บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง ประวัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ ไทย จัดทาโดย นางสาวพวงชมภู สิ งหชงค์ โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง จ.สุ โขทัย.

Download Report

Transcript บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง ประวัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ ไทย จัดทาโดย นางสาวพวงชมภู สิ งหชงค์ โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง จ.สุ โขทัย.

บทเรียนคอมพิวเตอร ์ช่วยสอน
่ ประวัติความเป็ นมาของ
เรือง
นาฏศิลป์ ไทย
จัดทาโดย
นางสาวพวงชมภู สิงหชงค ์
โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง จ.สุโขทัย
ตัวชีว้ ัด
่ ฒนานาฏศิลป์
1. ใช ้ทักษะการแสวงหาความรู ้ เพือพั
ไทยให ้คงอยู่ตอ
่ ไป
้
2. มีทก
ั ษะพืนฐานที
จ่ าเป็ นสามารถนาไปเผยแผ่ให ้
คนรุน
่ หลังได ้เรียนรู ้
สาระสาคัญ
่ มาแต่ช ้านาน
นาฏศิลป์ ไทยเป็ นเอกลักษณ์ของไทยทีมี
่ บไซต ์นี ได
้ ้แบ่งสาระสาคัญของนาฏศิลป์ ไทย ดังนี ้ บอก
ซึงเว็
่
ทีมาและความส
าคัญของนาฏศิลป์ ไทยและประเภทของ
นาฏศิลป์ ไทย นอกจากนี ้ ยังอธิบายถึงวิธก
ี ารไหว ้ครูซงเป็
ึ่ น
่
วิธก
ี ารทีแสดงถึ
งความเคารพครูบาอาจารย ์
จุดประสงค ์การเรียนรู ้
่
อธิบายเกียวกั
บการจาแนกประเภทต่าง ๆ ของ
นาฏศิลป์ ไทยให ้รู ้
่ น้
และเข ้าใจมากยิงขึ
จุดประสงค ์นาทาง
1. บอกความหมาย ความสาคัญและประวัตค
ิ วาม
เป็ นมาของนาฏศิลป์ ไทย
2. จาแนกประเภทของนาฏศิลป์ ได ้ถูกต ้อง
นาฏศิลป์ เป็ นศิลปะแห่งการละคร ฟ้ อนรา และดนตรี
อันมีคณ
ุ สมบัตต
ิ ามคัมภีร ์นาฏะหรือนาฏยะ กาหนดว่า ต ้อง
ประกอบไปด ้วย
ศิลปะ 3 ประการ คือ
การฟ้อนรา การดนตรี และการขับร ้อง รวมเข ้า
่ ง้ 3 สิงนี
่ เป็
้ นอุปนิ สยั ของคนมาแต่ดก
ด ้วยกัน ซึงทั
ึ ดาบรรพ ์
้
นาฏศิลป์ ไทยมีทมาและเกิ
ี่
ดขึนจากสาเหตุ
ตามแนวคิดต่าง ๆ
เช่น เกิดจากความรู ้สึกกระทบกระเทือนทางอารมณ์ ไม่ว่าจะ
อารมณ์แห่งความสุข หรือความทุกข ์ แล ้วสะท ้อนออกมาเป็ น
้ นท่าทางลีลาการ
ท่าทางแบบธรรมชาติและประดิษฐ ์ขึนเป็
่
่ กดิสิ์ ทธิ ์
ฟ้ อนรา หรือเกิดจากลัทธิความเชือในการนั
บถือสิงศั
เทพเจ ้า โดยแสดงความเคารพบูชาด ้วยการเต ้นรา ขับร ้อง
ฟ้ อนราให ้เกิดความพึงพอใจ เป็ นต ้น
นอกจากนี ้ นาฏศิลป์ ไทย ยังได ้ร ับอิทธิพลแบบแผนตาม
แนวคิดจากต่างชาติเข ้ามาผสมผสานด ้วย เช่น วัฒนธรรม
่
่ นเรืองของเทพเจ
่
อินเดียเกียวกั
บวัฒนธรรมทีเป็
