มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ - โครงการชลประทานฯ อันเนื่องมาจากพระ

Download Report

Transcript มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ - โครงการชลประทานฯ อันเนื่องมาจากพระ

มาตรฐานการจ ัดทาบ ัญช ี
สาหร ับหน่วยงานภาคร ัฐ
1
ี าคร ัฐ
การปฏิรป
ู ระบบบ ัญชภ
ผลทีค่ าดหวัง
เครื่องมือ
ต้ นทุนทีแ่ ท้ จริงอันเกิดจาก
การใช้ ทรัพยากรในการ
ดาเนินการ
 ฐานะการเงินทีถ
่ ูกต้ อง
ครบถ้ วน
 ความเป็ นสากล และโปร่ งใส
ของข้ อมูลทางบัญชี
 การตัดสิ นใจของผู้บริ หารด้ วย
การใช้ ข้อมูลทางบัญชีทมี่ ี
คุณภาพมากขึน้ ทั้งในระดับ
หน่ วยงานและระดับรัฐบาล


เกณฑ์ คงค้ าง ต้ นทุนผลผลิต

รายงานการเงิน

มาตรฐานการจัดทาบัญชีภาครัฐ

รายงานการเงิน และรายงานอืน่ ๆ
ทีใ่ ช้ ข้อมูลทางบัญชี
ี าคร ัฐ
การปฏิรป
ู ระบบบ ัญชภ

เปลีย่ นหลักการบัญชี
เกณฑ์ เงินสด

เกณฑ์ คงค้ าง
ขยายวัตถุประสงค์ ของการจัดทาบัญชี
ควบคุมและติดตาม
การใช้ งบประมาณ
ติดตามสถานะการเงิน
และการใช้ ทรัพยากร
ในการดาเนินงาน
(ต้ นทุนผลผลิต)
3
ี าคร ัฐ
การปฏิรป
ู ระบบบ ัญชภ

ขยายขอบเขตการจัดทารายงาน
รายงานประกอบการ
ติดตามงบประมาณ

รายงานการเงิน
เพื่อวัตถุประสงค์ทวั่ ปป
ปรับแนวทางการกาหนดหลักเกณฑ์ การบัญชี
ระบบบัญชีส่วนราชการ
มาตรฐานการจัดทาบัญชีภาครัฐ
4
ี าคร ัฐ
แนวคิดในการกาหนดหล ักการบ ัญชภ
 หลักการควบคุม
◦ รัฐบาลควบคุมหน่ วยงานภาครัฐ
 จัดทางบการเงินรวมของแผ่ นดิน (รัฐบาล)
◦ หน่ วยงานภาครัฐควบคุมทรัพยากร
 กาหนดหน่ วยงานที่เสนอรายงานเป็ นหน่ วยที่มอี านาจ
ควบคุมทรัพยากร (ระดับกรม)
5
ี าคร ัฐ
แนวคิดในการกาหนดหล ักการบ ัญชภ
หน่ วยงานภาครัฐ
 ถูกควบคุมโดยรัฐบาล (มีอทิ ธิพลในการกาหนดนโยบายสาคัญ)
 ใช้ จ่ายเงินงบประมาณเป็ นหลักในการดาเนินงาน (ระยะยาว)
รัฐบาลควบคุม
ใช้ เงินงบประมาณ
เป็ นส่ วนใหญ่
บัญชี
รัฐบาล
(9999)
ไม่ ใช่ หน่ วยงาน
ภาครัฐ
6
1. รัฐบาลควบคุม+ไม่ ใช้ เงินงปม. >> เป็ น
 ทุนหมุนเวียน
4. ไม่ ถูกรัฐบาลควบคุม+ไม่ ใช้ เงินงปม. >> ไม่ เป็ น
 ธนาคารแห่ งประเทศไทย
2. ไม่ ถูกรัฐบาลควบคุม+ใช้ เงินงปม. >> เป็ น 5. รัฐบาลควบคุม+ไม่ ใช้ เงินงปม. >> ไม่ เป็ น
 หน่ วยงานอิสระตามรธน.
 รัฐวิสาหกิจไม่ ใช้ งปม. เช่ น ปตท.
3. รัฐบาลควบคุม+ใช้ เงินงปม. >> เป็ น
 ส่ วนราชการ
6. ไม่ ถูกรัฐบาลควบคุม+ใช้ เงินงปม. >> ไม่ เป็ น
 ไม่ มี (มีเพียงใช้ งปม.บางส่ วน)
รัฐบาลควบคุม
ใช้ เงินงบประมาณ
เป็ นส่ วนใหญ่
3
1
7
5
4
7. รัฐบาลควบคุม+ใช้ เงินงปม. >> ไม่ เป็ น
 รัฐวิสาหกิจใช้ งปม. เช่ น กกท.
2
6
ไม่ ใช่ หน่ วยงาน
ภาครัฐ
7
ี าคร ัฐ
แนวคิดในการกาหนดหล ักการบ ัญชภ
หน่ วยงานภาครัฐ
 แต่ ละหน่ วยเบิกจ่ ายภายใต้ หน่ วยงาน(กรม)เดียวกันบันทึกรายการ
ของตนเองเป็ นหน่ วยทางบัญชีแยกจากกัน
 ทุกหน่ วยเบิกจ่ ายภายใต้ หน่ วยงานรวมกันจัดทางบการเงิน 1 ชุ ด
หน่ วย
เบิกจ่ าย
(ลูก 1)
หน่ วย
เบิกจ่ าย
(แม่ )
หน่ วย
เบิกจ่ าย
(ลูก 2)
หน่ วย
เบิกจ่ าย
(ลูก 3)
8
ี าคร ัฐ
แนวคิดในการกาหนดหล ักการบ ัญชภ
รายการระหว่ างกัน 3 ระดับ
 รัฐบาล(9999) – หน่ วยงาน
 หน่ วยงาน – หน่ วยงาน
 หน่ วยเบิกจ่ าย – หน่ วยเบิกจ่ าย
รายได้ /ค่ าใช้ จ่าย (BP)
รายได้ /ค่ าใช้ จ่าย (BP)
รายได้ /ค่ าใช้ จ่าย
(ภายใต้ หน่ วยงานเดียวกัน)
9
ี าคร ัฐ
แนวคิดในการกาหนดหล ักการบ ัญชภ

