ภาพนิ่ง 1

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1

การส่ งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
นายแพทย์ พนิต โล่ เสถียรกิจ
โรงพยาบาลส่ งเสริมสุ ขภาพ
ศูนย์ อนามัยที่ 3
โครงสร้างประชากรไทยอดีต ปั จจุบนั และอนาคต
พ.ศ. 2553
ประเทศ
ไทย
70+
70+
60-64
ชาย
พ.ศ. 2568
ประเทศ
ไทย
ชาย
หญิง
หญิง
60-64
45-49
45-49
30-34
30-34
15-19
15-19
0-4
ร้อยละ
0-4
10
8
6
4
2
0
2
4
6
8
10
8
ร้อยละ
6
4
2
0
2
4
6
8
10
10
Aging Population
Demographic Dividend
ปริมาณนักเรียน ป1-ม6 จานวน 10.5 ล้านคน
ทีม่ า : ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน 17 กันยายน 2551
IQ เด็กนักเรียนไทย แบ่ งตามระดับสติปัญญา
- - - - - การกระจายปกติ
42.5%
14.9%
6.5%
7.0%
IQ < 100
IQ = 100
IQ > 100
20.2%
5.5%
3.4%
สติปัญญาบกพร่อง
คาบเส้ น
ต่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ย เกณฑ์เฉลี่ย สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ย ฉลาด (Superior; IQ ฉลาดมาก (Very
(Intellectual (BorderLine; IQ 70 (Low Average; IQ (Average; IQ 90 - (High Average; IQ 120 - 129)
Superior; IQ 130
Deficient; IQ<70)
- 79)
80 - 89)
109)
110 - 119)
ขึ ้นไป)
6
ผลสารวจค่าเฉลี่ย IQ ทัวประเทศ
่
และแยกตามภาค
104.5
98.59
101.29
96.85
IQ < 100
7
100.11
IQ = 100
95.99
IQ > 100
แผนทีป
่ ระเทศไทย
แสดงผลการสารวจ
ระด ับสติปญ
ั ญา
เด็กน ักเรียนไทย 2554
จ ังหว ัดที่ IQ > 100
จ ังหว ัดที่ IQ = 100
จ ังหว ัดที่ IQ < 100
8
21 July 2015
อาหาร การเลีย้ งดู
พันธุกรรม
40-50 %
T
สมอง
สุขภาพ ไม่แข็งแรง
พัฒนา
การ
เจ็บป่ วยบ่อย
ยิ่งเรียนรู้ ย่ิ งมีการเชื่อมโยงมาก ยิ่งฉลาด
ไม่มีการเรียนรู้ ไม่เกิดการเชื่อมโยงและยังเกิดการกาจัดทิ้ง
ค่าเฉลีย
่ IQ
เด็กน ักเรียนไทย 2554
IQ > 100 (18 จังหวัด)
IQ = 100 (20 จังหวัด)
IQ < 100 (38 จังหวัด)
11
ค่าม ัธยฐาน
Maternal urine iodine 2553
Median of Urine Iodine
≥ 500 ug/i (0 จังหวัด) เกินขนาด
250-499 ug/I (7 จังหวัด) เกินพอ
150-249 ug/I (26 จังหวัด) เพียงพอ
< 150 ug/I (42 จังหวัด) ขาดไอโอดีน
ั ันธ์ของมาตรการสง
่ เสริม
ความสมพ
่ งว ัย
การพ ัฒนาเด็กปฐมว ัยในแต่ละชว
ว ัยรุน
่ – ก่อนตงครรภ์
ั้
• มุมเพือ
่ นใจว ัยรุน
่
• บริการทีเ่ ป็นมิตรก ับว ัยรุน
่
• กิจกรรมสาธารณะในชุมชน
6 – 21 ปี
ึ ษา
• คุณภาพการศก
่ เสริมสุขภาพ
• โรงเรียนสง
ระด ับเพชร
• เรียนฟรี 15 ปี
3 – 6 ปี
้ งดูของพ่อแม่
• การเลีย
• ศูนย์เด็กเล็ กเรียนรู ้
• กิน กอด เล่น เล่า เรียนรู ้
ก่อนตงครรภ์
ั้
- คลอด
• ลูกครบ 32 สมองดี
• ควบคุมป้องก ัน
การขาดสารไอโอดีน
• โรงพยาบาลสายใยร ัก
แห่งครอบคร ัว
แรกเกิด – 3 ปี
้ งดูของพ่อแม่
• การเลีย
ื เล่มแรก
