การซักประวัติ และการตรวจร

Download Report

Transcript การซักประวัติ และการตรวจร

พัฒนาการแรกเกิดถึงปฐมวัย
สาหรั บบุคลากรสาธารณสุข
ก.ย. 2553
พญ.รมร แย้ มประทุม
กุมารแพทย์ พัฒนาการและพฤติกรรม
ศูนย์ วทิ ยาศาสตร์ สุขภาพ รพ.ม.บูรพา
วัตถุประสงค์ การเรี ยนรู้
• บุคลากรสาธารณสุขที่ดแู ลเด็กสามารถ
▫ เข้ าใจพัฒนาการและพฤติกรรมของเด็กในช่ วงแรกเกิดถึง
ปฐมวัยได้ ถูกต้ อง
▫ ประยุกต์ ใช้ ในการดูแลเด็กช่ วงแรกเกิดถึงปฐมวัยได้ ถกู ต้ อง
เหมาะสม
▫ สร้ างสัมพันธภาพที่ดีกับเด็ก ครอบครัว และชุมชน
Health supervision
•
•
•
•
•
•
•
History
Observation of parent-child interaction
Surveillance of development
Physical examination
Screening
Immunizations
การให้ คาแนะนาล่ วงหน้ า (anticipatory guidance): การ
ปรั บตัวของพ่ อ-แม่ ครอบครั ว, พัฒนาการและปั ญหาพฤติกรรมเด็กที่อาจ
เกิดขึน้ , การกิน, ความปลอดภัย
หลักทั่วไปในการปฏิบัตเิ กี่ยวกับเด็ก
• เข้ าใจเด็กตามพัฒนาการในแต่ ละวัย
• เข้ าหาในระยะแรกโดยมีผ้ ูปกครองอยู่ใกล้ ๆ
• สังเกตปฏิสัมพันธ์ ของเด็กและผู้ปกครอง
• สังเกตพฤติกรรม และอารมณ์ ของเด็ก
หลักการพัฒนาการของมนุษย์
• เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ต่อเนื่อง
• เป็ นลาดับขัน้ ตอน
• พัฒนาการด้ านต่ างๆ มีความเกี่ยวข้ องสัมพันธ์ กนั
• ระดับพัฒนาการของเด็กขึน้ กับระดับวุฒภิ าวะของสมอง
และระบบประสาท
• เป็ นผลของปั จจัยด้ านพันธุกรรม และปั จจัยด้ าน
สิ่งแวดล้ อม
หลักการพัฒนาการของมนุษย์
• ทิศทางพัฒนาการด้ านการเคลื่อนไหว เป็ นจากศีรษะไปยัง
ปลายเท้ า และจากส่ วนใกล้ ตัวไปส่ วนปลาย
• จากปฏิกิริยาสะท้ อนที่ไม่ สามารถบังคับได้ เป็ นการ
เคลื่อนไหวที่ควบคุมได้
หลักการพัฒนาการของมนุษย์
• พัฒนาการทางพฤติกรรม เริ่มจากการแสดงออกแบบ
รวมๆ เป็ นพฤติกรรมที่เฉพาะเจาะจง
• สามารถส่ งเสริมโดยให้ เด็กมีโอกาสเรียนรู้จากการทางาน
สารวจ ทดลอง การเล่ น และมีผ้ ูใหญ่ ให้ การเอาใจใส่ ดแู ล
สนับสนุนให้ มีการเรี ยนรู้เพิ่มเติม
พัฒนาการด้ านต่ างๆ
• ด้ านร่ างกาย (physical, psycho-motor development)
▫ กล้ ามเนือ้ มัดใหญ่ (gross motor)
▫ การใช้ ตาและมือประสานกันในการทากิจกรรม (fine motor-adaptive)
• ด้ านสติปัญญา (cognitive development)
▫ ด้ านภาษาและการสื่อสาร (language and communication
development)
▫ การใช้ ตาและมือประสานกันในการทากิจกรรม
▫ การรู้ คดิ การใช้ เหตุผล การแก้ ปัญหา
• ด้ านจิตใจอารมณ์ (emotional development)
• ด้ านสังคม (personal-social development)
• ด้ านจิตวิญญาณ คุณธรรม (spiritual, moral development)
Gross motor development (1)
Gross motor development (2)
Fine motor development (1)
Fine motor development (2)
Language development (1)
