Transcript ppt

แนวคิดระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
แนวคิดระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
แนวคิ ด ระบบการจั ด การความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน
ระบบการจัดการความปลอดภัยในการทางาน เริ่มต้ นขึน้ ที่ ประเทศ
อังกฤษ โดยในปี ค.ศ. 1996(พ.ศ. 2539) British Standard Institute (BSI)
ได้ กาหนดมาตรฐานขึน้ ภายใต้ ชื่อว่ า BS 8800 Guide to Occupational
Health and Safety Management Systems มีพืน้ ฐานมาจาก HSE
Guidance Successful Health and Safety Management HS (G) 65
เรียกว่ า ระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย
แนวคิดระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ต่ อมาในปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยได้ จัดทามาตรฐานเกีย่ วกับระบบ
การจั ด การอาชี ว อนามั ย และ ความปลอดภั ย คื อ มอก. 18000: 2540
(มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม 18000:2540) ในปี ค.ศ. 2001 (พ.ศ.
2544) องค์ การแรงงานระหว่ างประเทศ (International Labor Office หรือ
ILO) ได้ กาหนดแนวปฏิบัติเรื่องระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอ
นามัย คือ ILO-OSHMS 2001 (International Labor Office
Occupational Safety and Health Management Systems 2001)
แนวคิดระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ในปี พ.ศ. 2542 กระทรวงอุตสาหกรรมได้ นามาตรฐานBS 8800
(British Standard 8800) มาเป็ นต้ นแบบในการกาหนดมาตรฐานระบบการ
จัดการอาชี วอนามัยและความปลอดภัยและประกาศเป็ นมาตรฐาน มอก.
18001 2542 (มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม 18001: 2542) ให้ สถาน
ประกอบกิจการดาเนินการโดยสมัครใจ
แนวคิดระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ต่ อมากระทรวงแรงงานได้ ดาเนินการยกร่ างกฏกระทรวงระบบการ
จัดการด้ านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางาน
โดยนาแนวทางของ ILO-OSHMS 2001 มาเป็ นต้ นแบบ เพื่อให้ สถาน
ประกอบกิจการนาไปปฏิบัติ ซึ่งจะสามารถนาระบบการจัดการไปใช้ ในการ
ลดความเสี่ ย งต่ อ อั น ตรายและอุ บั ติ เ หตุ ต่ า งๆ ของผู้ ป ฏิ บั ติ ง านและ
ผู้ เ กี่ ย วข้ อ ง ตลอดจนมี ก ารปรั บ ปรุ ง ด าเนิ น งานของธุ ร กิ จ ให้ เ กิ ด ความ
ปลอดภัย และช่ วยสร้ างภาพพจน์ ความรั บผิดชอบขององค์ กรต่ อพนัก งาน
ภายในองค์ กร ต่ อองค์ กรเองและต่ อสั งคม
แนวคิดระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ระบบการจัดการความปลอดภัย อาชี วอนามัยและสภาพแวดล้ อม
ในการทางานที่มีใช้ ในปัจจุบันทั้งในประเทศ และต่ างประเทศมีหลายระบบ
ทั้ง นี้ก ารน าระบบการจั ด การความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้ อมในการทางาน มาใช้ น้ันขึน้ อยู่กับการดาเนินธุรกิจ และความ
พร้ อมของแต่ ละสถานประกอบกิจการ
แนวคิดระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
ระบบการจัดการความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อม
ในการทางาน แต่ ละระบบมีองค์ ประกอบที่แตกต่ างกัน ตัวอย่ างเช่ น
- มอก. 18001: 2542 (มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม
18001:2542)
- JISHA OSHMS Standards 2003
- มรท.8001-2546 ในปี พ.ศ. 2546
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
กระทรวงแรงงานได้ ใช้ ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชี วอ
นามัย ILO-OSHMS 2001 เป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบความปลอดภัย
อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางานที่ยั่งยืนโดยมุ่งหวังให้ สถาน
ประกอบกิจการได้ นาไปใช้ ในองค์ กรอันจะช่ วยในการดาเนินงานด้ า นความ
ปลอดภั ย ในการท างาน การแก้ ไ ขปั ญ หาการประสบอัน ตรายและความ
สู ญเสี ย และมีระบบการจัดการทีม่ ีประสิ ทธิภาพ
มาตรฐานระบบการจัดการอาชี วอนามัย และความปลอดภัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน ประกอบด้ วย
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
1. นโยบายด้ านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางาน
1.1 นายจ้ างต้ องให้ ผู้แทนลูกจ้ างมีส่วนร่ วมในการจัดทานโยบายด้ าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
1.2 นโยบายดังกล่าวต้ องทาเป็ นหนังสื อพร้ อมทั้งลงนามรับรองนโยบาย
นั้น และให้ เผยแพร่ โดยปิ ดประกายในทีเ่ ปิ ดเผย ณ สถานทีท่ างานของลูกจ้ าง
1.3 นายจ้ างต้ องให้ การสนับสนุนโดยจัดสรรเวลาและทรัพยากรเพือ่ ให้
สามารถนานโยบายไปสู่ การปฏิบัติให้ บรรลุวัตถุประสงค์ ด้านความปลอดภัย อา
ชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
2. การจัดการองค์ กรด้ านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อ ม
ในการทางาน
2.1 นายจ้ างต้ องเป็ นผู้นาในการจัดทาระบบการจัดการด้ านความ
ปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดด้ อมในการทางาน และต้ องแต่ งตั้ ง
ลูกจ้ างระดับบริหารอาวุโส
2.2 นายจ้ างต้ องจัดให้ มีการฝึ กอบรมและให้ ความรู้แก่ลูกจ้ าง
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
2.3 นายจ้ างต้ องจัดทาคู่มือการปฏิบัติงานเพือ่ ความปลอดภัยในการ
ท างานและเอกสารแสดงขั้ น ตอนการท างานที่ ป ลอดภั ย เพื่ อ ให้ ลู ก จ้ า ง
ปฏิบัติงานในหน้ าที่ให้ เกิดความปลอดภัย และมีการควบคุมลูกจ้ างให้ มีการ
ปฏิบัติงานตามคู่มือและเอกสารนั้น
2.4 นายจ้ างต้ องจัดให้ มกี ารจัดทาเอกสาร การบันทึกเอกสารซึ่งอาจ
อยู่ในรูปสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ การจัดเก็บ การค้ นหา การทบทวนและการ
ปรับปรุงเอกสารในระบบฯ และลูกจ้ างต้ องสามารถเข้ าถึงข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ อง
กับสภาพแวดล้อมในการทางานและสุ ขภาพอนามัยได้ รวมทั้งต้ องมีระบบ
การรักษาความลับส่ วนบุคคลทีจ่ าเป็ นด้ วย
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
3. แผนการดาเนินงานและการนาไปปฏิบัติ
3.1 นายจ้ างจะต้ องจัดให้ มีการชี้บ่ง ประเมินอันตรายและความ
เสี่ ยงต่ อสุ ขภาพและความปลอดภั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการท างานและ
สภาพแวดล้อมในการทางานด้ วยวิธีการที่เหมาะสมและต้ องจัดทามาตรการ
ในการป้องกันอันตรายและควบคุมความเสี่ ยงตามสภาพของงาน
3.2 นายจ้ างต้ องจัดให้ มีการเฝ้ าระวังสภาพแวดล้ อมในการทางาน
และการเฝ้ าระวัง สุ ข ภาพของลู ก จ้ า งโดยผู้ ที่มี ค วามสามารถเฉพาะจาก
ภายในหรือภายนอกสถานประกอบกิจการ
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
3.3 นายจ้ างต้ องจัดทาแผนป้องกัน และเตรี ยมความพร้ อมสาหรั บ
