อาชีวอนามัยและความปลอดภัยพืน้ ฐาน BASIC OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY # 6 # ความปลอดภัยในการทางาน # ความปลอดภัยในการทางาน * ความหมายของความปลอดภัย * ความหมายของการเกิดอบุ ัติเหตุ * สาเหตุของการเกิดอบุ ัติเหตุ * การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอบุ ัติเหตุ * หลักการจัดการป้ องกันและควบคมุ อบุ.

Download Report

Transcript อาชีวอนามัยและความปลอดภัยพืน้ ฐาน BASIC OCCUPATIONAL HEALTH AND SAFETY # 6 # ความปลอดภัยในการทางาน # ความปลอดภัยในการทางาน * ความหมายของความปลอดภัย * ความหมายของการเกิดอบุ ัติเหตุ * สาเหตุของการเกิดอบุ ัติเหตุ * การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอบุ ัติเหตุ * หลักการจัดการป้ องกันและควบคมุ อบุ.

อาชีวอนามัยและความปลอดภัยพืน้ ฐาน
BASIC OCCUPATIONAL HEALTH
AND SAFETY # 6
# ความปลอดภัยในการทางาน #
1
ความปลอดภัยในการทางาน
* ความหมายของความปลอดภัย
* ความหมายของการเกิดอบุ ัติเหตุ
* สาเหตุของการเกิดอบุ ัติเหตุ
* การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอบุ ัติเหตุ
* หลักการจัดการป้ องกันและควบคมุ อบุ ัติเหตุ
จากการทางาน
2
ความปลอดภัย (Safety)
หมายถึง : การป้ องกันอบุ ัติเหตุ การบาดเจ็บ
โดย อาศัยหลักการ วิชาการ เทคโนโลยีด้านต่ างๆ
เพือ่ สืบค้ นหาปัญหา อันตรายต่ างๆ และ หาทาง
ขจัดอบุ ัติเหตทุ จี่ ะเกิดขึน้
** การป้ องกันความสูญเสีย (Loss Prevention)
3
ความปลอดภัย (Safety)
ขั้นตอนการดาเนินการ เพือ่ หาทางลดความรุนแรง
ของอบุ ัติเหตุ และหาทางควบคมุ ความสูญเสีย
1. การสืบค้ นหาอันตราย (Hazard Identification)
2. การใช้ เทคนิคในการประเมินหาขนาดของอันตราย
(Technical Evaluation)
3. การออกแบบด้ านวิศวกรรม (Engineering Design)
4
อุบัตเิ หตุ (Accidents)
หมายถึง : เหตุการณ์ อบุ ัติการณ์ ทุกชนิด
: ไม่ ได้ คาดคิดมาก่ อน
: ไม่ ได้ วางแผน / ตั้งใจ
ก่ อให้ เกิดความเสียหาย ต่ อ ชีวิต
ทรัพสิน
ทรัพยากรต่ างๆ
5
อุบัตเิ หตุจากการทางาน (Occupational Accident)
หมายถึง :
อบุ ัติเหตุทเี่ กิดขึน้ ในภาวะการจ้ างงาน
ก่ อให้ เกิดความสูญเสียต่ อ ชีวิตคน เครื่ องจักร สิ่งของ
ในเวลา ทันทีทันใด / ช่ วงเวลาถัดไป
ในสถานที่ทางาน / นอกสถานที่ทางาน
6
สาเหตุการเกิดอุบัตเิ หตุ
H.W. Heinrich สาเหตขุ องการเกิดอบุ ัติเหตุ
มี 3 ประการ คือ
1. สาเหตุจากคน (Human causes) มีจานวนถึง 88%
2. สาเหตุจากความผิดพลาดของเครื่ องจักร
(Mechanical failure) มีจานวนถึง 10%
3. สาเหตุท่ เี กิดจากดวงชะตา (Act of god) มีเพียง 2%
7
สรุปสาเหตุการเกิดอุบัตเิ หตุ
ที่สาคัญมี 2 ประการ คือ
1. การกระทาที่ไม่ ปลอดภัย (Unsafe act) เป็ นสาเหตุ
ใหญ่ คิดจานวนเป็ น 85% ของการเกิดอุบัตเิ หตุ
ทัง้ หมด
