เออร์ก - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Download Report

Transcript เออร์ก - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

เออร์ กอนอมิกส์ และสภาพแวดล้ อมการเรียนรู้
ERGONOMICS AND
THE LEARNING ENVIRONMENT
ความหมายและความสาคัญของ Ergonomics
จากบทความ Ergonomics and the Learning Environment ของ
G.F. McVey กล่าวถึงภูมิหลังของความหมาย Ergonomics โดยสรุป
พบว่า
จากการค้ นคว้ านิยามของสภาพแวดล้ อมการเรี ยนรู้ Tessmer
และ Harris’s (1992) ได้ ให้ ความหมายสภาพแวดล้ อมการเรี ยนรู้
(Learning Environment) ว่าเป็ นการจัดสภาพพื ้นที่ด้านกายภาพที่
เอื ้ออานวยต่อการเรี ยนรู้ สภาพแวดล้ อมนี ้อาจเป็ นชันเรี
้ ยน ศูนย์
ฝึ กอบรม Labคอมพิวเตอร์ ห้ องเอนกประสงค์ที่บ้านของผู้เรี ยน โต๊ ะที่
นัง่ ในที่ทางาน หรื อการรวมเอาหลายสิ่งดังกล่าวข้ างต้ นมาผนวก
รวมกัน
ความหมายและความสาคัญของ Ergonomics
สภาพแวดล้ อมการเรี ยนรู้ ประกอบไปด้ วยองค์ประกอบที่สามารถ
สัมผัสได้ ทางกายภาพ เช่น แสง สี เสียง พื ้นที่ เฟอร์ นิเจอร์ และสิ่งอื่น
ๆ ที่เป็ นองค์ประกอบรอบ ๆตัวผู้เรี ยนและทาให้ การเรี ยนมีประสิทธิภาพ
มากที่สดุ
ดังนันสิ
้ ่งหรื อสภาพแวดล้ อมการเรี ยนรู้เหล่านี ้ ควรประกอบไป
ด้ วย ความสะดวกสบาย ทังการได้
้
ยิน และการมองเห็นที่ชดั เจน
ประกอบด้ วยการมีมิติ และตลอดจน เอื ้อให้ มีการติดต่อสื่อสารที่
สะดวกทังตั
้ วผู้เรี ยนและผู้สอน จึงทาให้ ต้องมีแนวทางปฏิบตั ิ ซึง่ เป็ น
การสร้ างสภาพแวดล้ อมทางการเรี ยนรู้ ที่พิจารณาทังในด้
้ านสภาพ
การทางานของคน( people perform tasks )
ความหมายและความสาคัญของ Ergonomics
และการจัดการกับเครื่ องมือหรื ออุปกรณ์ทางการศึกษา ทาให้
ศาสตร์ ในส่วนนี ้ถูกเรี ยกว่าเป็ น human factors engineering หรือ
เรียกอีกอย่ างหนึ่งว่ า ergonomics ซึง่ เป็ นวิศวกรรมที่เกี่ยวกับปั จจัย
ด้ านมนุษย์ การปรับเข้ าได้ กบั สรี รวิทยาของมนุษย์ ซึง่ สิ่งเหล่านี ้นับว่า
เป็ นสิ่งสาคัญ สาหรับผู้ที่จะออกแบบอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทางการศึกษา
ความหมายของ Ergonomics
Ergonomics การยศาสตร์ (วิทยาการที่วา่ ด้ วยงาน) เป็ น
คาศัพท์ของราชบัณฑิตยสถาน
“ เป็ นวิชาการว่ าด้ วยมนุษย์ กับสภาพการทางาน “
คือศึกษาว่าสัดส่วน ของมนุษย์และการปฏิบตั ิงาน ควรจะ
สัมพันธ์กบั สภาพแวดล้ อม เช่น โต๊ ะ เก้ าอี ้ ตลอดจนคอมพิวเตอร์ (หรื อ
เครื่ องจักรกล) และเครื่ องมือที่ใช้ อย่างถูกต้ องได้ อย่างไร จึงจะทาให้