ตอบโต้ เหตุฉุกเฉินตามความเสี่ ยงของสถานประกอบกิจการ
3.4 นายจ้ างต้ องจัดให้ มีการฝึ กซ้ อมแผนป้องกัน และเตรีย มความ
พร้ อมสาหรับตอบโต้ เหตุฉุกเฉินอย่ างน้ อยปี ละหนึ่งครั้ง
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
3.5 กรณีที่ ส ถานประกอบกิจ การจ าเป็ นต้ อ งมี ผู้ รั บ เหมาเข้ า มา
ทางานให้ นายจ้ างจัดทาข้ อกาหนดด้ านความปลอดภัย อาชี วอนามั ย และ
สภาพแวดล้ อมในการทางานให้ ผู้รับเหมาปฏิบัติและใช้ เป็ นเกณฑ์ ในการ
ประเมินและคัดเลือกผู้รับเหมา
3.6 นายจ้ างต้ องจัด ให้ มีระบบการสอบสวนหาสาเหตุ ข องการ
บาดเจ็บ การเจ็บป่ วย โรค อุบัติเหตุและเหตุการณ์ เกือบเกิดอุบัติเหตุที่เกิด
จากการทางาน รวมทั้งผลกระทบต่ อการปฏิบัติงานของลูกจ้ าง และต้ อง
กาหนดมาตรการป้องกัน เพือ่ มิให้ เกิดเหตุซ้าอีก
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
4. การประเมินผลและการทบทวนการจัดการ
4.1 นายจ้ า งต้ อ งจั ด ท าเกณฑ์ ก ารชี้ วั ด ผลการปฏิ บั ติ ง านทั้ งเชิ ง
ปริ ม าณและเชิ ง คุ ณ ภาพและจั ด ท าขั้ น ตอนการประเมิ น ผล รวมทั้ ง
ดาเนินการตามขั้นตอนนั้น
4.2 นายจ้ างต้ องจัดให้ มีการตรวจประเมินระบบการจัดการด้ าน
ความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางานอย่ างน้ อยปี
ละหนึ่ งครั้ ง โดยผู้มีความสามารถเฉพาะจากภายในหรื อภายนอกสถาน
ประกอบกิจการซึ่ งเป็ นอิสระจากกิจกรรมที่ถูกตรวจสอบและแจ้ งผลการ
ตรวจประเมินเพือ่ การพัฒนาระบบให้ สมบูรณ์ ยงิ่ ขึน้
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
4.3 นายจ้ างต้ องจัดให้ มีการทบทวนการจัดการ โดยบุคคลทีน่ ายจ้ าง
แต่ งตั้ งร่ วมกั บ คณะกรรมการความปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และ
สภาพแวดล้ อมในการทางานในสถานประกอบกิจการ อย่ างน้ อยปี ละหนึ่ ง
ครั้ง
4.4 นายจ้ างต้ องเก็บบันทึกผลการตรวจประเมินระบบและบันทึ ก
การทบทวนการจัดการไว้ ณ สถานประกอบกิจการ
ระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัยตาม
แนวทางของกระทรวงแรงงาน
5. การดาเนินการปรับปรุง
นายจ้ า งต้ อ งจั ด ให้ มี แ ผนงาน และการด าเนิ น การส าหรั บ การ
ปรั บ ปรุ ง ทุ ก องค์ ป ระกอบในระบบ เพื่ อ บรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ด้ า นความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานในระบบการจัดการ
ด้ านความปลอดภั ย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางานของ
สถานประกอบกิจการ
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
1.หลักการ
1.1 ลดและควบคุมความเสี่ ยงต่ ออันตราย ของพนักงาน และผู้เกีย่ วข้ อง
1.2 เพิม่ ประสิ ทธิภาพการดาเนินงานขององค์ กร
1.3 แสดงถึงความรับผิดชอบขององค์ กรต่ อสั งคม
2.วัตถุประสงค์ ของการดาเนินการระบบ
เพื่อให้ ธุรกิจดาเนินไปพร้ อมกับการจัดการที่ดีเกี่ยวกับความปลอดภัย
และสภาพแวดล้ อมที่ดีในการทางานพร้ อมกับพัฒนาปรั บปรุ งการดาเนิ นการ
เพื่อให้ บรรลุตามนโยบายความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมใน
การทางาน
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
3.ขอบเขต
3.1 กาหนดข้ อกาหนดของระบบการจัดการความปลอดภัยและ
อาชีวอนามัย
3.2 ก าหนดขึ้น เพื่ อ เป็ นแนวทางพัฒ นาระบบการจั ด การความ
ปลอดภัยและอาชี วอนามัยขององค์ กรอย่ างต่ อเนื่องโดยคานึงถึงข้ อกาหนด
ตามกฎหมาย และความรับผิดชอบของผู้บริหารต่ อพนักงานและผู้เกีย่ วข้ อง
3.3 เป็ นเกณฑ์ พจิ ารณาให้ การรับรอง
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
4.การนาไปใช้
4.1 องค์ ประกอบในมาตรฐานนี้มีความสาคัญต่ อระบบการจัดการ
ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
4.2 ต้ องคานึงถึงปัจจัยด้ านบุคคล วัฒนธรรม ระเบียบ กฎเกณฑ์
และปัจจัยอืน่ ๆ ภายในองค์ กร เพือ่ ให้ ระบบมีประสิ ทธิภาพ
4.3 สามารถกาหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ ด้านความปลอดภัย
และอาชี วอนามัย ขั้นตอนในการนาไปใช้ พร้ อมชี้ให้ เห็นความสาเร็ จตาม
เกณฑ์ ทกี่ าหนด เพือ่ ให้ เกิดการปรับปรุงอย่ างต่ อเนื่อง
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
5.บทนิยาม
5.1 การชี้บ่งอันตราย หมายถึง กระบวนการในการค้ นหาอันตรายที่
มีอยู่และการระบุลกั ษณะของอันตราย
5.2 การทบทวนสถานะ หมายถึง การประเมินระบบการจัดการ
ความปลอดภัย และ อาชีวอนามัยอย่ างมีแบบแผน
5.3 การประเมิน ความเสี่ ย ง หมายถึง กระบวนการการจัดระดับ
ความเสี่ ย งของอัน ตราย และการตั ด สิ น ว่ า ความเสี่ ย งนั้ น อยู่ ใ นระดั บ ที่
ยอมรับได้ หรือไม่
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
5.4 การตรวจประเมิน หมายถึง การตรวจสอบโดยบุคคลภายใน
หรื อภายนอกอย่ างเป็ นระบบและเป็ นไปโดยอิสระ เพื่อตัดสิ นว่ ากิ จกรรม
ต่ า งๆ และผลที่ เ กิด ขึ้น เป็ นไปตามระบบที่ อ งค์ ก รก าหนดไว้ และมี ก าร
น าไปใช้ อย่ างมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ และประสิ ทธิ ผ ลตามนโยบายและ
วัตถุประสงค์
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6.ข้ อกาหนดของระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
6.1 ข้ อกาหนดทัว่ ไป
6.1.1 ต้ องจัดทาและปฏิบัติตามระบบการจัดการความปลอดภัย
และ อาชีวอนามัยตามข้ อ กาหนดซึ่งระบุในข้ อ 6 นี้
6.2 ทบทวนสถานะเบือ้ งต้ น
6.2.1 ต้ องทบทวน
- ข้ อกาหนดตามกฎหมาย
- ประสิ ทธิภาพ และประสิ ทธิผลของทรัพยากรทีม่ ีอยู่
6.2.3. ต้ องเก็บบันทึก
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6.3 นโยบายความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
6.3.1. ต้ องกาหนดโดยพนักงานมีส่วนร่ วม และจัดทาเป็ นเอกสาร
พร้ อมลงนามรับรองโดยผู้บริหารระดับสู ง
6.3.2. ต้ องมีเนือ้ หา ดังนี้
- เป็ นส่ วนหนึ่งของธุรกิจ
- เหมาะสมกับลักษณะความเสี่ ยง
- แสดงเจตจานงทีจ่ ะปฏิบัติตามกฎหมายและข้ อกาหนดอืน่ ๆ
- แสดงเจตจานงทีจ่ ะปรับปรุงและ ป้องกันอันตรายอย่ างต่ อเนื่อง
- แสดงเจตจานงทีจ่ ะจัดสรรทรัพยากรให้ เพียงพอเหมาะสม
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6.4 การวางแผน
6.4.1. การชี้บ่งอันตราย และประเมินความเสี่ ยง
1). ต้ องจัดทา Procedure
- การชี้บ่งอันตราย และประเมินความเสี่ ยง
- ทุกกิจกรรม และสภาพแวดล้อมในการทางานของพนักงาน และ
ผู้เกีย่ วข้ องเพือ่ กาหนดมาตรการควบคุมความเสี่ ยง
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
2) ต้ องทบทวนการประเมินความเสี่ ยง
- กิจกรรมใหม่
- การปรับปรุงเปลีย่ นแปลงกิจกรรม
3) ต้ องเก็บบันทึก
6.4.2. กฎหมาย และข้ อกาหนดอืน่ ๆ
6.4.3. การเตรียมการจัดการด้ านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6.4.4. การนาไปใช้ และการปฏิบัติการ
1). โครงสร้ างและความรับผิดชอบ