2. สภาพการณ์ ท่ ไี ม่ ปลอดภัย (Unsafe condition) เป็ น
สาเหตุรอง คิดจานวนเป็ น 15% ของการเกิดอุบัตเิ หตุ
ทัง้ หมด
8
9
10
11
การกระทาที่ไม่ ปลอดภัย (Unsafe Act)
หมายถึง การกระทาหรือการปฏิบัติงานของคนที่มีผลทาให้
เกิดความไม่ ปลอดภัยกับตนเองและผ้ อู ื่น เช่ น
* การทางานไม่ ถูกวิธี หรื อไม่ ถูกขัน้ ตอน เช่ น ยกของด้ วย
ท่ าทางทีผ่ ิด
* ความประมาท พลั้งเผลอ เหม่ อลอย
* ถอดเครื่องกาบังเครื่องจักร
* ใช้ เครื่องมือไม่ เหมาะสมกับงาน
12
การกระทาที่ไม่ ปลอดภัย (Unsafe Act)
* การไม่ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
* การมีทศั นคติทไี่ ม่ ถูกต้ อง เช่ น อบุ ัติภยั เป็ นเรื่องของเคราะห์
กรรมแก้ ไขป้ องกันไม่ ได้
* การทางานโดยทีร่ ่ างกายและจิตใจไม่ พร้ อมหรือผิดปกติ
เช่ น ไม่ สบาย เมาค้ าง มีปัญหาครอบครัว ทะเลาะกับแฟน
เป็ นต้ น
* การใช้ เครื่ องมือหรื ออปุ กรณ์ ต่างๆไม่ เหมาะสมกับงานเช่ น
การใช้ ขวดแก้ วตอกตะปูแทนการใช้ ค้อน ฯลฯ
13
14
15
16
17
18
สภาพงานที่ไม่ ปลอดภัย (Unsafe Condition)
หมายถึง สภาพของโรงงานอตุ สาหกรรม
เครื่ องจักร กระบวนการผลิต เครื่ องยนต์
อปุ กรณ์ ในการผลิต ไม่ มีความปลอดภัย
เพียงพอ เช่ น
• การออกแบบโรงงาน แผนผังโรงงาน
• ระบบความปลอดภัยไม่ มีประสิทธิภาพ ไม่ มีอปุ กรณ์
ด้ านความปลอดภัย ส่ วนที่เป็ นอันตราย (ส่ วนที่
เคลื่อนไหว) ของเครื่องจักรไม่ มีเครื่องกาบังหรืออุปกรณ์
19
ป้องกันอันตราย
สภาพงานที่ไม่ ปลอดภัย (Unsafe Condition)
• เครื่ องจักรกล เครื่ องมือ หรื ออปุ กรณ์ ชารุดบกพร่ อง
ขาดการซ่ อมแซมหรื อบารุงรั กษาอย่ างเหมาะสม
• สภาพแวดล้ อมในการทางานไม่ เหมาะสม เช่ น
– แสงสว่ างไม่ เพียงพอ
– เสียงดังเกินควร
– ความร้ อนสูง
– ฝุ่ นละออง
– ไอระเหยของสารเคมีท่ เี ป็ นพิษ เป็ นต้ น
20
การสูญเสี ยเนื่องจากการเกิดอุบัตเิ หตุ
1. การสูญเสียโดยทางตรง การสุญเสียทีค่ ดิ เป็ น
เงินที่ต้องจ่ ายโดยตรง
2. การสูญเสียโดยทางอ้ อม การสูญเสียทีแ่ ฝงอย่ ู
ไม่ ปรากฏเด่ นชัด
21
ความสูญเสีย
ทางตรง
คนงาน
โรงงาน
ส่วนรวม
ทางอ้อม
ขาดรายได้
บาดเจ็บ เสี ยชีวิต
เงินทดแทน
ค่ารักษาพยาบาล
ขาดกาลังแรงงานในการ
พัฒนาประเทศ
แผนภูมิที่ 2-4 แสดงความสู ญเสี ย
ที่มา : วิฑูรย์ สิ มะโชคดี (2536 : 187)
ขวัญเสี ย
เสี ยเวลางานของคนงาน
ที่ได้รับอันตราย ของผูบ
้ งั คับ
บัญชาและคนอื่นๆ
อุปกรณ์การผลิตเสี ยหายและ
เสี ยค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม
ค่าเสี ยหายเพราะการผลิตหยุด
ชะงัก
คนพิการเป็ นภาระของสังคม
ค่าเสี ยหายจากอุบตั ิเหตุทาให้
โรงงานจาเป็ นต้องเพิ่มราคา
ผลิตภัณฑ์
22
หลักการจัดการป้ องกันและควบคุม
อบุ ัติเหตุจากการทางาน
1. การจัดการด้ านบริ หาร (Management)
2. การจัดการด้ านสถานที่ทางาน (Workplace)
3. การจัดการด้ านพนักงานหรื อลกู จ้ าง (Employee)
23
