ตัวแปร - e-Learning วิชา พท 311 วิธิวิจัยทางการท่องเที่ยว

Download Report

Transcript ตัวแปร - e-Learning วิชา พท 311 วิธิวิจัยทางการท่องเที่ยว

Slide 1

ตัวแปร สมมุติฐานสาหรับงานวิจัย
และกรอบแนวคิดงานวิจัย
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์


Slide 2

ได้ อะไรวันนี้
1. การตั้งสมมุติฐานงานวิจยั
2. ทราบถึงประเภทของตัวแปรและการวัดตัวแปร
3. กรอบแนวคิดงานวิจยั


Slide 3

เนือ้ หา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.

ตัวแปรและความหมายของตัวแปร
ลักษณะและชนิดของตัวแปร
สมมุติฐานและความหมายของสมมุติฐาน
ประเภทของสมมุติฐาน
วิธีการตั้งสมมุติฐาน
ประโยชน์ของสมมุติฐาน
ตัวแปรกับสมมุติฐาน
กรอบแนวคิดงานวิจยั
กิจกรรมในชั้นเรี ยน


Slide 4


Slide 5

หากต้องการเรี ยน
วิชาวิจยั ทางการท่องเที่ยว
ได้เกรด A
นักศึกษาจะต้องทาอย่างไร??


Slide 6

หากต้องการเรี ยน
วิชาวิจยั ทางการท่องเที่ยว
ได้เกรด A
นักศึกษาจะต้องทาอย่างไร??


Slide 7

ถ้าวันนี้ฝนตกฉันจะไม่มาเรี ยน

ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

7


Slide 8

ถ้าวันนี้ฝนตกฉันจะไม่มาเรี ยน
เหตุการณ์ที่ 1
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

8


Slide 9

ถ้าวันนี้ฝนตกฉันจะไม่มาเรี ยน
เหตุการณ์ที่ 1
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

เหตุการณ์ที่ 2

Variables & Measurement

9


Slide 10

ถ้าวันนี้ฝนตกฉันจะไม่มาเรี ยน
เหตุการณ์ที่ 1
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

เหตุการณ์ที่ 2

Variables & Measurement

10


Slide 11

มาเรี ยนในวันนี้ได้ตอ้ ง……
ฝนตก?

การมา
เรี ยน

มีเงิน?

มีนดั
อื่น?
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

ทะเลาะ
กับแฟน?

Variables & Measurement

11


Slide 12

• การมีเงิน เป็ นตัวแปร ซึ่งนักศึกษาแต่ละคนจะมีจานวนเงินใน
กระเป๋ าไม่เท่ากัน และเปลี่ยนแปลงในแต่ละช่วงเวลาทีค่ นๆ นั้น
ดาเนินชีวติ อยู่
• ฝนตก มีนดั และ การทะเลาะกับแฟน ก็เป็ นตัวแปรเช่นเดียวกัน

ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

12


Slide 13

รายได้ การท่ องเทีย่ วของประเทศ
สมการ

X= AxBxC

เมื่อ
X= รายได้ การท่องเที่ยว
A=จานวนนักท่องเที่ยว
B=วันพักเฉลี่ย
C=ค่าใช้ จ่ายเฉลี่ย/คน/วัน
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

13


Slide 14

ความหมายตัวแปร
vary = ผันแปรเปลี่ยนแปลง
able = สามารถ

Variable = สิ่ งที่สามารถแปรค่าได้
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

14


Slide 15

ความหมายตัวแปร
• ตัวแปรหมาย (variables) ถึง คุณสมบัติหรื อคุณลักษณะของ
สิ่งต่างๆ ซึง่ อาจเป็ นสิ่งมีชีวิตหรื อไม่มีชีวิตก็ได้ เช่น อายุ เพ

ที่มา : พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2531. วิธีการวิจยั ทางพฤติกรรม าสตร์ และ
สังคม าสตร์ . ฉบับที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์และทาปกเจริญผล. หน้ า 47

ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

15


Slide 16

ตัวแปรและความหมายของตัวแปร
• ตัวแปร (Variables) หมายถึง คุณสมบัติหรื อคุณลักษณะ
ของสิ่ งต่างๆ ซึ่ งอาจเป็ นสิ่ งมีชีวติ หรื อไม่มีชีวติ ก็ได้
ที่แปรผันได้
• เช่น อายุ เพศ ขนาดห้องเรี ยน


Slide 17

ตัวแปรในงานวิจัย
ตัวแปรเป็ นสิ่ งที่จะต้องวัดได้ ควบคุมได้ หรื อ จัดการได้
เช่น
ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริ การ…..

ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

17


Slide 18

ความสั มพันธ์ ของตัวแปร
• ตัวแปรต่างๆ จะมีความสัมพันธ์กนั ในเรื่ องต่างๆ ด้วยข้อตกลง
พื้นฐานในธรรมชาติที่วา่ ทุกสิ่ งทุกอย่างที่เกิดขึ้นในโลกจะมี
ความเป็ นเหตุ เป็ นผลซึ่ งกันและกัน เช่น
– คนเป็ นไข้เลือดออก มีสาเหตุเกิดมาจากถูกยุงลายกัด
– จานวนวันพักของนักท่องเที่ยวขึ้นอยูก่ บั จานวนเงินใน
กระเป๋ า
– ??
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

18


Slide 19

ตัวอย่ าง
เหตุผลในการเลือกพักโฮมสเตย์ กบั ตัวแปรต่ างๆ
• สัญชาติ พบว่าไม่มีความสัมพันธ์กบั การเลือกพักโฮมสเตย์
• อายุ พบว่ามีความสัมพันธ์ดว้ ยเหตุผลเรื่ องค่าใช้จ่าย ระยะทาง สิ่ งอานวย
ความสะดวก และมีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง
• เพศ พบว่ามีความสัมพันธ์ดว้ ยเหตุผลเรื่ องต้องการเรี ยนรู ้ชวี ิต มีความ
ปลอดภัยในชีวิต
• ระดับการศึกษา พบว่ามีความสัมพันธ์ดว้ ยเหตุผล มีรายการตรงกับความ
ต้องการ อยากศึกษาวัฒนธรรม
อ้ างอิง : รัตนภรณ์ มหาศรานนท์. 2546. การวิเคราะห์ความต้องการของนักท่องเที่ยวต่อการจัด
โฮมสเตย์ในประเทศไทย. กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

19


Slide 20

ประเภทของตัวแปร
• พิจารณาคุณสมบัตขิ องค่ าทีแ่ ปรออกมา
– ตัวแปรเชิงปริมาณ(Quantitative Variables) เป็ นตัวแปรที่แตกต่าง
กันในระหว่างพวกเดียวกันหรื อค่าที่แปรออกมาแตกต่างกันออกไป
ตามความถี่จานวนปริ มาณมากน้อยหรื อลาดับที่ เช่น ค่าใช้จ่ายของ
นักท่องเที่ยว
– ตัวแปรเชิงคุณภาพ (Qualitative Variables) เป็ นตัวแปร ที่มี
คุณสมบัติแตกต่างกันในแง่ของชนิดหรื อประเภทโดยใช้ชื่อเป็ น
ภาษาที่แสดงถึงคุณลักษณะของสิ่ งต่าง ๆ ในพวกนั้น
เช่น อาชีพ เพศ ภูมิลาเนา (ในเมือง ชนบท)
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

20


Slide 21

ตัวแปรเชิงปริมาณ ตัวแปรเชิงคุณภาพ
ความสูง
การศึกษา
การนับถือศาสนา
น้ าหนัก
รายได้
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