การบันทึกบัญชีตามความรับผิดชอบ
◦ รายการที่อยูใ่ นความดูแลรับผิดชอบ ปม่จากัดเฉพาะความเป็ น
เจ้าของ เช่น ที่ดินราชพัสดุ

เน้ นผลผลิตมากกว่ าประเภทเงิน
◦ บันทึกเงินในงบประมาณ และเงินนอกประมาณในลักษณะเดียวกัน
ตามรายการที่เกิดขึ้น
10
ี าคร ัฐ
แนวคิดในการกาหนดหล ักการบ ัญชภ
สรุปขอบเขตของการบันทึกรายการแต่ ละองค์ ประกอบในงบการเงิน
 สิ นทรัพย์
- ควบคุมประโยชน์ การใช้ งาน
อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
 หนีส
้ ิน
- ภาระผูกพันทีต่ ้ องชดใช้
อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
 ทุน
- สินทรัพย์สุทธิเมื่อเริ่มเกณฑ์คงค้าง/ตั้งหน่ วยงาน
สิ นทรัพย์ สุทธิเปลีย่ นแปลงสุ ทธิสะสม
 รายได้
- สินทรัพย์สุทธิเพิม่ ขึน้
 ค่ าใช้ จ่าย - สิ นทรัพย์ สุทธิลดลง
11
ี าคร ัฐ
มาตรฐานการจ ัดทาบ ัญชภ
หลักการและนโยบายบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานรายงานการเงิน
ผังบัญชีมาตรฐาน
12
้ า้ งอิง
ี ใี่ ชอ
มาตรฐานบ ัญชท
IPSAS (International Public Sector Accounting
Standards)
มาตรฐานการบัญชีไทย
IAS (International
Accounting Standards)
IFRS (International
Financial Reporting Standards)
13
ขอบเขตการถือปฏิบ ัติตามหล ักการและ
ี
นโยบายบ ัญชฯ
ส่ วนราชการระดับกรม
 หน่ วยงานภาครัฐลักษณะพิเศษ

 หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ
 องค์การมหาชน
 หน่วยงานอิสระที่ต้ งั ขึ้นโดยกฎหมายเฉพาะ
 กองทุนเงินนอกงบประมาณ
14
ี
โครงสร้างของหล ักการและนโยบายบ ัญชฯ
 หลักการและนโยบายบัญชีทั่วไป
 หลักการและนโยบายบัญชีแต่ ละองค์ ประกอบของ
งบการเงิน
15
ี วไป
หล ักการและนโยบายบ ัญชท
่ั