้า และตานาน
้
การฟ้ อนรา โดยผ่านเข ้าสูป
่ ระเทศไทย ทังทางตรงและ
่ ามา
ทางอ ้อม คือ ผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนทีจะน
ปร ับปรุงให ้เป็ นรูปแบบตามเอกลักษณ์ของไทย เช่น ตัวอย่าง
่ ้างเป็ นท่าการร่ายราของ
ของเทวรูปศิวะปางนาฏราช ทีสร
้ั
่ ทงหมด
พระอิศวร ซึงมี
108 ท่า หรือ 108 กรณะ โดยทรง
้ั
ฟ้ อนราครงแรกในโลก
ณ ตาบลจิทร ัมพร ัม เมืองมัทราส
อินเดียใต ้ ปัจจุบน
ั อยู่ในร ัฐทมิฬนาดู นับเป็ นคัมภีร ์สาหร ับ
การฟ้ อนรา แต่งโดยพระภรตมุนี เรียกว่า คัมภีร ์ภรตนาฏ
ศาสตร ์
ถือเป็ นอิทธิพลสาคัญต่อแบบแผนการสืบสาน และการ
้ นเอกลักษณ์ของ
ถ่ายทอดนาฏศิลป์ ของไทยจนเกิดขึนเป็
่ รป
ู แบบ แบบแผนการเรียน การฝึ กหัด จารีต
ตนเองทีมี
ขนบธรรมเนี ยม มาจนถึงปัจจุบน
ั อย่างไรก็ตาม บรรดา
่
่ กษาทางด ้านนาฏศิลป์ ไทยได ้สันนิ ษฐานว่า
ผูเ้ ชียวชาญที
ศึ
อารยธรรมทางศิลปะด ้านนาฏศิลป์ ของอินเดียนี ้ ได ้เผยแพร่
้
เข้ามาสู ป
่ ระเทศไทยตังแต่
สมัยกรุงศรีอยุทธยาตาม
่ ้างขึนในปี
้
ประวัตก
ิ ารสร ้างเทวาลัยศิวะนาฎราชทีสร
พ.ศ.
่ นระทีไทยเริ
่
่ อตังกรุ
้ งสุโขทัย ดังนั้นทีร่ าไทยที่
1800 ซึงเป็
มก่
้ั
ดัดแปลงมาจากอินเดียในครงแรกจึ
งเป็ นความคิดของ
นักปราชญ ์ในสมัยกรุงศรีอยุทธยา และมีการแก ้ไขปร ับปรุง
้
หรือประดิษฐ ์ขึนใหม่
ในสมัยกรุงร ัตนโกสินทร ์ จนนามาสูก
่ าร
้
ประดิษฐ ์ขึนใหม่
ในสมัยกรุงร ัตนโกสินทร ์จนนามาสูก
่ าร
่ ษย ์ได ้ปรุงแต่งจากลีลา
นาฏศิลป์ คือ การร่ายราทีมนุ
ตามธรรมชาติให ้สวยสดงดงาม โดยมีดนตรีเป็ นองค ์ประกอบ
ในการร่ายรา นาฏศิลป์ ของไทย แบ่งออกตามลักษณะของ
รูปแบบการแสดงเป็ นประเภทใหญ่ ๆ 4 ประเภท คือ
่
้ งของไทยทีมี
1. โขน เป็ นการแสดงนาฏศิลป์ ชันสู
่ ยกว่า หัวโขน และ
เอกลักษณ์ คือ ผูแ้ สดงจะต ้องสวมหัวทีเรี
ใช ้ลีลาท่าทางการแสดงด ้วยการเต ้นไปตามบทพากย ์ การ
่
เจรจาของผูพ
้ ากย ์และตามทานองเพลงหน้าพาทย ์ทีบรรเลง
่ นิ
่ ยมนามาแสดง คือ พระราชนิ พนธ ์บท
ด ้วยวงปี่ พาทย ์ เรืองที
่
่
ละครเรืองรามเกี
ยรติ ์ แต่งการเลียนแบบเครืองทรงของ
่ นเครืองต
่
พระมหากษัตริย ์ทีเป็
้น เรียกว่าการแต่งกายแบบ
่ มีจารีตขันตอนการแสดงที
่ นแบบแผน นิ ยมจัด
่
้
อง”
เป็
“ยืนเครื
แสดงเฉพาะพิธสี าคัญได ้แก่ งานพระราชพิธต
ี า่ ง ๆ
่
่ นเป็ นเรืองราว
2. ละคร เป็ นศิลปะการร่ายราทีเล่
มี
พัฒนาการมาจากการเล่านิ ทาน ละครมีเอกลักษณ์ในการ
่
แสดงและการดาเนิ นเรืองด
้วยกระบวนลีลาท่ารา เข ้าบทร ้อง
่