• หน ังสอ
• กิน กอด เล่น เล่า เรียนรู ้
การเลี้ยงดูใน 3 ขวบปี แรก
อาจทาให้เด็กมี IQ สูงขึ้นหรื อต่าลงได้กว่า 20 จุด
- ภาวะขาดไอโอดีน ระดับ IQ ลดลง 13.5 จุด
- ภาวะขาดธาตุเหล็ก ระดับ IQ ลดลง 5 - 10 จุด
(โครงการเด็กไทยสมองดี ของกรมอนามัย)
-
เด็กกินนมแม่ สมองมีพฒ
ั นาการ ดีกว่า 2-11 จุด
พัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก
•
•
•
•
หลักการพัฒนาการของมนุษย์
เป็ นกระบวนการเปลีย่ นแปลงทีต่ ่ อเนื่อง
เป็ นลาดับขั้นตอน
พัฒนาการด้ านต่ างๆ มีความเกีย่ วข้ องสั มพันธ์ กนั
ระดับพัฒนาการของเด็กขึน้ กับระดับวุฒิภาวะของ
สมองและระบบประสาท
• เป็ นผลของปัจจัยด้ านพันธุกรรม และปัจจัยด้ าน
สิ่ งแวดล้ อม
หลักการพัฒนาการของมนุษย์
• ทิศทางพัฒนาการด้ านการเคลือ่ นไหว เป็ นจาก
ศีรษะไปยังปลายเท้ า และจากส่ วนใกล้ตัวไป
ส่ วนปลาย
• จากปฏิกริ ิยาสะท้ อนที่ไม่ สามารถบังคับได้ เป็ น
การเคลือ่ นไหวทีค่ วบคุมได้
หลักการพัฒนาการของมนุษย์
• พัฒนาการทางพฤติกรรม เริ่มจากการแสดง
ออกแบบรวมๆ เป็ นพฤติกรรมที่เฉพาะเจาะจง
• สามารถส่ งเสริมโดยให้ เด็กมีโอกาสเรียนรู้ จาก
การทางาน สารวจ ทดลอง การเล่น และมีผู้ใหญ่
ให้ การเอาใจใส่ ดูแล สนับสนุนให้ มกี ารเรียนรู้
เพิม่ เติม
พัฒนาการด้ านต่ างๆ
• ด้ านร่ างกาย (physical, psycho-motor development)
– กล้ามเนือ้ มัดใหญ่ (gross motor)
– การใช้ ตาและมือประสานกันในการทากิจกรรม (fine motoradaptive)
• ด้ านสติปัญญา (cognitive development)
– ด้ านภาษาและการสื่ อสาร (language and communication
development)
– การใช้ ตาและมือประสานกันในการทากิจกรรม
– การรู้ คดิ การใช้ เหตุผล การแก้ ปัญหา
• ด้ านจิตใจอารมณ์ (emotional development)
• ด้ านสั งคม (personal-social development)
• ด้ านจิตวิญญาณ คุณธรรม (spiritual, moral development)
1 เดือน: พัฒนาการ
• เริ่มผงกศีรษะ
• กามือแน่ น
• ทาเสี ยงในคอ
• จ้ องหน้ า
1 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• แนะนาท่ านอนหงาย เบาะไม่ นิ่มเกินไป
• เริ่มมีวงจรหลับ-ตื่นที่สม่าเสมอ ควรพานอน
ขณะที่ยงั ไม่ หลับลึก หัดให้ นอนได้ เอง
• ตอบสนองอย่ างสม่าเสมอเมื่อเด็กร้ อง
• เล่ นกับเด็กขณะตืน่ ดีด้วยท่ าควา่ เพือ่ เด็กเป็ น
อิสระในการเคลือ่ นไหว (tummy time)
1 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เด็กมักร้ องมากๆ ในช่ วงอายุ 6 สั ปดาห์
• สามารถช่ วยปลอบโยนโดยใช้ เสี ยงพูด การสั มผัส
• พยายามระงับอารมณ์ อย่ าใช้ วธิ ีการสั่ นโยกตัวเด็กให้
หยุดร้ อง (เกิด shaking baby
syndrome)
• ถ้ ามีพคี่ วรให้ พมี่ สี ่ วนร่ วมทีเ่ หมาะสม พ่ อแม่ ให้ เวลา
ส่ วนตัวกับพีด่ ้ วย
2 เดือน: พัฒนาการ
• ชันคอได้ 45 องศา
• กามือหลวมๆ มองตามข้ ามเส้ นกึง่ กลาง
ตัว