หน่วยงานที่เสนอรายงาน
งบการเงิน
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน
หลักการบัญชี
รอบระยะเวลาบัญชี
การดาเนินงานต่อเนื่อง
การโอนสิ นทรัพย์และหนี้สิน
รายการพิเศษ
รายการที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ
16
ล ักษณะเชงิ คุณภาพของงบการเงิน
ความเข้าใจปด้
 ความเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ
◦ ความมีนยั สาคัญ
 ความเชื่อถือปด้
 การเปรี ยบเทียบกันปด้

17
ความเข้าใจได้ (Understandability)
ข้อมูลในงบการเงินต้องสามารถเข้าใจปด้ดีในทันทีที่ผใู้ ช้งบการเงินใช้
ข้อมูลดังกล่าว
 ข้อมูลแม้วา่ จะมีความซับซ้อน แต่ถา้ เกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจ
ก็ปม่ควรละเว้นที่จะแสดงในงบการเงิน เพียงเพราะเหตุผลที่วา่ ข้อมูล
ดังกล่าวยากเกินกว่าที่ผใู ้ ช้งบการเงินบางคนจะเข้าใจปด้
 ข้อแม้วา่
◦ ผูใ้ ช้งบการเงินมีความรู ้ตามควรเกี่ยวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและ
การบัญชี รวมทั้งมีความตั้งใจตามควรที่จะศึกษาข้อมูลดังกล่าว

18
ิ ใจ (Relevance)
ความเกีย
่ วข้องก ับการต ัดสน
ข้อมูลที่มีประโยชน์ตอ้ งเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจของผูใ้ ช้งบการเงิน ข้อมูล
จะเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจปด้กต็ ่อเมื่อข้อมูลนั้นช่วยให้ผใู ้ ช้งบ
การเงินสามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปั จจุบนั และอนาคต รวมทั้งช่วย
ยืนยันหรื อชี้ขอ้ ผิดพลาดของผลการประเมินที่ผา่ นมาของผูใ้ ช้งบการเงินปด้
 ข้อพิจารณา
◦ ความมีนยั สาคัญ
 การปม่แสดงข้อมูลหรื อการแสดงข้อมูลผิดพลาดมีผลกระทบต่อผูใ้ ช้งบ
การเงินในการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจ ความมีนยั สาคัญขึ้นอยูก่ บั ขนาด
ของรายการหรื อขนาดของความผิดพลาดที่เกิดขึ้นภายใต้สภาพการณ์
เฉพาะซึ่ งต้องพิจารณาเป็ นกรณี ๆ ปป

19
ื่ ถือได้ (Reliability)
ความเชอ


ข้อมูลที่ปม่มีความผิดพลาดที่มีนยั สาคัญ รวมทั้งปม่มีความลาเอียง
ในการนาเสนอข้อมูลที่ทาให้ขอ้ มูลปม่ตรงกับความเป็ นจริ ง
ข้อพิจารณา
1. การเป็ นตัวแทนอันเที่ยงธรรม
2. เนื้อหาสาคัญกว่ารู ปแบบ
3. ความเป็ นกลาง
4. ความระมัดระวัง
5. ความครบถ้วน
20
การเป็นต ัวแทนอ ันเทีย
่ งธรรม

ข้อมูลจะมีความเชื่อถือปด้เมื่อรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีปด้
แสดงอย่างเที่ยงธรรม ตามที่ตอ้ งการให้แสดงหรื อควรแสดง
ดังนั้น งบดุลควรแสดงสิ นทรัพย์ หนี้สิน และส่ วนของเจ้าของ
เฉพาะรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีที่เข้าเกณฑ์การรับรู ้รายการ
ณ วันที่เสนอรายงาน
21
้ หาสาค ัญกว่ารูปแบบ
เนือ

ข้อมูลต้องบันทึกและแสดงตามเนื้อหาและความเป็ นจริ ง
เชิงเศรษฐกิจ มิใช่ตามรู ปแบบทางกฎหมายเพียงอย่างเดียว
เนื้อหาของรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีอาจปม่ตรงกับรู ปแบบ
ทางกฎหมายหรื อรู ปแบบที่ทาขึ้น
22
ั
่
สญญาเช
า

