ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกั

Download Report

Transcript ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกั

ความรู้เบือ้ งต้ นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
เนื้ อหา





ทาความรู้จกั กับคอมพิวเตอร
คุณลักษณะเด่ นของคอมพิวเตอร
องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอรยุคใหม่
รูจ้ กั กับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคานวณในรูปของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ ที่
สามารถรับข้อมูลและคาสัง่ ผ่านอุปกรณ์รบั ข้อมูล แล้วนาข้อมูลและ
ค าสัง่ นั้ น ไปประมวลผลด้ว ยหน่ ว ยประมวลผลเพื่ อ ให้ไ ด้ผ ลลั พ ธ์ที่
ต้องการและแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึก
รายการต่างๆไว้เพื่อใช้งานได้ดว้ ยอุปกรณ์บนั ทึกข้อมูลสารอง
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
4’s Special ของเครื่องคอมพิวเตอร์
 ความจา,บันทึก (Storage)
 ความเร็ว (Speed)
 การปฏิบต
ั งิ านอัตโนมัติ (Self Acting)
 ความน่าเชื่อถือ (Sure)
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ความจา (Storage)
เป็ นความสามารถในการเก็ บข้อมูลจานวนมาก และเป็ นระยะ
เวลานาน ซึ่งถื อได้ว่าเป็ น "หัวใจ" ของการทางานแบบอัตโนมัติ ของ
เครื่องคอมพิวเตอร์
แบ่งได้ 2 ระบบคือ
 หน่วยความจาหลัก (Primary Storage)
 หน่วยความจารอง (Secondary Storage)
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ความเร็ว (Speed)
เป็ นความสามารถในการประมวลผลข้อมูลภายในเวลาที่ส้นั ที่สุ ด โดย
ความเร็วของการประมวลผล พิจารณาจากความสามารถในการประมวลผล
ซ้าๆ ในช่วงเวลาหนึ่ งๆ เรียกว่า "ความถี่ (Frequency)" โดยนับความถี่เป็ น
"จานวนคาสัง่ " หรือ "จานวนครั้ง" หรือ "จานวนรอบ" ในหนึ่ งนาที และเรียก
หน่ วยนี้ ว่า Hz (Hertz = Cycle/Second)
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
การปฏิบตั งิ านอัตโนมัติ (Self Acting)
เป็ นความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล
ตามลาดับคาสัง่ ได้อย่างถูกต้อง และต่อเนื่ อง โดยอัตโนมัติ ตามคาสัง่ และ
ขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ (มนุ ษย์) ได้กาหนดไว้
1. คุณลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ (ต่อ)
ความน่าเชื่อถือ (Sure)
เป็ นความสามารถในการประมวลผลที่ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
โดยนับได้วา่ เป็ นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดย
ความสามารถนี้ เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสัง่ และข้อมูล ที่นักคอมพิวเตอร์ได้
กาหนดให้กบั เครื่องคอมพิวเตอร์
2. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบสาคัญ 5 ส่วน
1.Hardware
2.Software
3.Peopleware
4.Data&Information
5.Procedure
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)


เป็ นลักษณะทางกายภายของเครื่ องคอมพิวเตอร์ หมายถึ งตัวเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้างที่เกี่ยวข้อง
มีส่วนประกอบที่สาคัญคือ
 หน่วยรับข้อมูล (Input Unit),
(Central Processing Unit)
 หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)
 หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)
 หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit)
 หน่วยประมวลผลกลาง
ส่วนประกอบที่สาคัญของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
CENTRAL PROCESSING UNIT
INPUT UNIT
OUTPUT UNIT
MEMORY
SECONDARY STORAGE
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.2 ซอฟต์แวร์ (Software)