ทานองเพลงและเพลงหน้าพาทย ์ทีบรรเลงด
้วยวงปี่ พาทย ์มี
่ นทังของชาวบ
้
แบบแผนการเล่นทีเป็
้านและของหลวงที่
่ นิ
่ ยม
เรียกว่า ละครโนราชาตรี ละครนอก ละครใน เรืองที
นามาแสดงคือ พระสุธน สังข ์ทอง คาวี อิเหนา อุณรุท
้
่ ับปรุงขึนใหม่
้ งมีละครทีปร
อก
ี หลายชนิ ด การแต่ง
นอกจากนี ยั
่
กายของละครจะเลียนแบบเครืองทรงของพระมหากษั
ตริย ์
่ นิ ยมเล่นในงานพิธส
เรียกว่า การแต่งการแบยืนเครือง
ี าคัญ
และงานพระราชพิธข
ี องพระมหากษัตริย ์
3. รา และ ระบา เป็ นศิลปะแห่งการร่ายราประกอบ
่
่ ้
เพลงดนตรีและบทขับร ้อง โดยไม่เล่นเป็ นเรืองราว
ในทีนี
่ ลก
หมายถึงราและระบาทีมี
ั ษณะเป็ นการแสดงแบบมาตรฐาน
่ ความหมายทีจะอธิ
่
ซึงมี
บายได ้พอสังเขป ดังนี ้
่ ผูแ้ สดง
3.1 รา หมายถึง ศิลปะแห่งการรายราทีมี
้
่ การราคู่ การราอาวุธ เป็ น
ตังแต่
1-2 คน เช่น การราเดียว
ต ้น มีลก
ั ษณะการแต่งการตามรูปแบบของการแสดง ไม่เล่น
่
เป็ นเรืองราวอาจมี
บทขับร ้องประกอบการราเข ้ากับทานอง
เพลงดนตรี มีกระบวนท่ารา โดยเฉพาะการราคูจ
่ ะต่างกับ
่
ระบา เนื่ องจากท่าราจะมีความเชือมโยงสอดคล
้องต่อเนื่ องกัน
และเป็ นบทเฉพาะสาหร ับผูแ้ สดงนั้น ๆ เช่น ราเพลงช ้าเพลง
เร็ว ราแม่บท ราเมขลา –รามสูร เป็ นต ้น
่ ผูเ้ ล่นตังแต่
3.2 ระบา หมายถึง ศิลปะแห่งการร่ายราทีมี
้
2 คนขึนไป
มีลก
ั ษณะการแต่งการคล ้ายคลึงกัน กระบวนท่า
่
รายราคล ้าคลึงกัน ไม่เล่นเป็ นเรืองราว
อาจมีบทขับร ้อง
่
าแบบมาตรฐาน
ประกอบการราเข ้าทานองเพลงดนตรี ซึงระบ
่
มักบรรเลงด ้วยวงปี่ พาทย ์ การแต่งการนิ ยมแต่งกายยืนเครือง
่ ระบา
พระนาง-หรือแต่งแบบนางในราชสานัก เช่น ระบาสีบท
กฤดาภินิหาร ระบาฉิ่ งเป็ นต ้น
้
่ ทง้ั
4. การแสดงพืนเมื
อง เป็ นศิลปะแห่งการร่ายราทีมี
่ นเอกลักษณ์ของกลุม
รา ระบา หรือการละเล่นทีเป็
่ ชนตาม
่
วัฒนธรรมในแต่ละภูมภ
ิ าค ซึงสามารถแบ่
งออกเป็ นภูมภ
ิ าค
ได ้ 4 ภาค ดังนี ้
้
4.1 การแสดงพืนเมื
องภาคเหนื อ เป็ นศิลปะการ
่ ยมเรียกกันทัวไปว่
่
รา และการละเล่น หรือทีนิ
า “ฟ้ อน” การ
ฟ้ อนเป็ นวัฒนธรรมของชาวล ้านนา และกลุม
่ ชนเผ่าต่าง ๆ
เช่น ชาวไต ชาวลือ้ ชาวยอง ชาวเขิน เป็ นต ้น ลักษณะของ
้ ม และแบบทีปร
่ ับปรุง
การฟ้ อน แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ แบบดังเดิ
้
ขึนใหม่
แต่ยงั คงมีการร ักษาเอกลักษณ์ทางการแสดงไว ้คือ มี
่ มช ้า อ่อนช ้อยมีการแต่งกายตามวัฒนธรรม
ลีลาท่าราทีแช่
่ สวยงามประกอบกั
่
ท ้องถินที
บการบรรเลงและขับร ้องด ้วยวง