2). การฝึ กอบรม การสร้ างจิตสานึก และความรู้ความสามารถ
3). การสื่ อสาร
4). เอกสารและการควบคุมเอกสารในระบบการจัดการฯ
5). การจัดซื้อจัดจ้ าง
6). การควบคุมการปฏิบัติ
7). การเตรียมความพร้ อมสาหรับภาวะฉุกเฉิน
8). การเตือนอันตราย
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6.4.5. การตรวจสอบและแก้ไข
1) การติดตามตรวจสอบ และการวัดผลการปฏิบัติ
2) การตรวจประเมิน
3) การแก้ไขและการป้องกัน
4) การจัดทาและเก็บบันทึก
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6.4.6. การทบทวนการจัดการ
1). ผู้บริ หารระดับสู ง และคณะกรรมการความปลอดภัย อาชี วอนา
มั ย และสภาพแวดล้ อ มในการท างาน ต้ อ งทบทวนระบบการจั ด การตาม
ระยะเวลาที่กาหนด เพือ่ ให้ แน่ ใจว่ าระบบการจัดการมีความเหมาะสม เพียงพอ
มีประสิ ทธิภาพ และประสิ ทธิผล
2).โดยต้ องพิจารณาถึง
(1) ผลการดาเนินงานของระบบทั้งหมด
(2) ผลการดาเนินการเฉพาะแต่ ละข้ อกาหนดของระบบการจัดการ
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6.5 เอกสารในระบบ
6.5.1. เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เอกสารขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านอย่ างน้ อยต้ องประกอบด้ วย
วัตถุประสงค์ ขอบเขต ผังขั้นตอนการปฏิบัติ งาน รายละเอียด ขั้นตอนการ
ปฏิบัติและแบบบันทึกที่เกีย่ วข้ อง เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติ งานที่ควรจัดทา
ได้ แก่
1). ขั้นตอนการกาหนดนโยบายความปลอดภัย และอาชี วอนามัย
2). ขั้นตอนการจัดองค์ กรด้ านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
3). ขั้นตอนการดาเนินงานและการนาไปปฏิบัติ มีดังต่ อไปนี้
(1) การชี้บ่งอันตราย และการประเมินความเสี่ ยง
(2) การเฝ้ าระวังสภาพแวดล้อมในการทางาน
(3) การเฝ้ าระวังสุ ขภาพของลูกจ้ าง
(4) การจัดทาแผนป้องกันและเตรียมความพร้ อมสาหรับเหตุฉุกเฉิน
(5) การฝึ กซ้ อมแผนป้องกันและเตรียมความพร้ อมสาหรับโต้ ตอบ
เหตุฉุกเฉิน
(6) การประเมินและการคัดเลือกผู้รับเหมา
(7) การสอบสวนอุบัติเหตุและเหตุการณ์ เกือบเกิดอุบัติเหตุ
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
4). ขั้ น ตอนการประเมิ น ผลและการทบ ทวนการจั ด กา ร
ประกอบด้ วยเรื่องดังต่ อไปนี้
(1) การติดตามตรวจสอบ และการวัดผลการปฏิบัติ
(2) การตรวจประเมินระบบการจัดการ
(3) การแก้ไขและการป้องกัน
(4) การทบทวนการจัดการ
5). ขั้นตอนการดาเนินการปรับปรุง ซึ่งระบุข้นั ตอนการปฏิบัติเมื่อ
พบปั ญหาและข้ อบกพร่ องจากการตรวจสอบ แล้ วมิการแจ้ งผู้เกี่ยวข้ องให้
เสนอแผนการแก้ไขและปรับปรุง กาหนดเวลาแล้วเสร็จและการรายงานผล
การจัดทาคู่มอื ระบบการจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
6.5.2. เอกสารวิธีการปฏิบัติงาน
เป็ นเอกสารทีร่ ะบุถึงรายละเอียดเกีย่ วกับวิธีการทางานในแต่ ละ
เรื่องให้ เป็ นไปตามข้ อกาหนด เพือ่ ให้ ผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติให้ เป็ นมาตรฐาน
เดียวกัน โดยเฉพาะอย่ างยิง่ วิธีการปฏิบัติงานที่นอกเหนือจากที่กฎหมาย
กาหนดให้ จัดทา เละเป็ นวิธีการปฏิบัติงานทีค่ วบคุมและป้องกันอันตราย
6.5.3 เอกสารสนับสนุน
เป็ นเอกสารอืน่ ๆ นอกเหนือจากเอกสารทีก่ ล่าวมาแล้วข้ างต้ นซึ่ง
สถานประกอบกิจการจะต้ องมีไว้ เพือ่ สนับสนุนการดาเนินงานเช่ น แบบ
บันทึกต่ างๆกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องเป็ นต้ น
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
ด้ วยเจตนารมย์ ของกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริ หาร
และการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการ
ทางาน พ.ศ. 2549 ลงวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2549 หมวด 1ข้ อ 3 กาหนดให้
นายจ้ างจัดให้ มีข้อบังคับ และคู่มือว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางานไว้ ใน
สถานประกอบกิจการ โดยข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางานนั้น
อย่ างน้ อยต้ องกาหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภั ย เพือ่ ควบคุม
มิให้ มีการกระทาทีอ่ าจก่อให้ เกิดความไม่ ปลอดภัยในการทางาน
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
ข้ อ 4 กาหนดให้ นายจ้ างซึ่งมีผู้รับเหมาชั้นต้ นหรือผู้รับเหมาช่ วงเข้ า
มาปฏิบัติการในสถานประกอบกิจการจัดให้ มีข้อบังคับและคู่มือตามข้ อ 3
สาหรั บผู้รับเหมาดังกล่ าว เพื่อกากับดูแลการดาเนินงานของผู้รับเหมา ให้
เป็ นไปตามกฎกระทรวงนี้
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
ข้ อ 25(4)ได้ ก าหนดให้ ค ณะกรรมการมี ห น้ า ที่ ใ นการพิ จ ารณา
ข้ อบังคับ และคู่มือรวมทั้งมาตรฐานด้ านความปลอดภัยในการทางานของ
สถานประกอบกิจการเสนอต่ อนายจ้ าง
ข้ อ 34 (3) กาหนดให้ หน่ วยงานความปลอดภัย มีหน้ าที่จัด ทาคู่มือ
และมาตรฐานว่ า ด้ ว ยความปลอดภั ย ในการท างานไว้ ใ นสถานประกอบ
กิจการ เพือ่ ให้ ลูกจ้ างหรือผู้ทเี่ กีย่ วข้ องได้ ใช้ ประโยชน์
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
ดังนั้น ตามเจตนารมณ์ ของกฎกระทรวงดังกล่ าวข้ างต้ น ข้ อบั งคับ
ว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางานจะประกอบด้ วย ขั้นตอนและวิธีก าร
ปฏิบัติงานที่ปลอดภัย ซึ่งจะมีหมายความในลักษณะเดียวกับมาตรฐานการ
ปฏิบัติงานด้ านความปลอดภัยที่รวมถึงขั้นตอนการปฏิบัติงานและวิธีการ
ปฏิบัติงานว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน สาหรั บคู่มือว่ าด้ วยความ
ปลอดภัยในการทางาน จะเป็ นเอกสารที่รวบรวมข้ อมูลสาคัญเกีย่ วกับความ
ปลอดภัยในการทางาน
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
เช่ น นโยบาย เป้าหมาย กฎระเบียบและข้ อบังคับต่ างๆ ซึ่ งรวมถึง
กฎหมาย กฎระเบี ยบ ข้ อแนะหรื อ มาตรฐานด้ า นความปลอดภั ย ในการ
ท างาน และมาตรการต่ า งๆในด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้ อมในการทางานเพื่อใช้ ประโยชน์ ในด้ านต่ างๆ เช่ นการควบคุม
และป้ องกั น การประสบอั น ตรายจากการท างาน การปฏิ บั ติ ง าน การ
ฝึ กอบรม การสอนงาน การแจกจ่ ายเป็ นคู่มือ เป็ นต้ น
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
การจัดทาคู่มือความปลอดภัยในการทางาน
คู่มือความปลอดภัยในการทางานหมายถึงแนวทางการปฏิบัติงาน
เพือ่ ความปลอดภัย เป็ นเอกสารที่อธิบายภาพรวมของงานความปลอดภัย อา
ชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางานของสถานประกอบกิจการ เพื่ อ
ใช้ เ ป็ นแนวทางในการบริ ห ารจั ด การความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้ อ มในการท างานของสถานประกอบกิ จ การ และใช้ เป็ น
เอกสารอ้างอิงในการดาเนินการด้ านความปลอดภัยในการทางาน