การจัดการด้ านบริ หาร
อบุ ัติเหตุจากการทางาน
* ฝ่ ายบริ หารหรื อฝ่ ายจัดการ-----เป็ นผ้ รู ิ เริ่ ม
- นโยบาย
- จัดหาบุคลากรมารั บผิดชอบ
- จัดตั้งคณะกรรมการฯ
24
1. การกาหนดนโยบายด้ านความปลอดภัย
2. การมอบหมายความรั บผิดชอบและอานาจ
หน้ าที่
3. การจัดตัง้ องค์ กรความปลอดภัยและ
เจ้ าหน้ าที่ความปลอดภัย
4. การตรวจสอบการปฏิบัตงิ าน
25
การจัดการด้ านสถานทีท่ างาน
อบุ ัติเหตุจากการทางาน
1. ทบทวนระบบงาน :
• การตรวจสอบระบบความปลอดภัยและการตรวจความ
ปลอดภัย
• การใช้ เทคนิคการวิเคราะห์ เพื่อความปลอดภัย
• การสืบสวน สอบสวนอุบัตเิ หตุ ที่เกิดขึน้ สาเหตุต่างๆ ที่
ทาให้ เกิดอุบัตเิ หตุ
26
การจัดการด้ านสถานทีท่ างาน
อบุ ัติเหตุจากการทางาน
1. ทบทวนระบบงาน (ต่ อ):
• การเปรียบเทียบกับมาตรฐานหรือกฎหมายข้ อบังคับ
ต่ างๆ สิ่งที่ไม่ เข้ าเกณฑ์ ที่มาตรฐานกาหนดไว้ แสดงว่ า
สิ่งนัน้ เป็ นสภาวะอันตรายที่ควรจะต้ องระวัง และควรหา
มาตรการ วิธีการแก้ ไขที่เหมาะสมต่ อไป
27
การจัดการด้ านสถานทีท่ างาน
อบุ ัติเหตุจากการทางาน
2. ทดลองเปรียบเทียบกรรมวิธีต่างๆ :
• การป้ องกันควบคมุ ทางด้ านวิศวกรรมศาสตร์
• การป้ องกันควบคมุ ทางด้ านการบริ หารและจัดการ
• การป้ องกันควบคมุ ทางด้ านเออร์ กอนอมิคส์ และจิตวิทยา
ในการทางาน
28
การจัดการด้ านสถานทีท่ างาน
• การป้ องกันควบคมุ ทางด้ านวิศวกรรมศาสตร์
– การออกแบบโรงงานและกาหนดผังโรงงานทีป่ ลอดภัยต่ อการทางาน
– การเลือกใช้ อปุ กรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักรทีม่ ีความปลอดภัยในการ
ใช้ งาน
• การป้ องกันควบคมุ ทางด้ านการบริ หารและจัดการ (1 )
• การป้ องกันควบคมุ ทางด้ านเออร์ กอนอมิคส์ และจิตวิทยาในการ
ทางาน
– การออกแบบและ / หรื อการเลือกใช้ อปุ กรณ์ เครื่ องมือ เครื่ องจักรทีเ่ หมาะสม
กับกายวิภาค สรี รวิทยาและสภาพจิตใจของผ้ ปู ฏิบัติงาน
29
การจัดการด้ านสถานทีท่ างาน
อบุ ัติเหตุจากการทางาน
3. ตัดสินใจเลือกใช้
4. ฝึ กอบรมและสอนงาน
5. เตรียมคน
6. ติดตามประเมินผล
30
ด้ านพนักงานหรื อลกู จ้ าง
อบุ ัติเหตุจากการทางาน
* คัดเลือกพนักงานก่ อนเข้ าทางานเป็ นอย่ างดี
* ฝึ กอบรมสอนงาน
* ทบทวนการปฏิบัติงานเป็ นระยะๆ
* สร้ างจิตสานึกด้ านความปลอดภัย ฯลฯ
31
การคานวณสถิติอุบตั ิเหตุ
• อัตราความถี่ในการเกิดอุบัตเิ หตุ
(IFR)
= (จ.น.คนที่บาดเจ็บ * จ.น.ชม.การ
ทางานเปรียบเทียบ) / จ.น.ชม.การ
ทางานทั้งหมด
• อัตราความรุ นแรงในการเกิด
อุบัตเิ หตุ (ISR)
= (จ.น.วันที่บาดเจ็บ * จ.น.ชม.การ
ทางานเปรียบเทียบ) / จ.น.ชม.การ
ทางานทั้งหมด
จานวนชั่วโมงการทางานทั้งหมด = จานวนคนงาน*จานวนชั่วโมงทีท่ างาน*1ปี (
52wk)
จานวนชั่วโมงการทางานเปรียบเทียบ
• ANSI = 1,000,000 ชัว่ โมงการทางาน
• OSHA = 200,000 ชัว่ โมงการทางาน
• HSE = 100,000 ชัว่ โมงการทางาน
32