21


Slide 22

ประเภทของตัวแปร
• พิจารณาความต่ อเนื่องตามธรรมชาติของตัวแปร
– ตัวแปรค่าต่อเนื่อง (Continuous Variables) เป็ นตัวแปรที่มีค่า
ต่อเนื่องกันตลอด เช่น ส่ วนสูงน้ าหนัก คะแนนสอบ เป็ นต้น ค่าของ
ตัวแปรเหล่านี้ไม่จาเป็ นต้องเป็ นเลขเต็มหน่วยพอดีอาจเป็ นทศนิยม
หรื อเป็ นเศษส่ วนได้
– ตัวแปรค่าไม่ต่อเนื่อง(Discrete Variables) ตัวแปรประเภทนี้มีค่า
เฉพาะตัวของมัน แยกออกจากกันเด็ดขาดวัดค่าเป็ นจานวนเต็ม เช่น
จานวนหนังสื อ เพศ (ชายแทนด้วย 0, หญิงแทนด้วย 1) เป็ นต้น
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

22


Slide 23

ตัวแปรต่ อเนื่อง ตัวแปรไม่ ต่อเนื่อง
ความสูง
การศึกษา
การนับถือศาสนา
น้ าหนัก
รายได้
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

23


Slide 24

ประเภทของตัวแปร
• พิจารณาตามลักษณะของตัวแปร
– ตัวแปร Concept หมายถึงตัวแปรที่แสดงความหมายในลักษณะ
เฉพาะตัวบุคคล คนทัว่ ไปอาจรับรู ้ได้ตรงกัน มีลกั ษณะเป็ นรู ปธรรม
เช่น เพศ อายุ ความสูง
– ตัวแปร Construct หมายถึงตัวแปรที่แสดงความหมายใน
ลักษณะเฉพาะของบุคคล คนทัว่ ไปอาจรับรู ้ได้ตรงกันหรื อไม่ตรงกัน
ก็ได้ มักเป็ นนามธรรม เช่น ทัศนคติ ความกลัว ความเกรงใจ
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

24


Slide 25

ตัวแปร Concept ตัวแปร Construct
ความรัก
เพศ
การศึกษา
ความพึงพอใจ

ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

25


Slide 26

ประเภทของตัวแปร
• พิจารณาตามชนิดของตัวแปร
– ตัวแปรต้น หรื อตัวแปรอิสระ (independent variable) หมายถึงตัวแปรที่เกิดขึ้น
ก่อน และเป็ นตัวต้นเหตุของผลที่จะเกิดตามมา
– ตัวแปรตาม (dependent variable) หมายถึงตัวแปรที่เกิดขึ้นเนื่องจากตัวแปร
อิสระ
– ตัวแปรแทรกซ้อนหรื อตัวแปรเกิน (extraneous variable) เป็ นตัวแปรที่ไม่
ต้องการศึกษาในขณะนั้น แต่จะส่ งผลรบกวนทาให้ผลการวิจยั ผิดพลาดหรื อ
คลาดเคลื่อนได้ จึงต้องทาการควบคุมให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด
– ตัวแปรสอดแทรก (intervening variable) เป็ นตัวแปรที่ส่งผลกระทบต่อตัวแปร
ตาม ซึ่ งผูว้ จิ ยั ไม่ทราบล่วงหน้า จึงไม่สามารถควบคุมได้
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

26


Slide 27

ให้พิจารณาจากข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม

• ผูห้ ญิง ผูช้ ายมีความคิดแตกต่างกัน ??
• เรี ยนไม่ดีทาให้คะแนนตก
• ฝนตก ฟ้ าร้อง


Slide 28

ความสั มพันธ์ ของชนิดของตัวแปร

ต้ น

ตาม

เกิน
ควบคุม
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

แทรก
Variables & Measurement

28


Slide 29

มาเรี ยนในวันนี้ได้ตอ้ ง……
ฝนตก?

การมา
เรี ยน

มีเงิน?

มีนดั
อื่น?
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

ทะเลาะ
กับแฟน?

Variables & Measurement

29


Slide 30

มาเรี ยนในวันนี้ได้ตอ้ ง……

รถเสี ย

ฝนตก?

การมา
เรี ยน

มีเงิน?

มีนดั
อื่น?
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

ทะเลาะ
กับแฟน?