เป็ นชุดคาสัง่ หรือโปรแกรม ที่สงั ่ ให้ฮาร์ดแวร์ทางานต่างๆ ตามต้องการ
ชุ ดค าสัง่ หรื อ โปรแกรมนั้ น จะเขียนมาจากภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใด
ภาษาหนึ่ ง และมี โ ปรแกรมเมอร์ หรื อ นั ก เขี ย นโปรแกรม เป็ นผู้ใ ช้
ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้น เป็ นซอฟต์แวร์แบบต่างๆ ขึ้ นมา
ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.3 บุคคลากร หรือ ผูใ้ ช้ (Peopleware)


บุคลากรหรือผูใ้ ช้เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญมาก ต้องมีความรูค้ วาม
เข้าใจในการใช้งานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์แล้ว จะทาให้การใช้งาน
ไม่มีประสิทธิภาพ
โดยสามารถแบ่งกลุ่มบุคลากรออกเป็ น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ
กลุ่มผูใ้ ช้งานทัว่ ไป
กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ
กลุ่มผูบ
้ ริหาร
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.3 บุคคลากร หรือ ผูใ้ ช้ (People ware)

กลุ่มผูใ้ ช้งานทัว่ ไป
 ผูใ้ ช้งานคอมพิวเตอร์ (User / End User)
ถือว่าเป็ นผูใ้ ช้งานระดับตา่ สุด ไม่จาเป็ นต้องมีความเชี่ยวชาญมากนักก็
สามารถใช้งานได้ โดยศึกษาจากคู่มือการปฏิบตั ิงาน หรือรับการอบรม
เพิ่มเติมเพื่อให้สามารถใช้งานได้
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.3 บุคคลากร หรือ ผูใ้ ช้ (People ware)

กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ
ช่างเทคนิ คคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/ Computer
Technician)
นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
นักเขียนโปรแกรม (Programmer)
วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer)
ผูด
้ แู ลเน็ ตเวิรก์ (Network Administrator)
2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
2.3 บุคคลากร หรือ ผูใ้ ช้ (People ware)

กลุ่มผูบ้ ริหาร
 ผูบ
้ ริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
(CIO – Chief
Information Officer)
 หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/
Information Manager)
3. ประเภทของเครือ
่ งคอมพิวเตอร์
จาแนกตามขนาดและความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์
ได้ 4ประเภท ดังนี้
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)

3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super
Computer)
เป็ นเครือ
่ งคอมพิวเตอรที
่ ข
ี นาดใหญและมี
ราคา
์ ม
่
สู ง ภายในเครื่อ งมีห น่ วยประมวลผลเป็ นจ านวน
มากทาให้สามารถประมวลผลคาสั่ งหลายคาสั่ งพรอม
้
กั น ไ ด้
เ ห ม า ะ ส า ห รั บ ง าน ที่ ต้ อ ง ค า น ว ณ ผ ล
ซับ ซ้ อน
และเป็ นงานที่ ม ี ล ัก ษณะเฉพาะด้ าน
เช่น
การสารวจแหลงน
่ ้ ามัน การควบคุมสถานี
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe
Computer)
เป็ นเครื่อ งคอมพิว เตอร ที
ั ษณะการท างาน
์ ่ ม ีล ก
โดยมีผู้ใช้ หลายๆ คนในเวลาเดีย วกัน ได้ เหมาะ
ส าหรับ งานที่ ม ี ก ารเก็ บ ข้ อมู ล ปริ ม าณมาก เช่ น
ธนาคาร
โรงพยาบาล
ก า ร ใ ช้
เมนเฟรมคอมพิวเตอร ์ ต้องคานึ งถึง อุณหภูมแ
ิ ละ
ความชืน
้ โดยมีระบบควบคุมและผูเชีย
่ วชาญคอยดูแล
3.ิ ิประเภทของเครื
อ
่
งคอมพิ
ว
เตอร์
ิ
มนคอมพวเตอร์
(Minicomputer)
มีลก
ั ษณะเดียวกันกับเครือ
่ งเมนเฟรมคอมพิวเตอร ์
แตมี
่ ขนาดเล็กกวา่ และมีประสิ ทธิภาพตา่ กวา่ ทัง้ ใน
ด้ านความเร็ ว ในการประมวลผล และความจุ ข อง
หน่วยความจา ปัจจุบน
ั องคกรขนาดกลางและขนาด
์
เล็ ก จะนิ ย มใช้ มินิ ค อมพิว เตอร เป็
์ นเครื่อ งแม่ ข่ าย
(Server) เพือ
่ ควบคุมระบบเครือขายในองค
กร
่
์
ไมโครคอมพิวเตอร์
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
(Microcomputer)
หรือทีเ่ รียกว่า เครือ
่ งคอมพิวเตอรส
์ ่ วนบุ คคล
(Personal Computer :PC) เป็ นเครือ
่ งคอมพิวเตอรที
์ เ่ หมาะ
ส าหรับ การใช้ งาน นต่อ 1 เครื่อ ง หรือ ใช้
เ ชื่ อ ม ต่ อ กั บ เ ค รื่ อ ง ใ น เ ค รื อ ข่ า ย
ไมโครคอมพิ ว เตอร ์ มี ล ั ก ษณะการใช้ งานง่ าย
เ ค ลื่ อ น ย้ า ย ส ะ ด ว ก ร า ค า ถู ก ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง
ไมโครคอมพิว เตอร ์ เช่ น โน๊ ตบุ๊ ค เดสก โน
์ ๊ต
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่