มนุษย์สามารถทางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสะดวกสบาย โดย
คานึงถึงสุขภาพทางกายเป็ นสาคัญ
ความหมายของ Ergonomics
ศัพท์ Ergonomic มาจากภาษากรี กว่า ergos ที่แปลว่า การ
งาน และ nomos แปลว่า กฏหมาย
งานวิจยั ค้ นคว้ า ergonomic จึงเป็ นการประยุกต์ไปสูเ่ ป้าหมาย
ที่หลากหลาย ในการพิจารณาการออกแบบ ที่ไปสูค่ วามแตกต่าง ที่มี
ในแต่ละบุคคลและสภาพแวดล้ อมในการทางาน เครื่ องมือและ
อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่ถกู ออกแบบโดยคานึงถึง ความปลอดภัย ความ
สะดวกสบาย และประสิทธิภาพ ตลอดจนประสิทธิผลของผู้ทางานกับ
งาน จากข้ อความข้ างต้ นสามารถสรุปได้ วา่
Ergonomic คือ “ human facters engineering” นัน่ เอง
Ergonomic design details for lecture environment with media
ในส่ วนของอุณหภูมิ ความชืน้ และการถ่ ายเทอากาศ ในห้ องเรียน
อุณหภูมิห้อง ความชืน้ และการถ่ ายเทอากาศต้ องพอเหมาะ คือ
69.5F ความชืน้ 47% ส่ วนแรงลมควรอยู่ในช่ วงไม่ เกิน 0 – 25 fpm ถ้ า
ความแรงลมสูงถึง 75 fpm จะไม่ เอือ้ ต่ อการเรียน
Visual Ergonomics with computer
ตัวอย่ างคีย์บอร์ ดที่ถูกออกแบบตามหลัก ERGONOMICS
ตัวอย่ างการศึกษาวิจัยทาง ERGONOMICS
สรุ ปงานวิจัยทาง ergonomics ที่นามาใช้ ในการออกแบบสิ่ง
อานวยความสะดวกทางการศึกษา ซึ่งในงบประมาณประจาปี ของ
อเมริกาต้ องใช้ เงินนับเป็ นล้ าน ๆ US dollars สาหรับการทาการ
เปลี่ยนแปลงสิ่งอานวยความสะดวกในการเรียนการสอนให้ กับทัง้ เด็ก
ผู้เรียนและครูผ้ ูสอน
นักออกแบบทางการศึกษาได้ ประเมินถึงปั ญหาที่เกิดขึน้ ในการ
เรียนการสอน ทัง้ ด้ านการได้ ยนิ หรือ การเห็นของผู้เรียน นามาใช้ ใน
การแก้ ไขปั ญหา จากสถานการณ์ เหล่ านีช้ ีใ้ ห้ เห็นว่ าจะทาให้ การเรียน
การสอนดีขนึ ้ ได้ อย่ างไร การแก้ ไขวิธีหนึ่งที่สามารถทาได้ คือการนา
ปั ญหาเหล่ านีไ้ ปปรึกษากับนักสถาปั ตยกรรม เพื่อหาทางแก้ ไข และเพื่อ
ดูว่าผลความแตกต่ างในการออกแบบว่ าเป็ นอย่ างไร
ตัวอย่ างการศึกษาวิจัยทาง ERGONOMICS
โดย McVey ได้ ดาเนินการประเมินการออกแบบห้ องเรียนและสิ่ง
อานวยความสะดวกในมหาวิทยาลัย 2 แห่ ง ประกอบกับการใช้
Questionnaire เก็บข้ อมูลตลอด 20 ปี โดยมีการแก้ ไขเกณฑ์ ต่างๆ ใน
แต่ ละช่ วงเวลา โดยพบว่ า
รูปแบบห้ องเรียนทัง้ 2 มหาวิทยาลัยไม่ มีความแตกต่ างกัน
และพบว่ า ห้ องเรียนถูกเปลี่ยนแปลงและปรับปรุ งไปในทางเดียวกันทัง้ 2