Variables & Measurement

30


Slide 31

ตัวอย่ าง
• เจตคติและความประทับใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่
ได้มาเยือนประเทศไทย
ตัวแปรต้ น








ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

ตัวแปรตาม

เพศ
อายุ
ระดับการศึกษา
สถานภาพสมรส
อาชีพ
รายได้
….

เจตคติและความประทับใจใน
เรื่ องต่างๆ เช่น
• วัฒนธรรม
• แหล่งท่องเที่ยว
• อาหาร
• การซื้ อสิ นค้าและ
บริ การ

Variables & Measurement

31


Slide 32

สมมุตฐิ านงานวิจัย


Slide 33

สมมุตฐิ านและความหมายของสมมุตฐิ าน
• สมมุติฐาน (Hypothesis) คือคาตอบที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่าง
สมเหตุสมผล ต่อปัญหาที่ศึกษา
• การเขียนจะเขียนถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
• คาตอบอาจถูกต้อง หรื อไม่ ก็ได้
• ต้องมีการทดสอบโดยอาศัยวิธีการทางสถิติ

ผูห้ ญิง ผูช้ ายมีความคิดแตกต่างกัน ??


Slide 34

ถ้าวันนี้ฝนตกฉันจะไม่มาเรี ยน

ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

34


Slide 35

ถ้าวันนี้ฝนตกฉันจะไม่มาเรี ยน
เหตุการณ์ที่ 1
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

35


Slide 36

ถ้าวันนี้ฝนตกฉันจะไม่มาเรี ยน
เหตุการณ์ที่ 1
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

เหตุการณ์ที่ 2

Variables & Measurement

36


Slide 37

ถ้าวันนี้ฝนตกฉันจะไม่มาเรี ยน
เหตุการณ์ที่ 1
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

เหตุการณ์ที่ 2

Variables & Measurement

37


Slide 38

ตัวอย่ างสมมุตฐิ าน
ความคิดสร้างสรรค์กบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
มีความสัมพันธ์กนั ทางบวก
ตัวแปรตัวที่ 1 : ความคิดสร้างสรรค์
ตัวแปรตัวที่ 2 : ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
ความสัมพันธ์ของตัวแปร : สัมพันธ์กนั ทางบวก


Slide 39

ตัวอย่ างสมมุตฐิ าน
เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูแบบเข็มงวดมีวนิ ยั ในตนเอง
มากกว่าเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย
ตัวแปรตัวที่ 1 : การอบรมเลี้ยงดู
ตัวแปรตัวที่ 2 : การมีวินยั ในตนเอง
ความสัมพันธ์ของตัวแปร : เปรี ยบเทียบมากกว่า


Slide 40

ประเภทของสมมุตฐิ าน
สมมุติฐานแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. สมมุติฐานทางวิจยั (research hypothesis) จะใช้การเขียนด้วยข้อความ
เป็ นสื่ อในการอธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปร
แบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ
1.
2.

แบบมีทิศทาง (Directional hypothesis) สามารถระบุทิศทางได้ชดั เจน เช่น
มากกว่า น้อยกว่า ดีกว่า เลวกว่า สู งกว่า ต่ากว่า
แบบไม่มีทิศทาง (Nondirectional hypothesis) เขียนโดยไม่ระบุทิศทางเช่น
ไม่แตกต่าง ไม่เท่ากับ


Slide 41

ประเภทของสมมุตฐิ าน
2.

สมมุติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis) จะใช้การเขียนด้วยรู ป
โครงสร้างทางคณิ ตศาสตร์แทนข้อความ คือ
1. สมมุติฐานเป็ นกลาง (null hypothesis) แทนด้วยสัญญาลักษณ์ Ho หมายถึง
ตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์กนั หรื อ ไม่แตกต่างกัน
2. สมมุติฐานไม่เป็ นกลาง (alternative hypothesis) แทนด้วยสัญญา
ลักษณ์ H1 เขียนแทนความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยระบุทิศทาง
ด้วย