ดนตรีพนบ
ื ้ ้าน เช่น วงสะล ้อ ซอ ซึง วงปูเจ่ วงกลองแอว เป็ น
่
ต ้น โอกาสทีแสดงมั
กเล่นกันในงานประเพณี หรือต ้นร ับแขก
บ ้านแขกเมือง ได ้แก่ ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนเทียน ฟ้ อนคร ัวทาน
้
4.2 การแสดงพืนเมื
องภาคกลาง เป็ นศิลปะการร่าย
้ ้านภาคกลาง ซึงส่
่ วนใหญ่
ราและการละเล่นของชนชาวพืนบ
่
มีอาชีพเกียวกั
บเกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความ
่
นเทิงสนุ กสนาน เป็ น
สอดคล ้องกับวิถช
ี วี ต
ิ และเพือความบั
่
การพักผ่อนหย่อนใจจากการทางาน หรือเมือเสร็
จจากเทศ
่ เช่น การเล่นเพลงเกียวข
่
การฤดูเก็บเก็บเกียว
้าว เต ้นการา
เคียว ราโทนหรือราวง ราเถิดเทอง รากลองยาว เป็ นต ้น มี
่ และใช ้เครืองดนตรี
่
การแต่งกายตามวัฒนธรรมของท ้องถิน
้ ้าน เช่น กลองยาว กลองโทน ฉิ่ ง ฉาบ กร ับ และโหม่ง
พืนบ
้
4.3 การแสดงพืนเมื
องภาคอีสาน เป็ นศิลปะการรา
้ ้านภาคอีสาน หรือ ภาค
และการเล่นของชาวพืนบ
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อของไทย แบ่งได ้เป็ น 2 กลุม
่ วัฒนธรรม
่ กเรียก
ใหญ่ ๆ คือ กลุม
่ อีสานเหนื อ มีวฒ
ั นธรรมไทยลาวซึงมั
้ งไฟ เซิงสวิ
้ ง
การละเล่นว่า “เซิง้ ฟ้ อน และหมอลา” เช่น เซิงบั
้ ลาเต ้ย ซึงใช
่ ้เครืองดนตรี
่
ฟ้ อนภูไท ลากลอนเกียว
พนบ
ื ้ ้าน
ประกอบ ได ้แก่ แคน พิณ ซอ กลองยาว อีสาน ฉิ่ ง ฉาบ ฆ้อง
่ มโปงลางและโหวดเข ้ามาด ้วย ส่วน
และกร ับ ภายหลังเพิมเติ
่ ยกว่า
กลุม
่ อีสานใต ้ได ้ร ับอิทธิพลไทยเขมร มีการละเล่นทีเรี
เรือม หรือ เร็อม เช่น เรือมลูดอันเร หรือรากระทบสาก รา
๊
ตาข ้าว ราอาไย หรือราตัด
กระเน็ บติงต็อง หรือระบาตักแตน
่ ้บรรเลง คือ วง
หรือเพลงอีแซวแบบภาคกลางวงดนตรี ทีใช
่
มโหรีอส
ี านใต ้ มีเครืองดนตรี
คือ ซอด ้วง ซอด ้วง ซอคร ัวเอก
กลองกันตรึม พิณ ระนาด เอกไม้ ปี่ สไล กลองรามะนาและ
่
เครืองประกอบจั
งหวะ การแต่งกายประกอบการแสดงเป็ นไป
้ ้าน ลักษณะท่าราและท่วงทานอง
ตามวัฒนธรรมของพืนบ
้
4.4 การแสดงพืนเมื
องภาคใต้้ เป็ นศิลปะการราและ
้ ้านภาคใต ้อาจแบ่งตามกลุม
การละเล่นของชาวพืนบ
่
วัฒนธรรมไทย 2 กลุม
่ คือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ได ้แก่ การ
แสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนา และว ัฒนธรรม
ไทยมุสลิม ได ้แก่ รองเง็ง ซาแปง มะโย่ง (การแสดงละคร)
่
ลิเกฮูลู (คล ้ายลิเกภาคกลาง) และซิละ มีเครืองดนตรี
่ าคัญ เช่น กลองโนรา กลองโพน กลองปื ด โทน
ประกอบทีส