• ฟังเสี ยงพูดคุยด้ วย และหันหาเสี ยง
• สบตา ยิม้ ตอบแสดงความสนใจ
2 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เรียนรู้ เข้ าใจกับพืน้ อารมณ์ ของเด็ก
• รู้ ว่าเด็กชอบ-ไม่ ชอบลักษณะใด
• ทวนปัญหาพีน่ ้ อง
4 เดือน: พัฒนาการ
• ชันคอได้ 90 องศา ใช้ แขนยกตัวชันขึน้ ได้ จับอยู่ท่า
นั่งศีรษะตรง
• มือสองข้ างประสานกันตรงกลาง เริ่มคว้ าของใกล้ตัว
• ส่ งเสี ยงอ้ อแอ้ หัวเราะดัง เมื่อดีใจ
• ยิม้ ตอบ ยิม้ ทัก ทาท่ าทางดีใจเมื่อเห็นอาหารหรือพ่อ
แม่
4 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• มีช่วงตื่นที่นานขึน้ ความสนใจยังเป็ นช่ วงสั้ นๆ
• การเล่นโดยมีผู้ใหญ่ พูดคุย อ่านหนังสือ ร้ อง
เพลง
• ของเล่นสี สดใส กระจก
• ไม่ ควรใช้ รถหัดเดิน
6 เดือน: พัฒนาการ
• ควา่ หงายได้ นั่งเองได้ ชั่วครู่
• คว้ าของด้ วยฝ่ ามือ หยิบของมือเดียว เปลีย่ นมือ
ถือของ
• หันหาเสี ยงเรียก เล่นนา้ ลาย ส่ งเสี ยงหลายเสี ยง
• รู้ จกั แปลกหน้ า กินอาหารทีป่ ้ อนด้ วยช้ อนได้
6 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• ใช้ เก้าอีส้ ู ง เพือ่ ให้ เด็กฝึ กพัฒนาการการมอง และ
การสื่ อสารได้ ดี
• การเล่นแบบมีการตอบสนอง เช่ น
จ๊ ะเอ๋ ตบแปะ
• พูดคุย ใช้ นิทาน ร้ องเพลง
• มีกจิ กรรมก่อนนอน เวลานอนที่สม่าเสมอ ฝึ กให้
หลับเมื่อตืน่ ได้ เอง
9 เดือน: พัฒนาการ
• นั่งได้ มั่นคง คลาน เกาะยืน
• ใช้ นิว้ หยิบของได้ เปิ ดหาของที่ซ่อนไว้ ได้ มองตาม
ของที่ตกจากมือ
• ฟังรู้ภาษา เข้ าใจสี หน้ าท่ าทาง เลียนเสี ยง
• จ๊ ะเอ๋ ตามไปเก็บของตก ร้ องตามแม่ เมื่อแม่ จะออก
จากห้ อง หยิบอาหารกินได้
9 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เริ่มเรียนรู้เหตุและผลของการกระทาง่ ายๆ เล่ น
ของเล่ น cause-effect toys เช่ น เอา
ก้ อนไม้ ใส่ กล่ อง เทออก
• ฝึ กวินัย ผู้ใหญ่ ทาตัวอย่ างทีด่ ี
• ความกังวลจากการแยกจาก
กลัวคนแปลกหน้ า
12 เดือน: พัฒนาการ
• เกาะเดิน ยืนเองได้ ชั่วครู่
• ใช้ นิว้ หัวแม่ มอื และนิว้ ชี้หยิบของเล็กๆได้ ถนัด หยิบ
ของใส่ ถ้วย
• เรียกพ่ อ แม่ พูดคาโดดทีม่ คี วามหมายได้ 1 คา ทาตาม
บอกโดยมีท่าทางประกอบได้
• ตบมือ เลียนท่ าทางโบกมือ สาธุ ร่ วมมือเวลาแต่ งตัว
ชอบสารวจ
12 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• ไม่ ควรใช้ การลงโทษโดยการตี ใช้ คาสั่ งห้ ามอย่ างชั ดเจนใน
พฤติกรรมที่ไม่ ควรทา หรือใช้ วธิ ี time-out ช่ วย
ป้องกันโดยการใช้ วธิ ีดงึ ความสนใจไปยังจุดอืน่ เมือ่ เริ่ม
งอแง
• จับหยุดเมือ่ มีพฤติกรรมรุนแรง
• ชมเชยเมื่อมีพฤติกรรมที่ดี
• มีกจิ กรรมครอบครัวร่ วมกัน เลีย่ งการดูโทรทัศน์
• มีกจิ วัตรการกิน นอน ขับถ่ ายทีส่ มา่ เสมอ
18 เดือน: พัฒนาการ
• เดินคล่ อง วิง่ ยืนก้ มเก็บของแล้วลุกขึน้ ได้ จูงมือ
เดียวขึน้ บันไดได้