Slide 42

ประเภทของสมมุตฐิ าน


Slide 43

วิธีการตั้งสมมุตฐิ าน
• ต้องดูจุดมุ่งหมายของงานวิจยั ก่อน
• ต้องกาหนดว่าจะเป็ นแบบมีทิศทางหรื อไม่มีทิศทาง
• ในหัวข้อวิจยั 1 เรื่ องอาจมีหลายสมมุติฐานก็ได้


Slide 44

ตัวอย่ างสมมุตฐิ าน-เดิม
เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูแบบเข็มงวดมีวินยั ในตนเองมากกว่าเด็กที่ได้รับการ
เลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย

u1 : วินยั ในตนเองจากการอบรมเลี้ยงดูแบบเข็มงวด
u2 : วินยั ในตนเองจากการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อย


Slide 45

ตัวอย่ างสมมุตฐิ าน-เดิม
เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูแบบเข็มงวดมีวินยั ในตนเองน้อยกว่าเด็กที่ได้รับการ
เลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย

u1 : วินยั ในตนเองจากการอบรมเลี้ยงดูแบบเข็มงวด
u2 : วินยั ในตนเองจากการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อย


Slide 46

ตัวอย่ างสมมุตฐิ าน-เดิม
เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูแบบเข็มงวดและเด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูแบบปล่อยปละ
ละเลยมีวินยั ในตนเองแตกต่างกัน

u1 : วินยั ในตนเองจากการอบรมเลี้ยงดูแบบเข็มงวด
u2 : วินยั ในตนเองจากการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อย


Slide 47

ตัวอย่ างที่ 2
นักศึกษาคณะพัฒนาการท่องเที่ยว
เรี ยนภาษาอังกฤษเก่งกว่านักศึกษาคณะอื่นๆ


Slide 48

ตัวอย่ างที่ 2
นักศึกษาคณะพัฒนาการท่องเที่ยว
เรี ยนภาษาอังกฤษอ่อนกว่านักศึกษาคณะอื่นๆ


Slide 49

ตัวอย่ างที่ 2
นักศึกษาคณะพัฒนาการท่องเที่ยวและนักศึกษาคณะอื่นๆ
เรี ยนภาษาอังกฤษไม่แตกต่างกันเลย


Slide 50

ประโยชน์ ของสมมุตฐิ าน





ช่วยบอกขอบเขตของปัญหา
ช่วยเป็ นทางทางในการวางแผนการวิจยั
ช่วยให้นกั วิจยั มีความคิดกระจ่างในเรื่ องที่ทาวิจยั
เป็ นแนวทางในการสรุ ป


Slide 51

กิจกรรมในชั้นเรียน

ให้บอกตัวแปรต้นและตัวแปรตาม
และตั้งสมมุติฐานต่อไปนี้


Slide 52

กิจกรรมในชั้นเรียน
นักเรี ยนชายสนใจข่าวดาราน้อยกว่านักเรี ยนหญิง


Slide 53

กิจกรรมในชั้นเรียน
คนจีนมีความสามารถในการค้ามากกว่าคนไทย


Slide 54

กิจกรรมในชั้นเรียน
เด็กที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูต่างกันมีการปรับตัวต่างกัน


Slide 55

กิจกรรมในชั้นเรียน
ระดับการศึกษากับประสิ ทธิภาพในการทางานมี
ความสัมพันธ์กนั ทางบวก


Slide 56

กรอบแนวคิดงานวิจัย


Slide 57

การสร้ างกรอบความคิด









ความหมาย
ที่มาของกรอบแนวคิด
หลักในการเลือกกรอบแนวคิด
วิธีการสร้างกรอบแนวคิด
วิธีการเขียนกรอบแนวคิด
ประโยชน์ของกรอบแนวคิด
สรุ ป
ตัวอย่าง


Slide 58

ความหมายของกรอบความคิด
• กรอบแนวคิดคือการประมวลความคิดรวบยอดของงานวิจยั ว่า
งานวิจยั ที่กาลังทาอยูน่ ้ ี มีตวั แปรอะไรที่เกีย่ วข้องบ้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาเป็ นอย่างไร อะไรเป็ นตัว
แปรอิสระ อะไรเป็ นตัวแปรตาม