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
1. ขั้นตอนในการจัดทาคู่มือความปลอดภัยในการทางาน
(1) กาหนดผู้รับผิด ชอบในการเตรี ยมร่ างคู่ มือ โดยกรณีที่สถาน
ประกอบกิจการมีหน่ วยงานความปลอดภัยให้ หน่ วยงานเป็ นผู้ดาเนินการ
เพือ่ จัดทาคู่มือตามขั้นตอน ดังนี้
- กาหนดวัตถุประสงค์ เนือ้ หา และรูปแบบของคู่มือ
- จัดทาร่ างคู่มือตามวัตถุประสงค์ เนือ้ หาและรูปแบบทีก่ าหนด
- น าเสนอคณะกรรมการความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้อมในการทางานพิจารณาในรายละเอียด
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
(2) คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อม
ในการทางาน พิจารณาทบทวนร่ างคู่มือ เพือ่ แก้ไขปรับปรุง
(3) คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อม
ในการทางาน ลงมติ แล้วนาเสนอนายจ้ างเพือ่ ให้ ความเห็นชอบ
(4) ดาเนินการจัดพิมพ์คู่มือฉบับจริง
(5) แจกจ่ ายคู่มือไปยังหน่ วยงานต่ าง ๆ ของสถานประกอบกิจการ
(6) แก้ไขปรับปรุงคู่มือให้ ทนั สมัยอยู่เสมอ
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
2. เนือ้ หาของคู่มือความปลอดภัยในการทางาน ควรประกอบด้ วย
(1) บทนา สารบัญ
(2) วัตถุประสงค์ ของคู่มือ
(3) สาส์ นจากนายจ้ าง หรือผู้บริหารระดับสู ง
(4) นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการ
ทางาน ของสถานประกอบกิจการ และเป้าหมาย
(5) การจั ด หน่ วยงานความปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และ
สภาพแวดล้ อมในการทางาน ของสถานประกอบกิจการในแผนผังองค์ กร
และหน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
(6) คณะกรรมการความปลอดภัยอาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการ
ทางาน ของสถานประกอบกิจการและหน้ าที่ความรับผิดชอบ
(7) ข้ อ มู ล และความรู้ เ บื้อ งต้ น ด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้ อมในการท างาน เช่ น สาเหตุ ก ารประสบอัน ตรายจากการทางาน
อันตรายจากสิ่ งแวดล้อมการทางาน อันตรายจากเครื่องจักร ไฟฟ้า เป็ นต้ น
(8) กฏระเบียบความปลอดภัยในการทางานทัว่ ไป (General Safety Rule)
(9) กฎระเบียบ หรื อมาตรฐานความปลอดภัยในการทางานเฉพาะเรื่ อง
เช่ น มาตรฐานการท างานกั บ เครื่ อ งปั๊ ม โลหะ กฎระเบี ย บการท างานส าหรั บ
ผู้รับเหมา กฏระเบียบการทางานเกีย่ วกับไฟฟ้า เป็ นต้ น
การจัดทาคู่มอื ด้ านความปลอดภัยในการทางาน
หมายเหตุ: ถ้ าจะเรียกว่ ามาตรฐาน ควรเป็ นการนาข้ อความมาจาก
มาตรฐานต้ นแบบที่ผู้กาหนดได้ ทาการศึกษา วิจัย หรือทดลอง และได้ มีการ
เผยแพร่ จนเป็ นที่รับรองกันโดยทั่วไป แต่ ถ้ามีการนามาตรฐานมาดัดแปลง
แก้ ไข หรื อคิดขึ้นเอง ควรเรี ยก เป็ นอย่ างอื่น เช่ น กฎ ระเบียบ ข้ อกาหนด
หรือ ข้ อบังคับ เป็ นต้ น
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
ข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางานหมายถึงวิธีการปฏิบัติ
เพื่ อ ให้ พ้ น จากอั น ตรายที่ ค้ น พบในการท างาน ควรได้ ม าจากการชี้ บ่ ง
อันตราย และประเมินความเสี่ ยง ซึ่งปัจจุบันที่นิยมใช้ มีหลายเทคนิค ได้ แก่
เทคนิคการวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย (Job Safety Analysis : JSA)
เทคนิค WHAT - IF Analysis เทคนิค Hazard and Operability Studied
(HAZOP) เทคนิค Fault - Tree Analysis (FTA) เทคนิค Failure Modes
and Effects Analysis (FMEA) เป็ นต้ น แต่ เทคนิคที่เหมาะสมและสามารถ
สร้ างข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางานได้ มากที่สุด คือ เทคนิค
การวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย (Job Safety Analysis: JSA)
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
การวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย (Job Safety Analysis: JSA)
เป็ นวิธีการค้ นหาอันตรายที่มีอยู่ในแต่ ละขั้นตอนของการทางาน
แล้ ว ก าหนดมาตรการในการป้ องกั น อั น ตรายเหล่ า นั้ น จะเห็ น ว่ า การ
วิ เ คราะห์ ง านเพื่ อ ความปลอดภั ย นี้ เ ป็ นวิ ธี ก ารหนึ่ ง ในการที่ จ ะก าหนด
มาตรการในการป้องกันอันตราย หรื อป้องกันการบาดเจ็บของผู้ปฏิบัติงาน
ซึ่งวิธีการหรือแผนการปรับปรุงงานให้ ปลอดภัยมีข้นั ตอน ดังนี้
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
1) ศึกษาและบันทึกขั้นตอนของงานเพื่อให้ ทราบถึงอันตรายที่มี
อยู่หรือแฝงอยู่ของงานนั้นๆ ทั้งด้ านความปลอดภัย และสุ ขภาพอนามัย
2) กาหนดแนวทางที่ดีที่สุดในการทางาน เพื่อที่จะลดหรื อขจัด
และป้องกันและควบคุมอันตรายเหล่ านั้น โดยการพิจารณามาตรการที่จะ
ไปควบคุมป้องกันไม่ ให้ เกิดสาเหตุของอันตรายนั้น ถ้ าไม่ สามารถกระทา
ได้ จึงพิจารณามาตรการลดความรุนแรง
สามารถนาผลการวิเคราะห์ ซึ่งก็คอื การปรับปรุงวิธีการทางาน ซึ่ง
เป็ นวิธีการหนึ่งในการจัดทาเป็ นวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย (Safe Work
Instruction) และสามารถนามาจัดทาเป็ นข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัย
ในการทางานได้
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
ขั้นตอนการวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย
1. รวบรวมงานทั้ ง หมดที่ รั บ ผิด ชอบ โดยรวมประเภทของงาน
กิ จ กรรมหรื อ ต าแหน่ งงานที่ มี ใ นหน่ วยงานว่ า มี ง านใดบ้ า ง จ านว น
ผู้ปฏิบัติงาน จานวนครั้งทีป่ ฏิบัติในแต่ ละวัน และงานใดเป็ นงานวิกฤติ
2. ทุกงานควรจะทาการวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
โดยปกติงานทุกงานควรได้ รับการวิเคราะห์ เพือ่ ความปลอดภัย และ
หัวหน้ างานควรเป็ นหลักในการทาการวิเคราะห์ แต่ อาจจะทาการจัด ลาดับ
ความสาคัญของงานทีเ่ ป็ นงานวิกฤติโดยพิจารณาจากข้ อมูลต่ อไปนี้
- ความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุของงาน
- ความร้ ายแรงของอุบัติเหตุทเี่ กิดขึน้ ในแต่ ละงาน
- ความรุนแรงทีแ่ ฝงอยู่ในงาน
- งานใหม่ ที่เกิดจากการเปลีย่ นแปลงกระบวนการผลิต
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
3. พนักงานทีเ่ กีย่ วข้ องกับงานที่จะวิเคราะห์
พิจารณาจานวนพนักงานทีเ่ กีย่ วข้ องกับการวิเคราะห์ งาน และชี้แจง
ทาความเข้ าใจกับพนักงานที่เกีย่ วข้ องว่ าเป็ นการศึกษาเพือ่ ให้ ทราบอันตราย
และเพื่ อ ควบคุ ม อั น ตรายนั้ น ซึ่ ง ควรให้ พ นั ก งานได้ มี ส่ วนร่ วมในการ
วิเคราะห์ งานทุกขั้นตอน
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
4. แบ่ งขั้นตอนงานทีจ่ ะวิเคราะห์
งานทุกงานสามารถแบ่ งขั้นตอนการปฏิบัตงิ านออกได้ เป็ นลาดับ ใน
การแบ่ งขั้นตอนการทางานนั้น อาจจะทาได้ โดยเฝ้ าสั งเกตการทางานของ
พนักงานในการปฏิบัติงานจริงในพืน้ ที่ แล้ วนามาจัดทารายการขั้นตอนงาน