Language development (2)
Social development (1)
Social development (2)
พืน้ อารมณ์ (Temperament)
• Activity level:
ความมากน้ อยของการเคลื่อนไหวของร่ างกาย
• Rhythmicity:
ความสม่าเสมอของระบบร่ างกาย เช่ นกิน นอน ขับถ่ าย
• Approach-withdrawal:
ลักษณะปฏิกิริยาตอบสนองต่ อสิ่งเร้ าใหม่ ๆ
• Adaptability:
ความสามารถในการปรับตัวต่ อสิ่งแวดล้ อมใหม่ ได้ ง่าย-ยาก
• Threshold of responsiveness:
ความมากน้ อยของสิ่งกระตุ้นที่จะทาให้ เด็กตอบสนอง
พืน้ อารมณ์ (Temperament)
• Intensity of reaction:
ความมากน้ อยของปฏิกิริยาที่ตอบสนอง
• Distractibility:
ความยากง่ ายที่จะดึงความสนใจในสิ่งที่กาลังทาอยู่
• Attention span:
ระยะเวลาที่ต่อเนื่องในการทากิจกรรม
• Quality of mood:
อารมณ์ โดยส่ วนใหญ่ ของเด็กในการตอบสนอง
พืน้ อารมณ์ (Temperament)
• เด็กเลีย้ งง่ าย (easy child) 40%
• เด็กเลีย้ งยาก (difficult child) 10%
• เด็กที่ต้องการเวลาในการปรับตัว (slow to warm
up) 15%
• เด็กที่มีพนื ้ อารมณ์ ปนๆกัน (mixed of
characteristics) 35%
1 เดือน: พัฒนาการ
• เริ่มผงกศีรษะ
• กามือแน่ น
• ทาเสียงในคอ
• จ้ องหน้ า
1 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• แนะนาท่ านอนหงาย เบาะไม่ น่ ิมเกินไป
• เริ่มมีวงจรหลับ-ตื่นที่สม่าเสมอ ควรพานอนขณะที่ยังไม่
หลับลึก หัดให้ นอนได้ เอง
• ตอบสนองอย่ างสม่าเสมอเมื่อเด็กร้ อง
• เล่ นกับเด็กขณะตื่นดีด้วยท่ าคว่า เพื่อเด็กเป็ นอิสระในการ
เคลื่อนไหว (tummy time)
1 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เด็กมักร้ องมากๆ ในช่ วงอายุ 6 สัปดาห์
• สามารถช่ วยปลอบโยนโดยใช้ เสียงพูด การสัมผัส
• พยายามระงับอารมณ์ อย่ าใช้ วธิ ีการสั่นโยกตัวเด็กให้ หยุด
ร้ อง (เกิด shaking baby syndrome)
• ถ้ ามีพ่ คี วรให้ พ่ มี ีส่วนร่ วมที่เหมาะสม พ่ อแม่ ให้ เวลา
ส่ วนตัวกับพี่ด้วย
2 เดือน: พัฒนาการ
• ชันคอได้ 45 องศา
• กามือหลวมๆ มองตามข้ ามเส้ นกึ่งกลางตัว
• ฟั งเสียงพูดคุยด้ วย และหันหาเสียง
• สบตา ยิม้ ตอบแสดงความสนใจ
2 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เรี ยนรู้ เข้ าใจกับพืน้ อารมณ์ ของเด็ก
• รู้ว่าเด็กชอบ-ไม่ ชอบลักษณะใด
• ทวนปั ญหาพี่น้อง
4 เดือน: พัฒนาการ
• ชันคอได้ 90 องศา ใช้ แขนยกตัวชันขึน้ ได้ จับอยู่ท่านั่ง
ศีรษะตรง
• มือสองข้ างประสานกันตรงกลาง เริ่มคว้ าของใกล้ ตัว
• ส่ งเสียงอ้ อแอ้ หัวเราะดัง เมื่อดีใจ
• ยิม้ ตอบ ยิม้ ทัก ทาท่ าทางดีใจเมื่อเห็นอาหารหรือพ่ อแม่
4 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• มีช่วงตื่นที่นานขึน้ ความสนใจยังเป็ นช่ วงสัน้ ๆ
• การเล่ นโดยมีผ้ ูใหญ่ พดู คุย อ่ านหนังสือ ร้ องเพลง
• ของเล่ นสีสดใส กระจก
• ไม่ ควรใช้ รถหัดเดิน