ทับ กร ับพวง โหม่ง ปี่ กาหลอ ปี่ ไหน รามะนา ไวโอลิน อัค
่ ับปรุงจากกิจกรรมในวิถี
คอร ์เดียน ภายหลังได ้มีระบาทีปร
ชีวต
ิ ศิลปาต่างๆ เข่น ระบาร่อนแต่ การีดยาง ปาเตต๊ะ เป็ น
ต ้น
่ อนช ้อย
้
อนราทีอ่
1) ลีลาท่ารา เป็ นท่าทางเยืองกรายฟ้
่
สวยงาม แสดงออกของอารมณ์ สือความหมายชั
ดเจน
่ วย
2) ดนตรีประกอบ ดนตรีเป็ นส่วนประกอบสาคัญทีช่
เสริมให ้การแสดงสมบูรณ์และ สร ้างบรรยากาศในการแสดง
ให ้สมจริงอีกด ้วย
3) บทร ้อง ส่วนใหญ่จะเป็ นคาประพันธ ์ประเภทกลอน
แปด มีความไพเราะสละสลวย คารม คมคายและมีคติสอนใจ
่
4) เครืองแต่
งกาย มีแบบอย่างเฉพาะตัว งดงาม
ประณี ต และถูกต ้องตามลักษณะการแสดง
่
แบบฝึ กหัด เรืองประว
ัติความเป็ นมาของนาฏศิลป์ ไทย
้
่ กต้องทีสุ
่ ดเพียง
คาชีแจง
กรุณาเลือกคาตอบทีถู
้
คาตอบเดียวเท่านัน
1. นาฏศิลป์ คือ อะไร
่ ษย ์ได ้ปรุงแต่งจากลีลาตามธรรมชาติให
ก. การร่ายราทีมนุ
่ ดจากการคิดขึนเองของมนุ
้
ข. การร่ายราทีเกิ
ษย ์
่ ษย ์เลียนแบบมาจากสัตว ์
ค. การร่ายราทีมนุ
่ ดจากการเลียนแบบธรรมชาติ
ง. การร่ายราของมนุ ษย ์ทีเกิ
2. นาฏศิลป์ ของไทย แบ่งออกตามลักษณะของรู ปแบบ
การแสดงเป็ น
ประเภทใหญ่ ๆได้กประเภท
ี่
ก. 1 ประเภท
ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 4ประเภท
้ั งของไทยทีมี
่
3. การแสดงนาฏศิลป์ ชนสู
เอกลักษณ์คอ
ื อะไร
ก. ละคร
ข. โขน
ค. ระบา
้ ้าน
ง. เพลงพืนบ
่ นเป็ นเรืองราว
่
4. ศิลปะการร่ายราทีเล่
มี
พัฒนาการมาจากการเล่านิ ทาน
คือศิลปะชนิ ดใด
ก. โขน
ข. ละคร
ค. หนังตะลุง
ง. ราตัด
่
5. ละครมีเอกลักษณ์ในการแสดงและการดาเนิ นเรือง
ด้วยกระบวนลีลาท่ารา เข้าบทร ้อง ทานองเพลงและ
่
เพลงหน้าพาทย ์ทีบรรเลงด้
วยวงปี่ พาทย ์มีแบบ
้
่ นทังของชาวบ้
านและของหลวงที่
แผนการเล่นทีเป็
เรียกว่าละครอะไรบ้าง
ก. ละครโนราชาตรี ละครนอก ละครใน
ข. ละครดึกดาบรรพ ์ ละครใน
ค. ละครชาตรี ละครดึกดาบรรพ ์
ง. ละครนอก ละครใน ละครดึกดาบรรพ ์
เฉลยแบบทดสอบ
1.ก
2.ง
3.ค
4.ค
5.ก
่
แหล่งทีมา
http://www.chaiwbi.nmm.ac.th/2552student/ms5
/d525102/wbi/525113/unit01/index.html
http://www.chaiwbi.nmm.ac.th/2552student/ms5
/d525102/wbi/525113/unit01/1001.html
http://www.chaiwbi.nmm.ac.th/2552student/ms5
/d525102/wbi/525113/unit01/1002.html
http://www.chaiwbi.nmm.ac.th/2552student/ms5
/d525102/wbi/525113/unit01/1003.html
http://www.chaiwbi.nmm.ac.th/2552studen
t/ms5/d525102/wbi/525113/test/testunit0
1.html