• ขีดเขียนเส้ นยุ่งๆ วางก้ อนไม้ ซ้อนกันได้ 3 ชิ้น
• ชี้ภาพ ชี้อวัยวะตามคาบอก พูดคาโดดได้ หลายคา
ทาตามบอกโดยไม่ ต้องมีท่าทางประกอบได้
• ถือถ้ วยน้าดื่มเอง
18 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เป็ นช่ วงการศึกษา เรียนรู้สิ่งแวดล้ อมรอบตัว ให้
สั งเกตความสนใจของเด็ก
• มีความกังวลต่ อสิ่ งแวดล้ อมใหม่ ๆ ควรให้ โอกาส และ
เวลาต่ อการปรับตัว โดยเฉพาะเด็กที่ปรับตัวยาก
• ฝึ กวินัยตามคาแนะนา 12 เดือน
• เริ่มฝึ กการขับถ่ ายตามความพร้ อมของเด็ก
2 ปี : พัฒนาการ
• เดินขึน้ บันไดเอง เตะบอล กระโดด 2 เท้ า
• ขีดเส้ นตรง เปิ ดหนังสื อทีละหน้ า วางก้ อนไม้ ซ้อนกัน
ได้ 6 ชิ้น
• พูด 2-3 คาต่ อกันได้ อย่ างมีความหมาย บอกชื่อตัวเอง
คนคุ้นเคยได้
• เลียนแบบผู้ใหญ่ ใช้ ช้อนตักอาหารกินเอง บอกเวลาจะ
ถ่ ายอุจจาระ
2 ปี : คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เป็ นช่ วงที่ภาษามีพฒ
ั นาการมาก ส่ งเสริมโดยการ
พูดคุยในสิ่ งทีเ่ ด็กสนใน การอ่ านนิทานร่ วมกันแบบมี
การตอบสนอง (interactive reading)
• ฝึ กวินัย กิจวัตรสม่าเสมอ
• ให้ โอกาสการเลือกทา-กิน โดยให้ ตัวเลือก สนับสนุน
ให้ เด็กมีความรู้สึกว่ าได้ ทาเอง ควบคุมกิจกรรม
นั้นเอง
3 ปี : พัฒนาการ
• ขึน้ บันไดสลับเท้ า ขี่สามล้อ
• วาดวงกลมตามแบบ
• เล่าเรื่องพอเข้ าใจได้ ประมาณร้ อยละ 50
• ถอดรองเท้ า ใส่ เสื้อได้ รู้ จกั เพศตัวเอง แบ่ ง
ของให้ คนอืน่ ได้ บ้าง คุมการขับถ่ ายอุจจาระ
ได้
3 ปี : คาแนะนาล่ วงหน้ า
• ส่ งเสริมพัฒนาการทางภาษาอย่ างต่ อเนื่อง
การเล่ นกับเสี ยง เช่ นคาพ้องในภาษาโดย
ผ่ านนิทาน การเล่ นในชีวติ ประจาวัน
• ส่ งเสริมการเล่ นกับเพือ่ นในวัยเดียวกัน
• การรู้ จกั รอคอย
4 ปี : พัฒนาการ
• กระโดดเท้ าเดียว เดินลงบันไดสลับเท้ าได้
• วาดสี่ เหลีย่ มตามแบบได้ วาดคนได้ 3 ส่ วน
• ร้ องเพลง ถามคาถาม เล่ าเรื่องให้ ผู้อนื่ เข้ าใจได้
ทั้งหมด รู้ จกั 4 สี
• เล่ นร่ วมกับคนอืน่ ได้ คุมการถ่ ายปัสสาวะเวลา
กลางวันได้
4 ปี : คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เตรียมความพร้ อมสาหรับการเข้ าโรงเรียน
• ให้ โอกาสเด็กได้ เรียนรู้ ประสบการณ์ มากขึน้ เช่ นไปเทีย่ ว
สวนสั ตว์
• การอ่ านหนังสื อแบบ interactive reading
• ฝึ กทักษะทางสั งคม โดยเป็ นตัวอย่ างทีบ่ ้ าน เช่ นการขอโทษ
ขอบคุณ การเชิญชวน
• ตอบคาถามของเด็กด้ วยคาง่ ายๆ ชัดเจน
5 ปี : พัฒนาการ
• กระโดดสลับเท้ า กระโดดข้ ามสิ่ งกีดขวางเตีย้ ๆ เดินต่ อเท้ าเป็ น
เส้ นตรงได้ โดยไม่ ล้ม
• จับดินสอได้ ถูกต้ อง วาดสามเหลีย่ มตามแบบได้ วาดคน 6
ส่ วน
• ถามตอบเกีย่ วกับความหมายและเหตุผล เริ่มจาตัวอักษรได้
นับสิ่ งของได้ 5 ชิ้น นับเลขได้ ถึง 20
• เล่ นอย่ างมีกติกา แต่ งตัวเอง เล่ นสมมุตใิ ช้ จินตนาการได้ ดี ไม่