มหาวิทยาลัย โดยที่ McVey เริ่มการศึกษาวิจัยนีต้ งั ้ แต่ ปี ค.ศ. 1973 ใน
การศึกษานีว้ ัดความพึงพอใจ 5 ระดับ โดยมีการออกแบบห้ องเรียน
จานวน 3 ห้ อง เป็ นห้ องเรียนที่ออกแบบโดยใช้ หลักการ ergonomic 1
ห้ อง และอกแบบโดยใช้ หลักการทางสถาปั ตยกรรม 1 ห้ อง และแบบ
ธรรมดา 1 ห้ อง
ตัวอย่ างการศึกษาวิจัยทาง ERGONOMICS
ผลการวิจัยพบนัยสาคัญสูงมาก ในห้ องที่ใช้ การออกแบบทาง
ergonomics ซึ่งข้ อมูลเหล่ านีไ้ ด้ สนับสนุนสมมติฐานของงานวิจัยครัง้ นี ้
ด้ วย
ในการออกแบบห้ องเรียนสาหรับงานวิจัยของ McVey นีม้ ีการจัด
guide line ในการจัดวางสิ่งอานวยความสะดวกต่ าง ๆ ให้ มีการมองเห็น
ได้ ดี โดยใช้ การกาหนดเกณฑ์ ต่าง ๆ กัน ผลงานวิจัยพบความแตกต่ าง
อย่ างมีนัยสาคัญ โดยสรุ ปถึง ลักษณะที่ดีในการจัดวางสิ่งอานวยความ
สะดวกต่ าง ๆ ได้ ดงั นี ้
ตัวอย่ างการศึกษาวิจัยทาง ERGONOMICS
การออกแบบให้ ผ้ ูเรียนนั่งอยู่ห่างจากจอ เท่ ากับ 2 – 6 เท่ า
ของขนาดจอ องศาด้ านข้ างในการนั่งไม่ เกิน 60 จากกึ่งกลางระหว่ าง
จอและนักเรียน ซึ่งจะทาให้ เห็นภาพได้ ชัดเจน
การนั่งห่ างจอมากน้ อยไม่ มีความสาคัญ แต่ ขนาดจอและการได้
ยินเสียงมีผลต่ อการเรียนมากกว่ า ซึ่งต้ องเกี่ยวข้ องกับความสว่ างมาก
น้ อยของสิ่งที่ปรากฏบนจอด้ วย ที่น่ ังของนักเรียนต้ องให้ นักเรียนมอง
จอ โดยมีมุมเงยที่มากกว่ า 25 ส่ วนมุมตก (มองลง)ไม่ เกิน 10 ของ
ผู้เรียน และการที่มีเครื่องฉายอยู่ด้านหลังจะดีกว่ าตัง้ อยู่ด้านหน้ า
ตัวอย่ างการศึกษาวิจัยทาง ERGONOMICS
ด้ านความสว่ าง อยู่ในระดับ 30 foot – candles และใช้ worm
white fluorescent ทาให้ การเขียนบันทึกทาได้ ดี แต่ ใช้ cool – white
ต้ องใช้ 50 foot – candles
ห้ องเรียนควรปูพรม ฝาผนังควรใช้ สีอ่อน เช่ น สีครีม สีแทน
ทาให้ การมองเห็นสบายตามากกว่ าสีเข้ ม แสงสว่ างที่ส่องด้ านบนดีกว่ า
แสงส่ องด้ านข้ าง
ตัวอย่ างการศึกษาวิจัยทาง ERGONOMICS
เสียงก้ องและเสียงสะท้ อน มักทาให้ นักเรียนถูกเบี่ยงเบนความ
สนใจได้ ง่ายจากเสียงภายนอก ระดับเสียงภายนอกควรต่ากว่ า NC10
แต่ ถ้าเพิ่มถึงขนาด NC30 จะเกิดการรบกวนมาก เครื่องขยายเสียง ใน
ห้ องขนาดใหญ่ (4000 SF+) ควรใช้ แต่ ถ้าในห้ องเล็ก (1200 – 2000
SF) ก็ไม่ จาเป็ นต้ องมีเครื่องขยายเสียง แต่ ส่ งิ ที่สาคัญคือควรมีการกัน
เสียงรบกวน
พืน้ ที่น่ ังควรมีท่ เี ก็บของส่ วนตัวของแต่ ละคน นักเรี ยนชอบที่น่ ัง
หมุนได้ รอบ ใช้ ขนาดพืน้ ที่อยู่ระหว่ าง 7.5 – 8 SF ให้ กว้ างพอเพียง และ