Slide 59

ที่มาของกรอบแนวคิด
การกาหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั ผูว้ ิจยั จะต้องกาหนด
กรอบความคิด หลักการ ทฤษฎีของการวิจยั ของตนว่าเป็ น
อย่างไร ปัญหาที่ตนต้องการศึกษานั้นตั้งอยูบ่ นทฤษฎี
ใดบ้าง โดยอาศัยแนวคิดที่ได้มาจากการศึกษาเอกสารและ
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

1. จากทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2. จากผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
3. จากความคิดของผูว้ ิจยั


Slide 60

• จากทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง การศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
นอกจากจะชี้ให้เห็นถึงตัวแปรใดสาคัญและมี
ความสัมพันธ์กนั อย่างไรแล้ว ยังทาให้กรอบแนวคิดใน
การวิจยั มีแนวทางที่ชดั เจนและมีเหตุผล


Slide 61

• จากผลงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง หมายถึงงานวิจยั ที่ผอู ้ ื่นได้ทามาแล้ว
มีประเด็นตรงกับประเด็นที่
เราต้องการศึกษา หรื อมีเนื้อหา หรื อตัวแปรบางตัวที่ตอ้ งการ
ศึกษารวมอยูด่ ว้ ย


Slide 62

• จากความคิดของผู้วจิ ัยที่สงั เคราะห์ข้ ึนเอง นอกจากการศึกษา
ผลงานวิจยั และทฤษฎีต่างๆที่
เกี่ยวข้องแล้ว กรอบแนวคิดยังจะได้มาจากความคิดและ
ประสบการณ์การทางานของผูว้ ิจยั เองอีกด้วย


Slide 63

หลักในการเลือกกรอบแนวคิด
1.
2.
3.
4.

ความตรงประเด็น
ความง่ายและไม่ซบั ซ้อน
ความสอดคล้องกับความสนใจ
ความมีประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิการพยาบาล


Slide 64

วิธีการสร้ างกรอบแนวคิด
• การสร้างกรอบแนวคิด เป็ นการสรุ ปโดยภาพรวมว่างานวิจยั นั้นมีแนวคิด
ที่สาคัญอะไรบ้าง มีการเชื่อมโยงเกี่ยวข้องกันอย่างไร มีความสัมพันธ์กนั
อย่างไร บางที่เรี ยกว่า รู ปแบบ หรื อตัวแบบ(model)
• วิธีการสร้ างกรอบแนวคิด กระทาได้ 2 ลักษณะ คือ
1. โดยการสรุ ปประเด็นต่างๆ จากข้อมูลที่ผวู ้ ิจยั ได้ศึกษาจากเอกสารและ
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้องให้กระจ่าง
2. กาหนดจากกรอบทฤษฎีที่มีใช้ เป็ นส่ วนสาคัญในการศึกษาวิจยั ใน
ขอบเขตของเอกสารและงานวิจยั ที่ได้ศึกษา


Slide 65

วิธีการเขียนกรอบแนวคิด
การเขียนทาได้ 3 ลักษณะ คือ
1. เขียนแบบบรรยายต่อเนื่องกันโดยไม่แยกหัวข้อ ความยาวของ
การเขียนประมาณ 1 หน้ากระดาษ
2. เขียนเป็ น แผนภูมิ แสดงความสัมพันธ์และทิศทางระหว่างตัว
แปรที่ศึกษา หรื อ
3. เขียนเป็ นแผนภูมิประกอบคาบรรยายเพื่อให้เห็นภาพชัดเจน
ขึ้น ถ้ามีตวั แปรหลายตัว หรื อตัวแปรมีความสัมพันธ์
สลับซับซ้อน


Slide 66

ตัวอย่ าง
รูปแบบการใช้ งานที่
เหมาะสมของเครื่ องมือที่
ให้ บริการฟรี ใน
อินเตอร์ เน็ต
•web blog
•space
•e-mail
•face book, twitter
•etc.