ปัสสาวะรดทีน่ อนกลางคืน
5 ปี : คาแนะนาล่ วงหน้ า
• การปรับตัวทีโ่ รงเรียน กับเพือ่ น และครู
• ความสั มพันธ์ ทดี่ รี ะหว่ างผู้ปกครอง
ด้ วยกัน และครู
• ฝึ กเด็กให้ รู้ จกั รับมืออย่ างถูกต้ องถ้ ามีคนอืน่
มารังแก
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม
ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการดูแลเด็ก
ภูมิหลังของพ่อแม่
จิตวิทยาการเลีย้ งดู
พ่อแม่
ความผูกพันและวิธี
การดูแลทีเ่ หมาะสม
ความรู้เกีย่ วกับ
วิธีการดูแลเด็ก
เด็ก
การเลีย้ งดูเด็ก
ที่ผดิ ปกติ
หลักสั งเกตว่ าพฤติกรรมใดเป็ นปัญหา
พิจารณาจาก
•
•
•
•
•
อายุและเกณฑ์ ปกติของพัฒนาการ
ชนิดของพฤติกรรม
ความบ่ อยหรือความถี่ของพฤติกรรม
ความรุนแรงทีแ่ สดงออก
ขีดความอดทนของ พ่ อ แม่ ครู ผู้ดูแลเด็ก
การร้องอาละวาด
• พบบ่ อยในช่ วงอายุ 2-5 ปี
ลักษณะการแสดงออก เด็กเมื่อโกรธจะทาลายของ หรือ
กระทืบเท้ า นอนดิน้ กรีดร้ อง เพือ่ ให้ ได้ ในสิ่ งที่ ตน
ต้ องการ
การร้องอาละวาด
สาเหตุ
• ขั้นตอนของพัฒนาการเป็ นช่วงที่เด็กมีความ
ดื้อรั้นเอาแต่ใจ
• มักเกิดในช่วงที่มีพฒ
ั นาการของความเป็ น
ตัวเอง คือช่วง autonomy ของเด็ก
การร้องอาละวาด
สาเหตุ(ต่ อ)
• การควบคุมตัวเองและทักษะการแก้ไขความคับข้อง
ใจมีอยูจ่ ากัด
• เลียนแบบการกระทาของผูใ้ หญ่
• พ่อ แม่มีทศ
ั นคติในการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม
การร้องอาละวาด
การดูแลแก้ ไข
่ แม่เข้าใจว่าเป็ นพัฒนาการด้านอารมณ์
• อธิ บายให้พอ
ที่ปกติหายได้ดว้ ยการช่วยเหลือที่เหมาะสม
• หลีกเลี่ยงการยัว่ ให้โกรธ หรื อขัดใจ
• ให้รู้จก
ั ระบายความโกรธด้วยการพูด
การร้องอาละวาด
การดูแลแก้ ไข
• เมื่อเด็กมีอาการใช้วิธีเบี่ยงเบนความสนใจในเด็กเล็ก
ในเด็กโตใช้วธิ ีอธิบายสั้นๆ
• เมื่อมีอาการควรทาการแยกเด็ก ให้อยูค่ นเดียว ควร
พูดชี้แจงให้เด็กเข้าใจเมื่อหายโกรธแล้ว
การร้องอาละวาด
การดูแลแก้ ไข (ต่ อ)
• ไม่ยอมตามใจในสิ่ งที่เด็กเรี ยกร้อง
• ไม่ทาเป็ นตัวอย่างเวลาโกรธ
• ชื่นชมและสนใจเมื่อเด็กมีพฤติกรรมดี
การดูดนิ้ว
•
•
•
•
เป็ นเรื่องปกติของเด็กเล็ก
มักหายไปในช่ วงอายุ 3-4 ปี
ดูดนิว้ มากขึน้ ถ้ าเผชิญกับความเครียด
การทัก ตาหนิ ดึงมือออก จะทาให้ เด็กดูดนิว้ มากขึน้
เด็กดูดนิ้ว
• การดูดนิ้ว เป็ นพฤติกรรมที่พบบ่อยในเด็กเล็ก และถือว่า
เป็ นเรื่ องปกติ
ในเด็กทารก พบได้ถึง 80%
วัยอนุบาล พบได้ถึง 30-90%
พบใน เพศหญิงมากกว่าเพศชาย
เด็กดูดนิ้ว
• คาถามที่พบได้เสมอ
-อายุ
-ผลเสี ย ที่เกิดจากการดูดนิ้ว
-การแก้ไข
เด็กดูดนิ้ว
• อายุ
ถ้ายังดูดนิ้วหลังจากอายุ 4 ปี จะมีผลเสี ยที่แก้ไขได้ยาก
เด็กดูดนิ้ว
• ผลเสี ยจากการดูดนิ้ว
ปัญหาทางฟัน
- การสบฟันผิดปกติ
- เพดานปากผิดรู ป (แคบ,สูง)
- การพัฒนาของกระดูกหน้าผิดรู ป