6 เดือน: พัฒนาการ
• คว่าหงายได้ นั่งเองได้ ช่ ัวครู่
• คว้ าของด้ วยฝ่ ามือ หยิบของมือเดียว เปลี่ยนมือถือของ
• หันหาเสียงเรียก เล่ นนา้ ลาย ส่ งเสียงหลายเสียง
• รู้จักแปลกหน้ า กินอาหารที่ป้อนด้ วยช้ อนได้
6 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• ใช้ เก้ าอีส้ ูง เพื่อให้ เด็กฝึ กพัฒนาการการมอง และการ
สื่อสารได้ ดี
• การเล่ นแบบมีการตอบสนอง เช่ น
จ๊ ะเอ๋ ตบแปะ
• พูดคุย ใช้ นิทาน ร้ องเพลง
• มีกจิ กรรมก่ อนนอน เวลานอนที่สม่าเสมอ ฝึ กให้ หลับเมื่อ
ตื่นได้ เอง
9 เดือน: พัฒนาการ
• นั่งได้ ม่ ันคง คลาน เกาะยืน
• ใช้ นิว้ หยิบของได้ เปิ ดหาของที่ซ่อนไว้ ได้ มองตามของที่
ตกจากมือ
• ฟั งรู้ภาษา เข้ าใจสีหน้ าท่ าทาง เลียนเสียง
• จ๊ ะเอ๋ ตามไปเก็บของตก ร้ องตามแม่ เมื่อแม่ จะออกจาก
ห้ อง หยิบอาหารกินได้
9 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เริ่มเรี ยนรู้ เหตุและผลของการกระทาง่ ายๆ เล่ นของเล่ น
cause-effect toys เช่ น เอาก้ อนไม้ ใส่ กล่ อง เท
ออก
• ฝึ กวินัย ผู้ใหญ่ ทาตัวอย่ างที่ดี
• ความกังวลจากการแยกจาก
กลัวคนแปลกหน้ า
12 เดือน: พัฒนาการ
• เกาะเดิน ยืนเองได้ ช่ ัวครู่
• ใช้ นิว้ หัวแม่ มือ และนิว้ ชีห้ ยิบของเล็กๆได้ ถนัด หยิบของ
ใส่ ถ้วย
• เรี ยกพ่ อ แม่ พูดคาโดดที่มีความหมายได้ 1 คา ทาตาม
บอกโดยมีท่าทางประกอบได้
• ตบมือ เลียนท่ าทางโบกมือ สาธุ ร่ วมมือเวลาแต่ งตัว ชอบ
สารวจ
12 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• ไม่ ควรใช้ การลงโทษโดยการตี ใช้ คาสั่งห้ ามอย่ างชัดเจน
ในพฤติกรรมที่ไม่ ควรทา หรือใช้ วธิ ี time-out ช่ วย
ป้องกันโดยการใช้ วธิ ีดงึ ความสนใจไปยังจุดอื่นเมื่อเริ่ม
งอแง
• จับหยุดเมื่อมีพฤติกรรมรุ นแรง
• ชมเชยเมื่อมีพฤติกรรมที่ดี
• มีกจิ กรรมครอบครั วร่ วมกัน เลี่ยงการดูโทรทัศน์
• มีกจิ วัตรการกิน นอน ขับถ่ ายที่สม่าเสมอ
18 เดือน: พัฒนาการ
• เดินคล่ อง วิ่ง ยืนก้ มเก็บของแล้ วลุกขึน้ ได้ จูงมือเดียวขึน้
บันไดได้
• ขีดเขียนเส้ นยุ่งๆ วางก้ อนไม้ ซ้อนกันได้ 3 ชิน้
• ชีภ้ าพ ชีอ้ วัยวะตามคาบอก พูดคาโดดได้ หลายคา ทาตาม
บอกโดยไม่ ต้องมีท่าทางประกอบได้
• ถือถ้ วยนา้ ดื่มเอง
18 เดือน: คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เป็ นช่ วงการศึกษา เรียนรู้ส่ งิ แวดล้ อมรอบตัว ให้ สังเกต
ความสนใจของเด็ก
• มีความกังวลต่ อสิ่งแวดล้ อมใหม่ ๆ ควรให้ โอกาส และเวลา
ต่ อการปรับตัว โดยเฉพาะเด็กที่ปรับตัวยาก
• ฝึ กวินัยตามคาแนะนา 12 เดือน
• เริ่มฝึ กการขับถ่ ายตามความพร้ อมของเด็ก
2 ปี : พัฒนาการ
• เดินขึน้ บันไดเอง เตะบอล กระโดด 2 เท้ า
• ขีดเส้ นตรง เปิ ดหนังสือทีละหน้ า วางก้ อนไม้ ซ้อนกันได้ 6
ชิน้
• พูด 2-3 คาต่ อกันได้ อย่ างมีความหมาย บอกชื่อตัวเอง คน
