศิลาจารึก
ปี่ สรไน
ความหมาย
ปี่ ไฉน
พิสเนญชัย
อาจหมายถึง ปี่ เสนง หรื อ เขนง ได้แก่เครื่ องเป่ าที่ทาจากเขาสัตว์
ทะเทียด
กาหล
แตร
สังข์
กังสดาล
กลองสองหน้า
แตรงอน น่าจะพัฒนามาจากพิสเนญชัย
เครื่ องเป่ าชนิดหนึ่ง
เครื่ องเป่ าที่ทาจากหอยสังข์
ระฆังวงเดือน
มรทงค์
ตะโพน (สันส.– มฤทงค, บาลี – มุทิงค)
ดงเดือด
สนัน่ ดง หรื อเครื่ องดนตรี อย่างหนึ่ง อาจจะเป็ นกลองทัด
ดนตรีไทยในศิลาจารึกวัดพระยืน
พิสเนญชัย
แตรเขาสั ตว์
ปี่ สรไน
ปี่ ไฉน
กาหล
แตรงอน
สั งข์
ภาพจิตกรรมฝาผนังวงแตรสังข์
วัดท่าฬ่อ จ.พิจิตร
ที่มา : http://www.bloggang.com/viewdiary.
php?id=muralssay&group=2&month=042014&date=27
ดนตรีไทยในศิลาจารึกวัดพระยืน
กังสดาล
ระฆังวงเดือน
มรทงค์ หรื อ ตะโพน เป็ นสิ่ ง แทน
ดุ ริ ย เทพที่ นัก ดนตรี ไ ทยนับ ถื อ มาก
คื อ พระปรคนธรรพ อี กทั้ง ตะโพน
จะเป็ นผู ้ข้ ึ นเพลงสาธุ ก าร เมื่ อ นั ก
ดนตรี ไทยได้ยนิ เสี ยงตะโพนขึ้นเพลง
สาธุ ก ารจะพนมมื อ ไหว้เ พื่ อ แสดง
ความเคารพครู
เพลงสาธุการ
ทะเทียด
กลองสองหน้ า
ดงเดือด
กลองทัด
กลองเพล
ดนตรีไทยในศิลาจารึกอืน่ ๆ
• ศิลาจารึ กวัดบางสนุก จังหวัดแพร่ พ.ศ.๑๘๘๒ พาทย์ กลอง
• ศิลาจารึ กป้ านางคาเยีย เขาไกรลาส สวนซ้ายในพระบรมมหาราชวัง พ.ศ.๑๙๒๒
พาทย์ พิณ แตรสังข์
• ศิลาจารึ กวัดช้างล้อม จ.สุ โขทัย พ.ศ.๑๙๒๗ กระดิ่ ง พาทย์คู่หนึ่ ง ฆ้องสองอัน
กลองสามอัน แตรสังข์ เขาควาย
• ศิลาจารึ กวัดเขมา อ.เมื อง จ.สุ โขทัย พ.ศ.๒๐๗๙ ฆ้องดวงหนึ่ ง กลองลูกหนึ่ ง
กังสดาลลูกหนึ่ง
• ศิลาจารึ กหลักวัดอโศการามหรื อวัดสลัดได ดนตรี มีองค์ ๕ ฆ้อง สังข์ ปี่ กลอง
ใหญ่ กังสดาลใหญ่ พาทย์ถว้ นสารับ แตรสังข์
ภาพปูนปั้น ปรางค์ วดั พระพายหลวง
ภาพปูนปั้นประกอบหน้ าบันทางทิศเหนือของปรางค์ที่วดั พระพายหลวง
กิ ตติ วัฒนะมหาตม์ กล่ า วใน สารนิ พ นธ์เรื่ อ งดนตรี สุโขทัย :
ศึกษาและวิเคราะห์จากหลักฐานโบราณคดีที่ปรากฏในประเทศไทย ว่า “มี
ลักษณะชารุ ดไปมากไม่สมบูรณ์ อ.มนตรี ตราโมท กล่าวว่า ได้เห็ นครั้ง
หนึ่ ง ในคราวไปราชการที่ สุโขทัย และได้ช ารุ ด เสี ย แล้วในภายหลัง ได้
อ้างอิงภาพปูนปั้ นนี้ ประกอบคาบรรยายเรื่ องดนตรี สมัยสุ โขทัย ในปี พ.ศ.