เด็กดูดนิ้ว
เด็กดูดนิ้ว
• ผลเสี ยที่เกิดจากการดูดนิ้ว
ปั ญหาที่นิ้ว
- เกิดภาวะผิดรู ปของนิ้ว
- เกิดการติดเชื้อ
เด็กดูดนิ้ว
เด็กดูดนิ้ว
• ผลเสี ยที่เกิดการดูดนิ้ว
ปัญหาอื่นๆ
- ถูกตาหนิ หรื อถูกล้อเลียน
การช่วยเหลือ
• ใช้ การเบี่ยงเบนความสนใจ
• ควรมองหาทีส่ าเหตุมากกว่ าพฤติกรรมการดูดนิว้
• ชมเชยถ้ าเด็กไม่ ดูดนิว้
เด็กขี้อิจฉา
เด็กขี้อิจฉา
อายุที่พบบ่ อย ในช่วง 2-4 ปี
การแสดงออก เด็กจะแสดงท่าทางไม่พอใจเมื่อผูเ้ ลี้ยงดู
ให้ความสนใจ เด็กอื่น โดยแสดงด้วยสี หน้าท่าทาง
วาจาหรื อ การ . กระทา หรื อมีพฤติกรรมถดถอยเพื่อ
เรี ยกร้องความ สนใจจากผูใ้ หญ่
เด็กขี้อิจฉา
• อารมณ์อิจฉาเป็ นอารมณ์พ้นื ฐานปกติที่พบได้ทวั่ ไป
• การที่เด็ก 2 อยูร่ ่ วมกันจะต้องมีความขัดแย้ง ทะเลาะ มี
ความเห็นไม่ตรงกัน ถือว่าเป็ นเรื่ องธรรมดา
เด็กขี้อิจฉา
สาเหตุ
• สู ญเสี ยความรู ้สึกเป็ นเจ้าของ เช่น การมีนอ
้ งใหม่
• ท่าทีลาเอียงของผูเ้ ลี้ยงดู
เด็กขี้อิจฉา
การดแู ลแก้ ไขและป้ องกัน
เตรี ยมพี่ต้ งั แต่แม่เริ่ มตั้งครรภ์
• ให้เด็กมีส่วนรับรู ้วา่ จะมีนอ
้ งใหม่
• ผูใ้ หญ่ไม่ควรล้อเลียนเด็ก ว่า ตกอันดับ หรื อ อื่นๆ
เด็กจะยิง่ เป็ นทุกข์และกังวลมากขึ้น
• ฝึ กฝนให้ช่วยเหลือตัวเอง
เด็กขีอ้ จิ ฉา
การดูแลแก้ ไขและป้ องกัน(ต่ อ)
่ ่ วมกับแม่และน้อง
• ให้โอกาสเด็กอยูร
• ไม่มีท่าทีลาเอียงกับลูกคนใด คนหนึ่ ง ควรปฏิบต
ั ิต่อ
ลูกเท่าเทียมกัน เมื่อเกิดปัญหาไม่ควรดุวา่ ลงโทษ
ควรพูดชี้แจง และให้เวลากับเด็กบ้าง
เด็กพูดปด
การแสดงออก
เด็กอายุ< 4 ปี ยังแยกแยะความจริ ง จาก ความคิดไม่ได้
เด็กอายุ 5 ปี เริ่ มที่จะแยกแยะความจริ ง และ ความคิดฝัน
หรื อ นิยายได้บา้ ง
เด็กอายุ 6 ปี เริ่ มเข้าใจ แยกแยะความเป็ นจริ ง และความ
เพ้อฝันได้ดี
เด็กพูดปด
•
การพูดปดในเด็กบางครั้งเกิดจากพัฒนาการ
ปกติ ในเด็กที่ยงั ไม่เข้าใจสิ่ งต่างๆ ทีเ่ ป็ นจริ ง.แต่
ถ้าเป็ นเด็กโตเกิน 6 - 7 ปี ควรสอนให้รับผิดชอบ
คาพูดของตนเอง
เด็กพูดปด
การแก้ ไขและการป้ องกัน
• พ่อ แม่ควรทาตัวเป็ นตัวอย่างที่ดี
• ควรเข้าใจพัฒนาการตามวัย
• ชี้ แนะแก้ไขความเข้าใจผิด
เด็กเล่ นอวัยวะเพศ
การแสดงออก มีการจับอวัยวะเพศเล่นในช่วงเวลา
บางเวลา เช่น ก่อนนอน เวลาเหงา บางครั้งใช้การ
ถูไถอวัยวะเพศ กับพื้น หรื อหนีบขาเข้าหากัน พบ
บ่ อยในช่ วงอายุ 3-5 ปี
เด็กเล่ นอวัยวะเพศ
สาเหตุ
เหงา ว้าเหว่ กังวล
ว่างเกินไป
มีการเสี ยดสี เฉพาะที่เช่นกางเกงฟิ ต มีพยาธิ
เด็กเล่ นอวัยวะเพศ
การดูแลแก้ ไข
่ แม่เข้าไม่เป็ นอันตรายและไม่ใช่ความ
• อธิ บายให้พอ
ผิดปกติทางเพศ
• ถ้าพบขณะที่เด็กกาลังเล่นอยูใ่ ห้เบี่ยงเบนความสนใจ
• ไม่ดุวา่ ข่มขู่
เด็กเล่ นอวัยวะเพศ
การดูแลแก้ ไข(ต่ อ)
• แก้ไขที่สาเหตุหลีกเลี่ยงส่ งกระตุน
้ ต่างๆ
• ต้องถือว่าถ้าเด็กมีการกระทานี้ เป็ นสัญญาณว่าเด็ก