เรี ยงตามลาดับก่ อนหลัง โดยเลือกเฉพาะขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ สาคัญๆ
โดยไม่ ควรจะแบ่ งขั้นตอนของงานละเอียดจนเกินไป และไม่ ควรแบ่ งแยก
งานน้ อยจนเกินไปด้ วย
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
5. วิ เ คราะห์ อั น ตราย และความสู ญ เสี ย ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในแต่ ล ะ
ขั้นตอนของงาน
หลังจากที่แบ่ งขั้นตอนการทางานแล้ ว ต้ องพยายามตรวจสอบ
หรือค้ นหาอันตรายที่มีอยู่หรือแฝงอยู่ หรืออาจเกิดขึน้ ในแต่ ละขั้นตอน โดย
ผู้วเิ คราะห์ อาจใช้ ประเด็นในการวิเคราะห์ ดังต่ อไปนี้
5.1 ผู้ปฏิบัติงาน มีโอกาสได้ รับอันตรายอะไรบ้ าง มีสาเหตุอย่ างไร
5.2 เครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุทเี่ ป็ นต้ นเหตุของอันตราย
5.3 สภาพแวดล้อมในการทางานทีม่ ีศักยภาพเชิงอันตราย
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
6. กาหนดมาตรการเพื่อการป้องกันอันตรายและปรั บปรุ งแก้ ไขใน
แต่ ละขั้นตอนของงาน
หลังจากได้ ทราบอันตรายต่ างๆแล้ วก็จะต้ องพยายามหามาตรการ
ในการขจัดอันตรายต่ างๆให้ หมดไป การเสนอแนะเพื่อการป้องกันอัน ตราย
สามารถดาเนินการโดยควบคุมป้องกันไม่ ให้ เกิดสาเหตุ หรือลดความรุ นแรง
โดยใช้ มาตรการดั ง นี้ มาตรการที่ เ ป็ นอุ ป กรณ์ ป้ องกัน มาตรการที่ เ ป็ น
แผนการตรวจสอบบารุ งรักษา มาตรการที่เป็ นวิธีปฏิบัติงาน และมาตรการ
ใช้ อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่ วนบุคคลทีเ่ หมาะสม
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
การจัดทาข้ อบังคับความปลอดภัยในการทางาน
ข้ อ บั ง คั บ ความปลอดภั ย ในการท างานจะระบุ ข้ั น ตอน และวิ ธี
ปฏิบัติงานที่ต้องปฏิบัติ เพื่อให้ ได้ ท้ังผลผลิต และเกิดความปลอดภัยในการ
ทางานสาหรับผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งมีข้นั ตอนการดาเนินการ ดังนี้
1. ด าเนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขตามมาตรการ เมื่ อ ได้ มี ก ารหารื อ กั บ
ผู้ปฏิบัติงานแล้วต้ องดาเนินการแก้ไขตามมาตรการโดย
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
1.1 กาหนดวิธีการปฏิบัติงานใหม่ ในขั้นตอนงาน โดยอาจจะมีการ
รวบรวมวิ ธี ป ฏิ บั ติ เ ก่ า กั บ ใหม่ เ ข้ า ด้ ว ยกั น หรื อ เพิ่ ม ล าดั บ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ ห้
เหมาะสม แล้ วจัดทาเป็ นข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน และ
ต้ องจัดการฝึ กอบรมให้ แก่พนักงานด้ วย
1.2 บางครั้งไม่ จาเป็ นต้ องเปลี่ยนวิธีการทางานใหม่ แต่ อาจจะต้ อง
พิจารณาว่ าจาเป็ นต้ องเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้ อมหรือออกแบบเครื่ องมือ
และอุปกรณ์ ใหม่ เช่ น เพิม่ ฝาครอบที่เครื่องจักร หรือจัดหาอุปกรณ์ คุ้มครอง
ความปลอดภัยส่ วนบุคคล ทั้งนีเ้ พือ่ ขจัดและลดอันตรายลง กรณีนีจ้ ะไม่ เป็ น
ข้ อบังคับ
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
1.3 ถ้ าหากอันตรายยังไม่ หมดไป ก็ต้องพยายามลดความถี่ของการ
ทางานนั้นลง เมื่อจัดทามาตรการเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว ควรจะได้ มี การชี้แจง
และหารื อกับพนักงานทั้งหมดที่ทางานนั้น ซึ่ งอาจจะได้ รับแนวความคิด
และข้ อเสนอแนะของพนักงานในส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับอันตรายและแนวทาง
ในการแก้ ไข ที่เป็ นประโยชน์ ก็ได้ และจะต้ องมั่นใจว่ า พนักงานทุกคนเข้ าใจ
ในสิ่ งที่กาหนดให้ เขาทา และมีเหตุผลในการเปลี่ยนกระบวนการทางานนั้น
อย่ างเพียงพอ
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
2. นามาตรการที่พนักงานต้ องปฏิบัติมาจัดทาข้ อบังคับความปลอดภัยใน
การทางานโดยต้ องระบุ ขั้นตอนงาน และวิธีปฏิบัติงานควบคู่กันไป เช่ น
งานย่ อยมันแกว ขั้นตอนส่ งมันแกวเข้ าเครื่ อง วิธีปฏิบัติงาน ให้ ใช้ อุปกรณ์
ส่ งมันแกวเข้ าเครื่องทุกครั้ง
3. นาข้ อบังคับความปลอดภัยในการทางานเข้ าสู่ การพิจารณาในที่ประชุ ม
คณะกรรมการความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และสภาพแวดล้ อ มในการ
ทางาน เพือ่ เสนอความเห็นต่ อนายจ้ าง
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
4. นายจ้ างพิจารณาให้ ความเห็นชอบออกเป็ นข้ อบังคับความปลอดภัย ใน
การท างาน เพื่อ ให้ พ นั ก งานปฏิ บั ติ ต ามต่ อ ไป ซึ่ ง คณะกรรมการฯ ควร
กาหนดให้ มีการสารวจการปฏิบัติตามข้ อบังคับความปลอดภัยในการทางาน
เพือ่ พัฒนาปรับปรุงต่ อไป
การจัดทาข้ อบังคับว่ าด้ วยความปลอดภัยในการทางาน
4. นายจ้ างพิจารณาให้ ความเห็นชอบออกเป็ นข้ อบังคับความปลอดภัย ใน
การท างาน เพื่อ ให้ พ นั ก งานปฏิ บั ติ ต ามต่ อ ไป ซึ่ ง คณะกรรมการฯ ควร
กาหนดให้ มีการสารวจการปฏิบัติตามข้ อบังคับความปลอดภัยในการทางาน
เพือ่ พัฒนาปรับปรุงต่ อไป
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
ข้ อมูลทีใ่ ช้ เป็ นตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
1. ข้ อมูลเกีย่ วกับการเกิด
2. ข้ อมูลเกีย่ วกับการเจ็บป่ วยและภาวะสุ ขภาพของพนักงาน
3. ข้ อมูลเกีย่ วกับการเกิดเหตุการณ์ เกือบเกิดอุบัติเหตุ
4. ข้ อมูลเกีย่ วกับการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทางาน
5. ข้ อมูลเกีย่ วกับค่ าใช้ จ่าย
6. สถิติการประสบอันตรายจากการทางาน
7. ข้ อมูลผลการดาเนินการตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม ด้ าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
การคานวณอัตราการประสบอันตรายจากการทางาน
1. อัตราการประสบอันตรายจากการทางานต่ อลูกจ้ าง 1,000 คน
อัตราการประสบอันตรายจากการทางานต่ อลูกจ้ าง 1,000 คน เป็ น
การคานวณการเกิดการประสบอันตรายจากการทางานที่เกิดขึน้ ในช่ วงเวลา
(เช่ น ใน 1 ปี ) โดยคิดเป็ นอัตราต่ อจานวนลูกจ้ าง 1,000 คน
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
สู ตรคานวณคือ
N x 1,000
M
กาหนดให้
N = จานวนรายผู้ทปี่ ระสบอันตรายในหน่ วยงานในช่ วงเวลา
M = จานวนลูกจ้ างโดยเฉลีย่ ในหน่ วยงานในช่ างเวลา
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
2. อัตราการตายเนื่องจากการทางานต่ อลูกจ้ าง 100,000 คน
อัตราการตายเนื่องจากการทางานต่ อลูกจ้ าง 100, 000 คน เป็ นการ
คานวณอัตราการตาเนื่องจากการทางานที่เกิดขึน้ ในช่ วงเวลา (เช่ น ใน 1 ปี )
โดยคิดเป็ นอัตราต่ อจานวนลูกจ้ าง 100,000 คน
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
สู ตรคานวณคือ
N x 1,000,000
M
กาหนดให้
N = จานวนผู้ทตี่ ายจากการทางานในหน่ วยงานในช่ วงเวลา
M = จานวนลูกจ้ างโดยเฉลีย่ ในหน่ วยงานในช่ วงเวลา
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
3. อัตราความถี่การบาดเจ็บ (I.F.R.)