โน๊ ตบุค๊ (Notebook)
เดสก์โน๊ ต (Desknote)
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)
พีดีเอ (PDA-Personal Digital
Assistants)
สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
โน๊ตบุค๊ (Notebook)
คอมพิวเตอร์โน๊ตบุค๊ มีคุณสมบัติที่ใกล้เ คียงกับพีซี
แต่จะมีขนาดเล็กและบางลง มีน้ าหนักเบาสามารถพกพา
ได้สะดวกมากยิ่งขึ้น และข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งคือ
โน๊ตบุค๊ จะมีแบตเตอรี่ไว้สาหรับการทางานด้ว ย ที่สาคัญ
ราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อนมาก แต่ยงั ถือว่ามีราคาแพงกว่า
พีซีธรรมดา
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
เดสก์โน๊ต (Desknote)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบหนึ่ งคล้ายๆกับ
โน๊ตบุค๊ ต่างกันตรงที่เดสก์โน๊ตไม่มีแบตเตอรี่ที่ คอยจ่ายไฟ
ให้จึ ง ต้อ งเสี ย บปลั ก๊ ตลอดเวลาที่ ใ ช้ อี ก ทั้ ง ราคาถู ก กว่ า
โน๊ตบุค๊ เหมาะกับผูท้ ี่มีสานักงานหลายๆที่ และเดินทางไป
มาบ่อยๆ
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผูใ้ ช้สามารถป้อนข้อมู ลเข้าไปได้
โดยการเขี ยนบนจอภาพเหมื อนกับ การเขี ยนข้อความลงไปใน
สมุดโน๊ต และเครื่องสามารถที่จะแปลงข้อมูลต่างๆ เหล่า นั้นเก็บ
ไว้ได้ และบางเครื่องยังสามารถพลิ กหน้าจอได้ 2 แบบ คื อ
เหมื อนกับ การใช้ง านแบบโน๊ตบุ๊คหรื อเหมื อนกับ กระดานรอง
เขียนก็ได้
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistants)
สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 กลุ่มคือ
ปาล์ม (Palm)
พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC)
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
ปาล์ม (Palm)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาที่เปิ ดตลาดมาก่อน แต่ เดิม
นั้ น เน้น เพื่ อ การใช้ง านส าหรับ เป็ นเครื่ อ งบั น ทึ ก ช่ ว ยจ าต่ า งๆ
(organizer) เช่น การนัดหมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ แต่ปัจ จุบนั
ได้พัฒ นาให้มี ขี ด ความสามารถต่ า งๆ เพิ่ ม มากขึ้ น โดยจะใช้
ระบบปฏิบตั กิ ารที่เป็ นของตัวเองเรียกว่า Palm OS
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC)
เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อานวยความสะดวกในการใช้งาน
ได้ดีเช่นเดียวกับเครื่องปาล์ม แต่จะแตกต่างจากเครื่องปาล์มใน
เรื่องของระบบปฏิบัติการที่ใช้จะอิงกับค่ายไมโครซอฟท์เป็ นหลัก
ผูใ้ ช้งานพ็อกเก็ตพีซีที่ชินกับระบบปฏิบัติการของไมโครซอฟท์มา
ก่อน สามารถใช้งานได้ง่ายมาก แต่จะกินกาลังของเครื่องมากกว่า
เครื่องปาล์ม
4. คอมพิวเตอร์ ยุคใหม่
สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
เป็ นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พฒ
ั นาขีดความสามารถให้มี
การทางานได้ใกล้เคียงกับพีดีเอเป็ นอย่างมาก โดยสมาร์ทโฟน
สามารถที่จะใช้เป็ นเครื่องโทรศัพท์ได้ในตัว รวมถึงความสามารถ
อื่ น ๆ เช่ น กล้อ งถ่ า ยรู ป การใช้ง านอิ น เตอร์เ น็ ต เป็ นต้น ซึ่ ง
คุ ณ สมบั ติ ต่ า งๆเหล่ า นี้ ขึ้ นอยู่ กั บ ระบบปฏิ บั ติ ก ารที่ ใ ช้ด ้ว ย
เช่นเดียวกัน
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต
ศาสตร์ทางด้านปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ได้เข้ามามี
บทบาทในการสร้างปั ญญาเทียมเลียนแบบการคิดหรือสมองของมนุ ษย์ ซึ่ งใน
งานหลายๆด้านก็มีการประยุกต์เอาคอมพิวเตอร์เข้าไปใช้เพื่อคิดและตัดสินใจ
แก้ปัญหาต่างๆ ได้เป็ นอย่างดี เช่น
 ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (expert system)
 ระบบหุน
่ ยนต์ (robotics)
 ภาธรรมชาติ (natural language)
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (expert system)