ต้องการการดูแลมากขึ้น
การช่วยเหลือ
•
•
•
•
ไม่ ทาให้ เกิดอันตรายหรือเกิดความผิดปกติทางเพศ
ไม่ ควรดุว่า ลงโทษ
เอาใจใส่ หาวิธีการเล่ นกับเด็ก
ในกรณีทมี่ พี ฤติกรรมนั้นบ่ อยมาก
อาจนึกถึงการถูกทารุณกรรมทางเพศ
คาหยาบ
ลูกยังเล็ก
- ทาความเข้ าใจกับความต้ องการ
- เพิกเฉยเมือ่ ลูกพูดหยาบและไม่ แสดงปฏิกริ ิยา
- ถ้ าลูกอารมณ์ ดี ควรนั่งคุยกับลูกอย่ างจริงจัง
เด็กดือ้
วินิจฉัยเมื่อเด็กไม่ เชื่อฟัง ไม่ ทาตามทีบ่ อก
โต้ เถียง ยัว่ โมโห
เด็กดือ้
สาเหตุ
•
•
ขั้นตอนของพัฒนาการเป็ นช่วงที่เด็กมีความดื้อรั้น
เอาแต่ใจ พัฒนาความเป็ นตัวเอง
การสื่ อสารไม่ชดั เจน
เด็กดือ้
สาเหตุ
การเลี้ยงดูไม่เหมาะสม
• กฎระเบียบมากเกินไป,ขาดความสม่าเสมอ
ในการเลี้ยงดู , ถูกละเลยขาดการเอาใจใส่ ดูแล
ถูกตามใจมาก
เด็กดือ้
การดูแลแก้ ไข
• ยอมรับลักษณะเด็กตามวัย ให้เด็กทาสิ่ งต่างๆ ด้วย
ตนเอง
• พูดกับเด็กให้ชดั เจนสั้น เข้าใจง่าย ไม่บ่นพร่ าเพรื่ อ
เด็กดือ้
การดูแลแก้ ไข
• พยายามสร้างสัมพันธ์ที่ดีกบั เด็ก
• ไม่ใช้อารมณ์เอาชนะ ใช้เทคนิคการจูงใจ
• หลีกเลี่ยงการโต้เถียงและใช้กาลัง
เด็กดือ้
การดแู ลแก้ ไข
• ปรับพฤติกรรมการเลี้ยงดูให้เหมาะสม ไม่เข้มงวดหรื อ
ปล่อยปละละเลยเกินไป
• เมื่อเด็กว่าง่ายและเชื่อฟัง ควรกล่าวคาชมเชยและให้
กาลังใจเด็ก
เด็กก้ าวร้ าว
ลักษณะเด็ก มีการล่วงละเมิดสิ ทธิผอู้ ื่นทาให้เกิดการ
เสี ยหาย ต่อจิตใจ ทรัพย์สิน ร่ างกาย โดยมีการ
แสดงออกด้วยวาจา หรื อ การกระทา
เด็กก้ าวร้ าว
พฤติกรรมก้าวร้าวพบได้เสมอในเด็กอนุบาล เพราะ
ความสามารถในการควบคุมตัวเองและทักษะการแก้ไข
ความคับข้องใจมีอยูจ่ ากัด
เด็กก้ าวร้ าว
สาเหตุ
ปั จจัยทางชี วภาพ กรรมพันธุ์ สมอง
ครอบครั ว การเลีย้ งดู การเลี้ยงดูไม่เหมาะสม
• กฎระเบียบมากเกินไป ,ขาดความสม่าเสมอในการเลี้ยงดู ,
ถูกละเลยขาดการเอาใจใส่ ดูแล ,ถูกตามใจมาก
เด็กก้ าวร้ าว
สาเหตุ.(ต่ อ)
• สังคมและสิ่ งแวดล้ อม มีตวั อย่างในสังคม เช่น
หนังสื อพิมพ์ สื่ อโทรทัศน์ การ์ ตูน ภาพยนตร์ ที่
เสนอความรุ นแรงในรู ปแบบต่างๆ
เด็กก้ าวร้ าว
การดูแลแก้ ไข
• สังเกตและแก้ไขตั้งแต่เริ่ มเป็ น
• หาทางออกให้เด็กเวลาโมโห เบี่ยงเบนไม่ให้ทาร้าย
คน สัตว์ สิ่ งของ เช่นให้เล่น หรื อพูดระบาย
ความรู้สึก
เด็กก้ าวร้ าว
การดูแลแก้ ไข(ต่ อ)
• ฝึ กฝนให้เด็กรู ้จกั ควบคุมตนเอง โดย การแยกเด็ก
ให้อยูค่ นเดียวเวลาโมโห
• ไม่ลงโทษด้วยการตี
เด็กก้ าวร้ าว
การดูแลแก้ ไข(ต่ อ)
• ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวร้าวให้เด็กเห็น
• ระมัดระวังในการให้เด็กอ่าน หรื อ ดู สื่ อต่างๆ ที่
เหมาะสมกับวัย
การช่วยเหลือ
•
•
•
•
พ่อแม่ ต้องจัดการด้ วยความสงบและจริงจัง
สอนให้ เด็กมีทกั ษะกับการจัดการอารมณ์ ของตนเอง