อัตราความถี่การบาดเจ็บ (Injury Frequency Rate, I.F.R.) เป็ น
การค านวณอัต ราความถี่ ข องการบาดเจ็ บ จากจ านวนรายของลู ก จ้ า งที่
บาดเจ็บเนื่องจากการทางานในช่ วงเวลาหนึ่งต่ อชั่ วโมงการทางานทั้งหมด
จานวน 1,000,000 ชั่วโมง
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
สู ตรคานวณคือ I.F.R = N x 1,000,000
HM
กาหนดให้
N = จานวนรายทีไ่ ด้ รับบาดเจ็บในหน่ วยงาน
MH = จานวนชั่วโมงการทางานทั้งสิ้นของลูกจ้ างในหน่ วยงาน
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
4. อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บ (I.S.R.)
อัตราความรุ นแรงของการบาดเจ็บ (Injury Severity Rate, I.S.R.)
เป็ นการคานวณอัตราความรุ นแรงของการบาดเจ็บ คานวณจากจานวนวัน
ทั้งหมดที่ลูกจ้ างต้ องหยุดงานเพื่อรั กษาพยาบาลจนกว่ าจะกลับไปทางาน
ใหม่ ได้ ต่อชั่วโมงการทางาน 1, 000,000 ชั่วโมง
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
สู ตรคานวณคือ I.S.R = DL x 1,000,000
HM
กาหนดให้
DL = จานวนวันวันหยุดงานหรือสู ญเสี ยไปเนื่องจากเกิดการบาดเจ็บ
MH = จานวนชั่วโมงการทางานทั้งสิ้นของลูกจ้ างในหน่ วยงาน
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
5. ดัชนีความรุนแรงโดยเฉลีย่ ของการบาดเจ็บ (A.S.I.)
ดัชนีความรุ นแรงโดยเฉลี่ยของการบาดเจ็บ (Average Severity
Index, A.S.I.) เป็ นการคานวณจานวนวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจ้ างหยุดงาน
เนื่องจากการบาดเจ็บจากการทางานต่ อผู้บาดเจ็บหรื อประสบอันตราย 1
ราย
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
สู ตรคานวณคือ A.S.I = DL x 1,000,000
N
กาหนดให้
DL = จานวนวันหยุดงานหรือสู ญเสี ยไปเนื่องจากการเกิดการบาดเจ็บ
N = จานวนรายผู้ทไี่ ด้ รับบาดเจ็บในหน่ วยงาน
หรือ = I.S.R.
I.F.R.
ตัวชี้วดั ผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
6. ดัชนีการบาดเจ็บพิการ (D.I.I.)
ดัชนีการบาดเจ็บพิการ (Disabling Injury Index, D.I.I.) เป็ นการ
คานวณเพื่อช่ วยตัด สิ น ความรุ น แรงของปั ญหา โดยอาศั ย ความสั มพันธ์
ระหว่ า งอั ต ราความถี่ ข องการบาดเจ็ บ และอั ต ราความรุ น แรงของการ
บาดเจ็บรวมออกมาเป็ นดัชนีเดียวกัน
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
วัตถุประสงค์ ของการประเมินผล
1. เพือ่ ประเมินความก้าวหน้ าของงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน ของหน่ วยงาน
2. เพือ่ ประเมินผลงานรวมของหน่ วยงานว่ าบรรลุตามเป้าหมาย
ของแผนงานมากน้ อยเพียงใด
3. เพือ่ นาผลการประเมินประกอบการพิจารณาวางแผนงานความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ต่ อไป
4. เพือ่ นาผลการประเมินปรับปรุงแก้ไขปัญหาอุปสรรคทีเ่ กิดขึน้
5. เพือ่ นาผลการประเมินมาใช้ ในการบริหารงานความปลอดภัย
ต่ อไป
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
ประโยชน์ ของการประเมินผล
1. การประเมินผลก่อให้ เกิดการป้อนกลับ (Feedback) ของข้ อมูล
ระหว่ างผู้ปฏิบัติและผู้บริหารงาน
2. การประเมินผลทาให้ ทราบความก้าวหน้ าของงาน
3. การประเมินผลทาให้ ทราบถึงปัญหาทีเ่ กีย่ วข้ อง
4. การประเมินผลจะช่ วยในการพิจารณาปรับปรุงแก้ไข
ข้ อบกพร่ องของงาน
5. การประเมินผลเป็ นสิ่ งกระตุ้นให้ มีการพัฒนางานมากขึน้
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
วิธีการประเมินผล
1. การเปรียบเทียบผลการดาเนินงานกับปี ที่ผ่านมา
1.1 การใช้ เซฟ ที สกอร์ (Safe-T-Score, S.T.S) เป็ นการประยุกต์
สถิ ติ วิ เ คราะห์ ใ ช้ กับ งานด้ า นความปลอดภั ย โดยการเปรี ย บเที ย บความ
แตกต่ างของอัตราความถี่ของการบาดเจ็บในปั จจุบัน และอดีต และใช้ การ
ทดสอบแบบ ที เป็ นสถิติทดสอบความแตกต่ างอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติ
เซฟ ที สกอร์
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
1.2 การเปรี ย บเที ย บผลการปฏิ บั ติ ง านกั บ ปี ที่ ผ่ านมา การ
เปรียบเทียบผลงานด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้ อมใน
การทางานในปัจจุบันกับผลงานที่ผ่านมาในอดีตของสถานประกอบกิจการ
ต่ า งๆ เป็ นเครื่ องมือในการควบคุ มกากับได้ ว่า งานความปลอดภัย ในการ
ท างานของสถานประกอบกิ จ การนั้ น มี ค วามก้ า วหน้ า หรื อ ไม่ ประสบ
ผลสาเร็ จเพียงไร ช่ วงเวลาที่จะนาผลงานมาเปรี ยบเทียบนั้นอาจจะเป็ นปี
เดื อ น หรื อ อาทิ ต ย์ ก็ ไ ด้ แล้ ว แต่ ค วามเหมาะสม ซึ่ ง ผลการเปรี ย บเที ย บ
ผู้บริ หารจะสามารถใช้ เป็ นข้ อมูลเบื้องต้ นประกอบการพิจารณาตัดสิ นใจ
วางแผนปรับปรุงแก้ไขต่ อไป
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
2. การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับแผนงาน
การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับแผนงาน เป็ นการประเมิน ผล
แผนงานความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้ อมในการทางานที่
คณะกรรมการฯ กาหนดไว้ ต้ังแต่ ต้นปี โดยจัดทาเป็ น ตารางกาหนดเวลา
ปฏิบัติงานของแต่ ละกิจกรรมขึน้ เพือ่ ควบคุมกากับการทางานของแผนงาน /
โครงการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
โดยแต่ ละกิจกรรมจะต้ องกาหนดเวลาเริ่ มต้ นและเวลาสิ้ นสุ ดแล้ ว
เชื่ อมโยงด้ วยสั ญลักษณ์ ให้ เห็ นและเข้ า ใจง่ ายๆ ทุ กกิจกรรมจะรวมไว้ ใน
ตารางเดียวกันจะทาให้ ผู้บริหารหรือคณะกรรมการสามารถควบคุมกากับได้
ทุ ก กิ จ กรรม ทั้ ง นี้ หากเป็ นการประเมิ น ระหว่ า งปี จะท าให้ ท ราบว่ า มี
ความก้าวหน้ าตามทีค่ าดว่ าเป็ นหรือไม่ จาเป็ นต้ องเร่ งรัดการดาเนินงานของ
กิจกรรมใด และกิจกรรมมีปัญหาและอุปสรรคหรือไม่
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
3. การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับเป้าหมายและตัวชี้วดั
โดยทั่วไปก่ อนที่จะกาหนดแผนงานความปลอดภัย อาชี วอนามั ย
และสภาพแวดล้ อ มในการท างานประจ าปี ผู้ บ ริ ห ารและคณะกรรมการ