๒๕๐๑ ในปั จจุบนั ภาพนี้ ชารุ ดมาก ลักษณะภาพประกอบด้วยรู ปคนกาลัง
เต้นระบาและคนยืนบรรเลงเครื่ องดนตรี ชนิ ดหนึ่ ง พิจารณาจากร่ องเครื่ อง
ดนตรี ส่วนที่ ยงั เหลื อ และท่า ทางในการบรรเลง อาจจะกล่ าวได้ว่า เป็ น
เครื่ องดนตรี ลกั ษณะคล้ายกับภาพคนยืนบรรเลงพิณน้ าเต้าสายเดี ยวพบที่
เทวสถานบายน นครธม มีอายุราว พุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ แต่ว่า อ.มนตรี
ตราโมท เมื่อได้เห็นภาพลายปูนปั้ นนี้ เป็ นครั้งแรก ท่านได้สรุ ปว่า คนยืน
ดีดกระจับปี่ ภาพนี้ เป็ นหลักฐานเพียงชิ้นเดียวที่แสดงภาพเครื่ องดนตรี ใน
สมัยสุโขทัย” (กิตติ วัฒนะมหาตม์, 2533: 53)
ดนตรีไทยในไตรภูมพิ ระร่ วง
หลัก ฐานชิ้ น ส าคัญที่ ก ล่ า วถึ ง เรื่ อ ง
ดนตรี และเครื่ องดนตรี ในสมัยสุ โขทัย คือ
“ไตรภู มิ พ ระร่ วง” ซึ่ งพระมหาธรรม
ราชาธิ ราชที่ ๑ ทรงพระราชนิ พนธ์ข้ ึนจาก
“เตภู มิ ก ถา” เมื่ อ พ.ศ.๑๘๘๘ เป็ นเรื่ อง
กล่าวถึงจักรวาล มีสวรรค์ มนุษย์ นรก และ
ทวีปต่างๆ ในโลกมนุษย์ เป็ นต้น
ดนตรีไทยในไตรภูมพิ ระร่ วง
มีขอ้ ความที่เกี่ยวกับการละเล่นดนตรี และเครื่ องดนตรี ปรากฏอยูใ่ นไตรภูมิ
พระร่ วง โดยแยกประเภทได้ดงั นี้
๑. ประเภทที่เกี่ยวกับนาฏศิลป์ และการละเล่น ได้แก่คาว่า บ้างเต้นบ้างรา
บ้างฟ้ อน ระบา กับฉิ่ งริ งราจับระบาราเต้น
๒. ประเภทที่ เ กี่ ย วกับ การบรรเลงดนตรี แ ละการขับ ร้ อ ง ได้แ ก่ ค าว่า
บันลือเพลง ร้อง ขับ ดีด สี ตี เป่ า และ ดุริยดนตรี
๓. ประเภทที่ เกี่ ยวกับเครื่ องดนตรี ได้แก่ คาว่า ฆ้อง กลอง กลองใหญ่
กลองราม กลองเล็ก แตรสังข์ กังสดาล มโหระทึก พาทย์ พิณ ฉิ่ ง แฉ่ ง บัณเฑาะว์
ตี ก ลอง ตี พ าทย์ ตี ก รั บ ดี ด พิ ณ สี ซ อพุ ง ตอ เป่ าปี่ แก้ว ปี่ ไฉน บัญ จางคิ ก ดุ ริ ย
พิณพาทย์ และนาดรา (ปั ญญา รุ่ งเรื อง, ๒๕๔๖: ๕๕)
ดนตรีไทยในไตรภูมพิ ระร่ วง
ซอพุงตอ สั นนิ ษฐานว่า
คื อ “ซอสามสาย” เป็ น
ซอที่ มี ค ัน ชัก อิ ส ระ ไม่
ติ ด กั บ ตั ว ซอ ลั ก ษณะ
คล้ า ย สะล้ อ ของชาว
ล้านนา และซอมอญ ซอ
คามานเช่ (Kamanchay)
ของเปอร์ เซี ย และ รี บบั
(Rebab) ของอินโดนีเซี ย
และมาเลเซี ย
บัณเฑาะว์ เป็ นเครื่ องดนตรี ประเภท
กลองจากอิ น เดี ย ในประเทศไทย
บัณเฑาะว์ใช้เป็ นเครื่ องให้จังหวะใน
การบรรเลงประกอบ "ขับไม้" โดย