คุ้นเคยได้
• เลียนแบบผู้ใหญ่ ใช้ ช้อนตักอาหารกินเอง บอกเวลาจะ
ถ่ ายอุจจาระ
2 ปี : คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เป็ นช่ วงที่ภาษามีพฒ
ั นาการมาก ส่ งเสริมโดยการพูดคุยใน
สิ่งที่เด็กสนใน การอ่ านนิทานร่ วมกันแบบมีการตอบสนอง
(interactive reading)
• ฝึ กวินัย กิจวัตรสม่าเสมอ
• ให้ โอกาสการเลือกทา-กิน โดยให้ ตัวเลือก สนับสนุนให้
เด็กมีความรู้ สึกว่ าได้ ทาเอง ควบคุมกิจกรรมนัน้ เอง
3 ปี : พัฒนาการ
• ขึน้ บันไดสลับเท้ า ขี่สามล้ อ
• วาดวงกลมตามแบบ
• เล่ าเรื่องพอเข้ าใจได้ ประมาณร้ อยละ 50
• ถอดรองเท้ า ใส่ เสือ้ ได้ รู้จักเพศตัวเอง แบ่ งของให้คนอื่น
ได้ บ้าง คุมการขับถ่ ายอุจจาระได้
3 ปี : คาแนะนาล่ วงหน้ า
• ส่ งเสริมพัฒนาการทางภาษาอย่ างต่ อเนื่อง การเล่ นกับ
เสียง เช่ นคาพ้ องในภาษาโดยผ่ านนิทาน การเล่ นใน
ชีวติ ประจาวัน
• ส่ งเสริมการเล่ นกับเพื่อนในวัยเดียวกัน
• การรู้จักรอคอย
4 ปี : พัฒนาการ
• กระโดดเท้ าเดียว เดินลงบันไดสลับเท้ าได้
• วาดสี่เหลี่ยมตามแบบได้ วาดคนได้ 3 ส่ วน
• ร้ องเพลง ถามคาถาม เล่ าเรื่องให้ ผ้ ูอ่ นื เข้ าใจได้ทงั ้ หมด
รู้จัก 4 สี
• เล่ นร่ วมกับคนอื่นได้ คุมการถ่ ายปั สสาวะเวลากลางวันได้
4 ปี : คาแนะนาล่ วงหน้ า
• เตรียมความพร้ อมสาหรับการเข้ าโรงเรียน
• ให้ โอกาสเด็กได้ เรียนรู้ประสบการณ์ มากขึน้ เช่ นไปเที่ยว
สวนสัตว์
• การอ่ านหนังสือแบบ interactive reading
• ฝึ กทักษะทางสังคม โดยเป็ นตัวอย่ างที่บ้าน เช่ นการขอ
โทษ ขอบคุณ การเชิญชวน
• ตอบคาถามของเด็กด้ วยคาง่ ายๆ ชัดเจน
5 ปี : พัฒนาการ
• กระโดดสลับเท้ า กระโดดข้ ามสิ่งกีดขวางเตีย้ ๆ เดินต่ อ
เท้ าเป็ นเส้ นตรงได้ โดยไม่ ล้ม
• จับดินสอได้ ถูกต้ อง วาดสามเหลี่ยมตามแบบได้ วาดคน 6
ส่ วน
• ถามตอบเกี่ยวกับความหมายและเหตุผล เริ่มจาตัวอักษร
ได้ นับสิ่งของได้ 5 ชิน้ นับเลขได้ ถงึ 20
• เล่ นอย่ างมีกติกา แต่ งตัวเอง เล่ นสมมุตใิ ช้ จนิ ตนาการได้ ดี
ไม่ ปัสสาวะรดที่นอนกลางคืน
5 ปี : คาแนะนาล่ วงหน้ า
• การปรั บตัวที่โรงเรี ยน กับเพื่อน และครู
• ความสัมพันธ์ ท่ ดี รี ะหว่ างผู้ปกครองด้ วยกัน และครู
• ฝึ กเด็กให้ ร้ ู จักรั บมืออย่ างถูกต้ องถ้ ามีคนอื่นมารังแก
คำถำม?
หนังสืออ้ างอิง:
• นิตยา คชภักดี. พัฒนาการเด็ก (child development). ใน: นิชรา เรืองดารกานนท์ , ชาคริ
ยา ธีรเนตร, รวิวรรณ รุ่ งไพรวัลย์ , ทิพวรรณ หรรษคุณาชัย, นิตยา คชภักดี,
บรรณาธิการ. ตาราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท โฮลิสติก
พับลิชชิ่ง จากัด; 2551. หน้ า 359-394.
• Hagen JF, Shaw JS, Duncan PM. Bright futures: guidelines for health supervision of
infants, children, and adolescents. 3rd ed. IL: American Academy of Pediatrics; 2008.