จะต้ องกาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัด เพือ่ นามาใช้ สาหรับการประเมินผลการ
ดาเนินงานตามแผนงานเมื่อสิ้นสุ ดระยะเวลาทีก่ าหนดเป้าหมาย และตัวชี้วัด
การดาเนินการ อาจพิจารณากาหนดจากข้ อมูลหรือสถิติการประสบอันตราย
ในรูปแบบหนึ่ง
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
โดยเปรี ยบเทียบเป็ นรายปี รายเดือน รายไตรมาส แต่ ส่วนมากจะ
กาหนดการประเมินผลตามเป้าหมาย และตัวชี้วัดเป็ นรายปี ทั้งนี้ หากเป็ น
หน่ วยงานขนาดใหญ่ คณะกรรมการฯ อาจกาหนดให้ มีการเปรียบเทียบผล
การปฏิบัติงานกับตัวชี้วัดระหว่ างแผนก หรือฝ่ าย เพื่อเป็ นการเปรี ยบเทียบ
ผลการปฏิบัติงานกันภายในหน่ วยงานก็ได้
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
4. การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับหน่ วยงานอืน่ ทีค่ ล้ายคลึงกัน
การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับหน่ วยงานอื่นที่คล้ ายกัน เป็ น
การเปรี ย บเที ย บข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้ อ มในการทางาน หรื อค่ า สถิติ การคานวณอัตราการประสบ
อันตรายจากการทางาน ของสถานประกอบกิจการแห่ งใดแห่ งหนึ่งกับสถาน
ประกอบกิ จ การแห่ ง อื่ น ๆ ซึ่ ง มี ลั ก ษณะการด าเนิ น งานคล้ า ยคลึ ง กัน ใน
ช่ วงเวลาเดียวกัน
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
5. การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับหน่ วยงานทั่วไป
การเปรี ยบเทียบผลการปฏิบัติ ง านกับ หน่ วยงานทั่ว ไป เป็ นการ
เปรี ย บเที ย บข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ งานความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้ อ มในการทางาน หรื อ ค่ า สถิติ ก ารค านวณอัต ราการประสบ
อัน ตรายจากการทางาน ของสถานประกอบกิจ การแห่ ง ใดแห่ ง หนึ่ ง กับ
สถานประกอบกิจการอืน่ ที่มีลกั ษณะกิจการคล้ ายคลึงกัน ซึ่งมีความเด่ นและ
เป็ นทีย่ อมรับโดยทัว่ ไปว่ ามีการบริหารงานด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานดี เพือ่ เปรียบเทียบการดาเนินการและนามา
ปรับปรุงมาตรการภายใน
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
หลักการตรวจประเมิน
การนาระบบการจัดการความปลอดภัย และอาชี วอนามัย มาใช้ ใน
สถานประกอบกิจการนั้น เมื่อได้ มีการดาเนินการในระบบทุกขั้นตอนแล้ ว
เพือ่ ให้ ทราบถึงความสอดคล้ อง หรือความบกพร่ องของการจัดการจึง ต้ องมี
การตรวจประเมินระบบเพือ่ การรักษาและการปรับปรุงระบบ
การตรวจประเมิน หมายถึง กระบวนการที่ดาเนิ นการอย่ างเป็ น
ระบบ อิสระและเป็ นลายลักษณ์ อักษร เพื่อให้ ได้ มาซึ่งหลักฐาน และทาการ
ประเมิ น อย่ า งไม่ ล าเอี ย งเพื่ อ พิ จ ารณาถึ ง ขอบเขตของการบรรลุ ต่ อ
หลักเกณฑ์ ในการตรวจ
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
ภาระงานของการตรวจประเมินก็คือ พิสูจน์ ว่าระบบที่ได้ จัดทาขึน้
มีความสอดคล้ องต่ อข้ อกาหนดของกฎหมาย และได้ นาไปใช้ ปฏิบัติ จนมี
ประสิ ทธิผล
ประเภทของการตรวจประเมิน แบ่ งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. การตรวจประเมินภายใน หรื อการตรวจสอบโดยบุคคลที่หนึ่ง
(First Party or Internal Audit) เป็ นการตรวจสอบโดยองค์ กรเป็ นผู้
ตรวจสอบตนเอง
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
2. การตรวจประเมินภายนอก ประกอบด้ วย
2.1 การตรวจประเมินโดยบุคคลทีส่ อง หรือการตรวจประเมิน
ผู้ขาย (Second Party or Supplier Audit) เป็ นการตรวจสอบโดยลูกค้ า
หรือบุคคลอืน่ ทีม่ ีส่วนร่ วม หรือมีส่วนได้ ส่วนเสี ย
2.2 การตรวจประเมินโดยบุคคลทีส่ าม (Third Party Audit)
เป็ นการตรวจสอบอิสระอย่ างเป็ นกลาง ไม่ มีส่วนได้ เสี ย โดยองค์ กรที่เป็ น
บุคคลทีส่ ามนี้ จะมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ การจดทะเบียนรับรองและ/หรือ
ตรวจสอบความสอดคล้องตามข้ อกาหนด
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
การตรวจประเมินภายใน มีวตั ถุประสงค์ เพือ่
1. ให้ สอดคล้องกับข้ อกาหนดของระบบที่มกี ารนาไปปฏิบัติ
2. ให้ ได้ หลักฐานที่แสดงถึงการปฏิบัตติ ามระบบ
3. เป็ นเครื่องมือในการรักษา และ ปรับปรุงระบบ
4. ให้ ผู้บริหารทราบถึงสมรรถนะของระบบ
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
การตรวจประเมินภายนอกโดยบุคคลทีส่ อง มีวตั ถุประสงค์ เพือ่
1. ทราบสมรรถนะของผู้ขาย
2. คัดเลือกผู้ขายรายใหม่
3. ตรวจสอบและชี้บ่งข้ อบกพร่ องของผู้ขาย
4. ติดตามผลการแก้ไขข้ อบกพร่ องของผู้ขาย
5. ช่ วยผู้ขายในการปรับปรุง
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
การตรวจประเมินภายนอกโดยบุคคลทีส่ าม มีวตั ถุประสงค์ เพือ่
1. ประเมินความสามารถในการทาตามข้ อกาหนด
2. ให้ เป็ นไปตามระเบียบข้ อบังคับของกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
3. ให้ การรับรองหรือเพือ่ การจดทะเบียน
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
ลักษณะของการตรวจประเมิน แบ่ งเป็ น 2 ลักษณะคือ
1.การตรวจประเมินระบบ (System Audit)
เป็ นการตรวจพิจารณาระบบการบริหารงานทีไ่ ด้ จัดทาไว้ เป็ น
เอกสาร เปรียบเทียบกับข้ อกาหนดทีเ่ กีย่ วข้ องเพือ่ แสดงให้ เห็นถึงสิ่ งที่
อาจจะไม่ สมบูรณ์ โดยวิเคราะห์ เอกสารต่ างๆทีเ่ กีย่ วข้ อง ผู้ตรวจต้ องมี
ความรู้จริงเกีย่ วกับข้ อกาหนด โดยดาเนินการก่อนหรือควบคู่กบั
Compliance Audit
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
2.การตรวจประเมินความสอดคล้ องกับข้ อกาหนด (Compliance Audit)
เป็ นการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบที่กาหนดไว้ โดยพิจารณา
ความแตกต่ างระหว่ างเอกสารกับการปฏิบัติจริง สุ่ มตัวอย่ างการดาเนินงาน
ในกิจกรรมต่ างๆ สั มภาษณ์ ผู้ที่ปฏิบัติงานจริ ง ดาเนิ นการให้ ได้ หลักฐาน
แสดงผลการดาเนินงาน และต้ องดาเนินการโดยผู้ทมี่ ีความเป็ นอิสระ
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