นักเรียนชอบที่น่ ังที่เป็ น counter มากกว่ าที่เป็ นเก้ าอีแ้ บบเขียน ที่มีพนื ้ ที่
ขนาด 6.3 SF
ตัวอย่ างการศึกษาวิจัยทาง ERGONOMICS
รูปร่ างของเก้ าอี ้ ผู้เรียนมีความชอบเก้ าอีท้ ่ มี ีการปรับความสูงได้
คือมีความสูง 17 นิว้ พอเหมาะ และสามารถเอียงตัวได้ 3 องศา พนัก
พิงลาด 10 องศา ด้ านข้ างมีความห่ าง 25 – 31 นิว้ ด้ านหน้ ามีความ
ห่ าง 48 นิว้ และโต๊ ะเขียนควรมีความลาดเอียง 15 องศา
ตัวอย่ างการศึกษาวิจัยทาง ERGONOMICS
และงานวิจัยอีกชิน้ หนึ่งของ McVey เกี่ยวกับ ergonomics ในปี
ค.ศ. 1973 ใช้ ห้องเรียน 4 ห้ อง และทัง้ 4 ห้ องปรับปรุ งใหม่ ทุก 10 ปี
โดยใช้ ปัจจัยที่คาดว่ าจะมีผลถึง 152 ปั จจัย
ผลสรุ ปได้ ว่านักเรียนส่ วนใหญ่ เห็นด้ วยกับการออกแบบโดยใช้
หลัก ergonomics โดยนักเรียนได้ ให้ ข้อเสนอแนะถึงปั ญหาบางอย่ างที่
เกิดขึน้ ซึ่งพบในเด็กนักเรียนที่รูปร่ างเล็กกว่ าปกติ ที่มีปัญหาด้ านความ
สูงของที่น่ ังที่ถกู ออกแบบโดยใช้ เกณฑ์ ของผู้ท่ มี ีความสูงปกติ
สรุ ป ERGONOMICS
อย่ างไรก็ตาม ergonomic ไม่ จาเป็ นต้ อง "แพง" เสมอไป การ
เปลี่ยนแปลงเล็กน้ อยที่ไม่ ต้องเสียค่ าใช้ จ่ายมาก อย่ างเช่ นการหาเบาะ
มาหนุนหลังหรือหาที่วางเท้ ามาเสริม ทาให้ เกิดข้ อแตกต่ างมากมายต่ อ
สุขภาพของเด็กแล้ ว
เป้าหมายที่แท้ จริงของ ergonomics ก็เพื่อที่จะ ให้ ร้ ูถงึ วิธีการ
ปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้ อมให้ เหมาะกับการเรียนการสอน ซึ่งไม่ ใช่ เรื่อง
มากเกินไปที่เด็กจะต้ องเรียนรู้ถงึ นิยามของ ergonomics สิ่งสาคัญคือ
เด็กๆ ต้ องเข้ าใจความต้ องการทางกายภาพของพวกเขาเองเป็ นอันดับ
แรก ...
สรุ ป ERGONOMICS
ERGONOMICS…จุดเชื่อมต่ อมนุษย์ กับเครื่องจักร นักการศึกษา
ควรทาความคุ้นเคยกับ ergonomics เพื่อที่จะสามารถคาดประเมิน
ล่ วงหน้ าก่ อน และสร้ างมาตรฐานก่ อนที่เครื่องมือเครื่องจักรไม่ ว่า
จะป็ นสภาพแวดล้ อมใดๆ ที่เป็ นต้ นเหตุของอันตรายที่อาจจะเกิดขึน้ กับ
เด็กนักเรียน
บรรณานุกรม
กองบริการอุตสาหกรรม กรมส่ งเสริมอุตสาหกรรม. 2518 : 51-53
น.ต. สุทธิ์ ศรี บูรพา: เออร์ กอนอมิกส์ : วิศวกรรมมนุษยปั จจัย: บริษัทซีเอ็ดยูเคชัน
จากัด(มหาชน): พ.ศ. 2540; 370 บาท
Dennis R. Ankrum CIE..2003. Visual Ergonomics in the Office (Guidelines for
monitor placement and lighting) Nova Solutions, Inc. http://www.officeergo.com/setting.htm
G.F.McVey.1990.Ergonomics and the Learning Environment. Boston University.