ห้ ามเด็กทุกครั้งทีม่ พี ฤติกรรมก้ าวร้ าว
พ่อแม่ ต้องไม่ ใช้ ความก้ าวร้ าวกับเด็ก ไม่ ลงโทษด้ วยวิธี
รุนแรง
• ให้ คาชมเชยและแรงเสริมทางบวกทันที เมือ่ มีพฤติกรรมที่
เหมาะสม
• พ่อแม่ ต้องเป็ นแบบอย่ างทีด่ ี
ทะเลาะกันเล็ก ๆ น้ อย ๆ
ถ้ าต่ อสู้ กนั
ให้ เด็กแก้ปัญหาเอง
แยกเด็กออก
จับแยกกันจนต่ างฝ่ ายต่ างสงบ
ไม่ ต้องสนใจว่ าใครเป็ นคนเริ่มเรื่องก่อน
บอกให้ ชัดเจนว่ า “ทาร้ ายกันไม่ ได้ ”
ให้ “พูดบอก” แทนการใช้ กาลัง
บอกเด็กให้ ชัดเจน หนักแน่ น เช่ น
• พูดคาหยาบไม่ ได้
• ถุยนา้ ลายไม่ ได้
• หยิก เตะ ไม่ ได้
ทาสม่าเสมอทุกครั้ง
ปัญหาการกินในเด็ก
เด็กเบื่ออาหาร
โดยทัว่ ไปการไม่ยอมรับประทานอาหารจะเป็ น
พฤติกรรมที่เด็กปฏิเสธอาหารเป็ นส่ วนใหญ่
พบบ่อยในช่วงอายุ 1-3 ปี
ปัญหาการกินในเด็ก
เด็กเบื่ออาหาร
โดยมีสาเหตุจากเด็ก
• การเปลีย
่ นแปลงทางสรีระของเด็ก เมือ่ เด็กอายุ
มากกว่ า 1 ปี อัตราการเจริญเติบโตจะลดลง ความ
ต้ องการอาหารลด ตามไปด้ วย
• พัฒนาการด้ านสั งคมและความคิดอยู่ในช่ วงดือ
้ ดึง
ต่ อต้ าน พัฒนาความเป็ นตัวของตัวเอง
Autonomy
การพัฒนาการเป็ นตัวของตัวเอง
การที่เด็กรู้สึกพึ่งพาตนเองได้ ทาอะไรเองได้ตามชอบใจ
เด็กต้องการทดสอบ กฏระเบียบและความอดทนของผูใ้ หญ่
ปัญหาการกินในเด็ก
เด็กเบื่ออาหาร
โดยมีสาเหตุจากเด็ก
• ลักษณะโครงร่ างของเด็กแต่ ละคนแตกต่ างกัน
• เด็กแต่ ละคนมีความชอบหรือไม่ ชอบแตกต่ างกัน
• เด็กแต่ ละคนเจริญอาหารแตกต่ างกัน
ปัญหาพัฒนาการเด็กที่พบบ่ อย
เด็กพูดช้ า
หมายถึง เด็กที่มีพฒั นาการทางภาษาล่าช้า เมื่อ
เทียบกับพัฒนาการตามปกติของเด็กในวัยนั้น
เกณฑ์ บ่งชี้ว่าเด็กพูดช้ ากว่ าปกติ
ตั้งแต่แรกเกิด: ไม่หนั หาเสี ยงหรื อไม่มีปฏิสมั พันธ์
กับบุคคลรอบข้าง
18 เดือน : ไม่พดู คาเดี่ยวที่มีความหมาย
24 เดือน : พูดคาเดียวที่มีความหมายได้นอ้ ยกว่า
10 คา
สาเหตุ
1.
2.
3.
4.
5.
การได้ยนิ ผิดปกติ
ปั ญญาอ่อน
ออทิซึม
สมองพิการ
พัฒนาการทางภาษาผิดปกติ
แนวทางในการดูแลเด็กทีม่ พี ฒ
ั นาการทาง
ภาษาล่ าช้ า
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ออกเสี ยงพูดให้ชดั เจน
พูดในสิ่ งที่เด็กสนใจอยูใ่ นเหตุการณ์ต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวัน
สร้างโอกาสให้เด็กได้เรี ยนรู้ภาษาเพื่อผ่านกิจกรรมต่าง ๆ
ตั้งคาถามกับเด็กอย่างเหมาะสม
เป็ นผูฟ้ ังที่ดี
ขยายความในคาตอบของเด็ก
สิ่ งทีค่ าดหวังจาก อสม.
•
•
•
•
•
แนะนาการกระตุน้ พัฒนาการเด็กตามวัยให้ผปู้ กครอง
สังเกตความผิดปกติของเด็ก
กระตุน้ การฝากครรภ์ก่อน12สัปดาห์
ส่ งเสริ มการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
เป็ นที่ปรึ กษาผูป้ กครอง
ขอขอบคุณ
• รศ.พญ.จันท์ ฑิตา พฤกษานานนท์
• พญ. เปรมวดี เด่ นศิริอกั ษร
• พญ.รมร แย้ มประทุม
THANKS FOR YOUR ATTENTIONS