เป็ นศาสตร์แ ขนงหนึ่ ง ของปั ญญาประดิ ษ ฐ์ที่ น าเอาคอมพิ ว เตอร์ ม า
ประยุกต์ใช้งาน เพื่อเก็บรวบรวมความรูต้ ่างๆ ที่ จาเป็ นต้อ งใช้สาหรับ
งานใดงานหนึ่ งให้อยูต่ ลอดไปในหน่ วยงานโดยไม่ขึ้นกับบุคคล
 ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ วินิจฉัย ตัดสินใจต่างๆ ได้อย่าง
แม่นยา เช่น ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญในวงการแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรค
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต
ระบบหุ่นยนต์ (robotics)

นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้ทางานร่วมกับเครื่องจักร
และอุปกรณ์บงั คับบางชนิ ด เกิดเป็ น “หุน่ ยนต์” (robot)
 สามารถทางานทดแทนแรงงานคนได้เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ ง
กับลักษณะงานที่มีความเสี่ยงต่ออันตรายมากๆ
 อาจพบเห็นการออกแบบหุ่นยนต์โดยอาศัยการทางานของโปรแกรม
คอมพิว เตอร์เพื่ อเลี ยนแบบพฤติ กรรมของสิ่ ง มีชีวิต และสามารถ
นามาใช้งานได้จริง เช่น หุน่ ยนต์สุนัข เป็ นต้น
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต
ภาษาธรรมชาติ (natural language)

การเข้าใจภาษาธรรมชาติของมนุ ษย์เป็ นการนาเอาความสามารถ
ของของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสื่อสารกับมนุ ษย์ให้สะดวกขึ้ น
 ตัวอย่างที่พบเห็นมากที่สุด เช่น การใช้ระบบรับรูแ
้ ละจาเสียงพูดของ
มนุ ษย์หรือที่เรียกว่า speech recognition ที่คอมพิวเตอร์สามารถ
แยกแยะเสียงได้
 ทาให้ลดระยะเวลาในการทางานของผูใ้ ช้ลงได้มากทีเดียว