การส่งเสริ มการตลาดของธุรกิจ
ท่องเที่ยวขนาดเล็กใน
อินเตอร์ เน็ต
ความพึงพอใจของผู้ใช้ งาน

ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว


Slide 67

ตัวอย่ าง
ปัจจัยส่ วนบุคคล

ระดับการตัดสิ นใจ

- เพศ

- ผลิตภัณฑ์

- อายุ

- ด้านราคา

- การศึกษา

- ช่องทางการจัดจาหน่าย

- อาชีพ

ปัจจัยแวดล้อมการใช้ เหตุผล

- ส่ งเสริ มการตลาด

- รายได้

-เหตุผลที่ท่านมาจองสิ ทธิ์

- ทาเลที่ต้ งั

- สถานภาพสมรส

- การผ่อนส่งได้มากที่สุด

- การคมนาคม

- สมาชิกในครอบครัว

- ที่อยูอ่ าศัย

- ทราบข่าวโครงการ

- ความรู้เกี่ยวกับโครงการ
- ประเภทบ้านเอื้ออาทร

- สาธารณูปโภค

- การให้สิทธิการเช่าซื้ อ


Slide 68

บทสรุป

ตัวอย่ าง

สิ นค้าท่องเที่ยวเป็ นสิ นค้าที่….การทาธุรกิจท่องเที่ยวจึงเปลี่ยน
รู ปแบบเป็ นการนาเอา อิเลคทรอนิกส์มาใช้มากกยิง่ ขึ้นที่เรี ยกว่า etourism
จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นจังหวัด…..ดังนั้นการศึกษาเรื่ อง รู ปแบบ
การใช้อิเลคทรอนิกส์เพื่อการท่องเที่ยว (e - Tourism) ของภาค
ธุรกิจการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ จะทาให้ทราบข้อมูลเบื้องต้นในการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร (ICT) เพื่อบริ หารจัดการและ
การประชาสัมพันธ์ของภาคธุรกิจการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่ ในการ
ช่วยผลักดันให้เกิดประสิ ทธิภาพเชิงการประชาสัมพันธ์และส่ งเสริ มการ
ท่องเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่ และประเทศไทยได้เพิ่มมากขึ้น


Slide 69

ประโยชน์ ของกรอบแนวคิด
1. สามารถเข้าใจแนวคิดสาคัญที่แสดงถึงแก่นของปัญหา
การศึกษาในระยะเวลาอันสั้น
2. เป็ นตัวชี้นาทาให้ผวู ้ ิจยั เกิดความมัน่ ใจว่างานวิจยั เป็ นไปใน
แนวทางที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
3. สร้างความชัดเจนในงานวิจยั ว่าจะสามารถตอบคาถามที่ศึกษา
ได้
4. เป็ นแนวทางในการกาหนดความหมายตัวแปร การสร้าง
เครื่ องมือ และการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจยั
5. สามารถเชื่อมโยงไปสู่การกาหนดกรอบทิศทางการทาวิจยั ได้
เหมาะสม ถูกต้อง โดยเฉพาะวิเคราะห์ขอ้ มูล


Slide 70

งานกล่ ุม
แบ่งกลุ่มออกเป็ น 3 กลุ่มๆ ละ 5 คน ให้นาโจทย์ตวั อย่างงานวิจยั ที่
ได้รับไปศึกษาเรื่ องตัวแปร และการวัด แล้วนามาอภิปราย
1.กระบวนการตัดสิ นใจเลือกสถานที่พกั ของนักท่องเที่ยวชาว
ต่างประเทศ
2.การบริ โภคอาหารนอกบ้านของครัวเรื อนผูบ้ ริ โภคในเขตเมือง
เชียงใหม่
3.การมีส่วนร่ วมของชุมชนในการฟื้ นฟูแหล่งท่องเที่ยวเวียงกุม
กาม อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
ดร.ไพศาล กาญจนวงศ์

Variables & Measurement

70