อาจใช้บัณ เฑาะว์ลู ก เดี ย ว หรื อใช้
บัณ เฑาะว์ ๒ ลู ก ไกวพร้ อ มกัน ทั้ง
สองมือ
ดนตรีไทยในไตรภูมพิ ระร่ วง
ตัวอย่าง ข้อความในไตรภูมิพระร่ วงที่กล่าวถึงการบรรเลงเครื่ องดนตรี ต่างๆ ได้แก่
“ดี ดพิ ณ ชื่ อว่ า มหาวีณา มธุ ตร...เป่ ากลองคู่ ๑ ...พิ ณอัน ๑ ชื่ อว่ ามธุ รส...เป่ า
สั งข์ ใหญ่ อัน ๑ ชื่ อว่ าพิชัยสั งขะ…เป่ าสั งข์ อันหนึ่งชื่ อปุถพุ ิมพนะ...ตีกลองหน้ า
เดียว ลูกหนึ่งชื่ อว่ านันทเภรี …ตีกลองหน้ าเดียวลูก ๑ มุขเภรี …ตีกลองใหญ่ อัน
ชื่ อว่ าโกฬธุรสสุ รเภรี …ไกวบัณเฑาะว์ อัน ๑ ชื่ อว่ าโบขรบัณเฑาะว์ …เป่ าปี่ ไฉน
แก้ วเลาหนึ่งชื่ อว่ านันทไฉน…ตีกลองใหญ่ ลูกหนึ่งชื่ อว่ าทัสสโฏส…บัญจางคิ ก
ดุริยางค์ ดุริยนั้นมี ๕ สิ่ งๆ หนึ่งชื่ อว่ าอาตนะ สิ่ งหนึ่งชื่ อว่ าภีตะ สิ่ งหนึ่งชื่ อว่ าค
ตะ สิ่ งหนึ่ งชื่ อว่ านันทะ สิ่ งหนึ่ งชื่ อว่ าศิ ริ กลองใหญ่ ใบ ๑ ชื่ อสุ รันธะสะพาย
หลังบ่ าซ้ าย ๑ แลตี ยังมี กลองใหญ่ ทั้งหลายได้ ๖๘๐,๐๐๐ อั น ๆ เป็ นเพื่ อน
กลองนั้น กลองหน้ าเดียวลูกหนึ่งใหญ่ กลองใหญ่ ลกู ๑ ชื่ อสั สสสุ ระนั้น”
วงดนตรีไทยทีป่ รากฏในสมัยสุโขทัย
วงดนตรีไทยทีป่ รากฏในสมัยสุโขทัย
“วงมโหรีเครื่ องสี่ ” หรื อ “วงขับไม้ บรรเลงพิณ”
ประกอบด้ว ย คนขับ ล าน าและตี ก รั บ พวงให้
จังหวะ ๑ คน สี ซอสามสาย ๑ คน ดี ดกระจับปี่
๑ คน และตีทบั ให้จงั หวะ ๑ คน
“วงขั บ ไม้ ” ถื อ เป็ นวงดนตรี ที่ เ ก่ า แก่ ม ากใน
ประวัติการดนตรี ไทย ประกอบด้วยคนร้องหรื อ
คนขับ ล าน า คนสี ซอสามสาย และคนไกว
บัณเฑาะว์ให้จงั หวะในการบรรเลง เป็ นวงที่ ใช้
ในการขับกล่อม
หน้ าทีข่ องดนตรีไทยในสั งคมสมัยสุ โขทัย
หน้าที่ของดนตรี ไทยในสมัยสุ โขทัย แบ่งได้ ๓ ประเภท คือ
๑. หน้ าที่ประกอบการแสดง ได้แก่ การระบา รา ฟ้ อน เต้น ตัวอย่างข้อความใน
ไตรภูมิพระร่ วงว่า “แลกันฉิ่ งริ งราจับระบาราเต้น” เป็ นต้น
๒. หน้ าที่ขับกล่ อม ได้แก่ การขับ การร้อง ตัวอย่างข้อความว่า “บ้างดีด บ้างสี บ้าง
เป่ า บ้างขับ” และ “ลางจาพวก ดีดพิณแลสี ซอพุงตอ” เป็ นต้น
๓. หน้ าที่ประกอบพิธีการ ได้แก่ การประโคมและการแห่ แหน เช่น “พื้นฆ้องกลอง
แตรสังข์ระฆังกังสดาลมโหระทึ กกึ กก้อง” และ “ฆ้องสองอัน กลองสามอัน
แตรสังข์ เขาควาย แต่งไว้ให้ถวายแก่พระเจ้า” เป็ นต้น