หลักการตรวจประเมิน
สิ่ งทีด่ ้ องพิจารณาเพือ่ ให้ ได้ หลักฐานในการตรวจประเมินได้ แก่
1. การตรวจสอบเอกสาร (Paper)
2. การสั มภาษณ์ ผู้เกีย่ วข้ อง (People)
3. การสั งเกตการปฏิบัติ (Practice) โดยสั งเกตสิ่ งทีเ่ กีย่ วข้ องกับ
1). วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์
2). เครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ
3). พืน้ ทีส่ ภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน
4). ผู้ปฏิบัติงาน
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
ขั้นตอนการตรวจประเมินตามหลักสากล (Audit Stages)
ขั้นตอนที่ 1 การตรวจเอกสาร (Document Review) ว่ าองค์ กร
จัดสร้ างระบบ และเขียนระเบียบการปฏิบัติงานในเรื่องต่ างๆที่เ กี่ยวข้ องกับ
ระบบการจัดการเพียงพอและสอดคล้องต่ อข้ อกาหนดทีร่ ะบุไว้ หรือไม่
ขั้นตอนที่ 2 การตรวจการปฏิบัติ (On site Audit) เป็ นการตรวจ
เพื่อดูการนาระบบการจัดการที่ได้ จัดทาขึน้ เป็ นเอกสารไว้ ใช้ ปฏิบัติ ส่ วนนี้
คือการตรวจจริ ง ตามกิจกรรมในหน่ วยงานต่ า งๆ และบันทึกหลักฐานที่
ตรวจพบ
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
กระบวนการในการตรวจประเมิน ประกอบด้ วย
1. การเตรียมการและการวางแผนการตรวจประเมิน (Preparing
and Planning the Audit)
2. การดาเนินการตรวจประเมิน (Executing the Audit)
3. การรายงานผลการตรวจประเมิน (Reporting the Audit)
4. การตรวจติดตามผลการแก้ไข (Follow up Audit for corrective
Action)
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
ข้ อมูลทีจ่ าเป็ นต่ อการตรวจประเมินการปฏิบัติงาน
1. ต้ องเข้ าใจว่ าแผนงานโครงการทีน่ าไปปฏิบัติน้ัน คาดหวังอะไรไว้ บ้าง
2. ต้ องเข้ าใจถึงวิธีการนาแผนงานโครงการดังกล่ าวไปปฏิบัติมี กิจกรรม
ใดบ้ างทีจ่ าเป็ นต้ องทาเพือ่ ให้ บรรลุวตั ถุประสงค์
3. ต้ องรู้ ว่ากลุ่มเป้าหมายคือใคร แผนงานโครงการนี้ต้ังใจให้ ใครได้ รับ
ประโยชน์
4. ต้ องรู้ว่าใครเป็ นผู้รับผิดชอบการนาโครงการไปปฏิบัติ
5. ต้ องรู้ว่าโครงการนีต้ ้ องใช้ ทรัพยากรอะไรบ้ างจึงจะบรรลุวตั ถุประสงค์
6. ต้ องรู้กาหนดเวลาเริ่มต้ นและสิ้นสุ ดของแผน
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
ปัจจัยสาคัญของการตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการ
1. ข้ อมูล
1.1 ต้ องจัดเก็บข้ อมูลการดาเนินงานตามแผนงานโครงการในทุก
รูปแบบ และทุกขั้นตอน
1.2 ต้ องรวบรวมข้ อมูลทีไ่ ด้ มาทาการวิเคราะห์ หรือแปลผล
1.3 สามารถใช้ ข้อมูลเพือ่ ประโยชน์ ในการตัดสิ นใจได้
1.4 สามารถน าข้ อมู ล ที่ ไ ด้ มาใช้ ในการปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขการ
ดาเนินงานให้ มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึน้
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
2. ตัวบ่ งชี้ (ตัวชี้วดั )
การเลือกตัวบ่ งชี้ มีความสาคัญต่ อการประเมินผลแผนงานโครงการ
มาก เพราะในขณะที่วั ต ถุ ป ระสงค์ เ ป็ นการแสดงถึ ง ความมุ่ ง หมายของ
แผนงานโครงการตัวบ่ งชี้กจ็ ะเป็ นเครื่องมือบ่ งชี้ถึงการเปลี่ ยนแปลงหรือผล
ที่คาดหวังไว้ ในวัตถุประสงค์ และมีหลักฐานหรือสิ่ งที่เป็ นตัวชี้วัดให้ พิสูจน์
ได้ เช่ น วั ต ถุ ป ระสงค์ ระบุ ว่ า เพื่อ ลดการประสบอัน ตราย ตั ว บ่ ง ชี้ อ าจ
กาหนดเป็ นค่ าความถี่ของการเกิดอุบัติเหตุ (Frequency Rate) เป็ นต้ น
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
3. ผู้ตรวจประเมิน
3.1 ผู้ ตรวจประเมินการปฏิบัติงาน ควรได้ รับมอบหมายอานาจ
หน้ าที่อย่ างชั ดเจน ซึ่งอาจจะมอบหมายเป็ นบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลก็ได้ แต่
ต้ องเป็ นผู้ทไี่ ด้ รับความเชื่อถือและเป็ นทีย่ อมรับของคนในองค์ กร
3.2 ได้ รับการอบรมชี้แจงหรื อซั กซ้ อมความเข้ าใจในรายละเอี ยด
ของแผนงานโครงการหรื อเป็ นผู้ที่มีความเข้ าใจในแผนงานโครงการที่จะ
ประเมินอย่ างถ่ องแท้
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
3.3 เป็ นผู้ไม่ มีอคติในการปฏิบัติหน้ าที่ในฐานะผู้ตรวจประเมิน มี
ความยุติธรรมและซื่อตรงในการรายงานผลที่เกิดขึน้ จากการตรวจประเมิน
3.4 มีความไวต่ อการเปลี่ยนแปลงหรื อผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนิน
กิจกรรมตามโครงการ กล่ าวคือไม่ เพียงแต่ ตรวจประเมินกิจกรรมที่ ต้องการ
ให้ เกิดผลตามความคาดหวังเท่ านั้น แต่ ยังต้ องค้ นหาสาเหตุหรื อผลกระทบ
ข้ างเคียงทีเ่ กิดขึน้ โดยไม่ ได้ คาดหวังด้ วย
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
4. วิธีการตรวจประเมินการปฏิบัติงาน
4.1 ควรจั ด ท าแผนการตรวจประเมิ น ที่ เ หมาะสมกั บ แผนงาน
โครงการนั้นๆ โดยให้ มีการตรวจประเมินการปฏิบัติงานของแต่ ละโครงการ
ก่อนที่จะประเมินแผนงานโครงการในภาพรวม
4.2 การตรวจประเมินการปฏิบัติงานควรดาเนิ นการเป็ นระยะๆ
ตลอดช่ วงเวลาของการด าเนิ น โครงการ และให้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข
ข้ อบกพร่ องทีเ่ กิดขึน้ เป็ นระยะเช่ นกัน
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
4.3 ทาการวัดผลการปฏิบัติงานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
4.4 มี ก ารจั ด ท าบั น ทึ ก และรวบรวมผลการตรวจประเมิ น การ
ปฏิบัติงานไว้ ใช้ ประกอบการบริ หารจัดการความปลอดภัย อาชี วอนามัย
และสภาพแวดล้ อมในการท างานของสถานประกอบกิ จ การให้ มี
ประสิ ทธิภาพยิง่ ขึน้
หลักการประเมินผลการดาเนินงานด้ านความปลอดภัย
ตัวอย่ างการตรวจประเมินการปฏิบัติงานตามโครงการ
การตรวจประเมิน การปฏิบัติงานตามโครงการ จาเป็ นที่จะต้ องมีการ
ตรวจประเมินการปฏิบัติงานก่ อนจะประเมินแผนงานโครงการในภาพรวม
โดยต้ องมีการตรวจประเมินเป็ นระยะๆ ตลอดช่ วงเวลาของการดาเนินงาน
โครงการ พร้ อมทั้งให้ มีการปรั บปรุ งแก้ ไขข้ อบกพร่ องที่เกิดขึน้ เป็ นระยะๆ
เช่ นกัน ตัวอย่ าง แบบการตรวจประเมินการปฏิบัติงานเป็ นดังต่ อไปนี้