สั ญญาเช่ าการเงิน
Dr. สิ นทรัพย์ xx
Cr. เจ้ าหนีส้ ั ญญาเช่ าการเงิน xx
Dr. เจ้ าหนีส้ ั ญญาเช่ าการเงิน xx
Cr. เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

สั ญญาเช่ าดาเนินงาน
Dr. ค่ าเช่ า
xx
Cr. เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx
ความเป็นกลาง

ข้อมูลที่แสดงอยูใ่ นงบการเงินมีความน่าเชื่อถือเมื่อมีความเป็ น
กลาง หรื อปราศจากความลาเอียง งบการเงินจะขาดความเป็ น
กลาง หากการเลือกข้อมูลหรื อการแสดงข้อมูลในงบการเงินนั้น
มีผลทาให้ผใู ้ ช้งบการเงินตัดสิ นใจหรื อใช้ดุลยพินิจตามเจตนา
ของกิจการ
24
ความระม ัดระว ัง
การใช้ดุลยพินิจที่จาเป็ นในการประมาณการภายใต้ความปม่แน่นอน
เพื่อมิให้สินทรัพย์หรื อรายปด้แสดงจานวนสูงเกินปป และหนี้สิน
หรื อค่าใช้จ่ายแสดงจานวนต่าเกินปป
 แต่ปม่ใช่จะทาการตั้งค่าเผือ่ หรื อสารองสู งเกินความเป็ นจริ ง

25
ความครบถ้วน

ข้อมูลในงบการเงินที่เชื่อถือปด้ตอ้ งครบถ้วนภายใต้ขอ้ จากัดของ
ความมีนยั สาคัญและต้นทุนในการจัดทา รายการบางรายการ
หากปม่แสดงในงบการเงินจะทาให้ขอ้ มูลมีความผิดพลาด หรื อ
ทาให้ผใู ้ ช้งบการเงินเข้าใจผิด ดังนั้น ข้อมูลดังกล่าวจะมีความ
เกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจน้อยลงและขาดความน่าเชื่อถือปด้
26
การเปรียบเทียบก ันได้ (Comparability)

ผูใ้ ช้งบการเงินต้องสามารถเปรี ยบเทียบงบการเงินของกิจการ
ในรอบระยะเวลาต่างกันเพื่อคาดคะเนถึงแนวโน้มของฐานะ
การเงินและผลการดาเนินงานของกิจการนั้น
27
ิ ทร ัพย์และหนีส
ิ
้ น
การโอนสน
 รับรู ้มูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชีของ ส/ท หรื อ น/ส เป็ นส่ วนทุน
ของหน่วยงานผูโ้ อนและผูร้ ับโอน
 รับรู ้มูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชีของ ส/ท หรื อ น/ส เป็ นค่าใช้จ่าย
และรายปด้ของหน่วยงานผูโ้ อนและผูร้ ับโอน
28
ิ ทร ัพย์และหนีส
ิ (ต่อ)
้ น
การโอนสน

โอนตามนโยบายรัฐบาล เช่น ยุบเลิกหน่วยงาน
หน่วยงานผูโ้ อน
เดบิต ค่าเสื่ อมราคาสะสม
ทุน
เครดิต สิ นทรัพย์
หน่วยงานผูร้ ับโอน
เดบิต สิ นทรัพย์
เครดิต ค่าเสื่ อมราคาสะสม
ทุน
29
ิ ทร ัพย์และหนีส
ิ (ต่อ)
้ น
การโอนสน

หน่วยงานสมัครใจโอน เช่น กองทุนโอนส/ท ให้สรก.
◦ รถยนต์ราคาทุน 100 อายุ 5 ปี ต้นปี ที่ 3 โอนปปให้หน่วยงานอื่น
ข้อมูลตามบัญชีของหน่วยงานผูโ้ อน
สิ นทรัพย์-ราคาทุน
100
ค่าเสื่ อมราคาสะสม
40
30
ิ ทร ัพย์และหนีส
ิ (ต่อ)
้ น
การโอนสน
หน่วยงานผูโ้ อน
เดบิต ค่าใช้จ่ายโอน ส/ท
ค่าเสื่ อมฯ สะสม
เครดิต สิ นทรัพย์
60
40
100
หน่วยงานผูร้ ับโอน
เดบิต สิ นทรัพย์ (สุ ทธิ)
60
เครดิต รายปด้รับโอนส/ท
60
31
รายการทีเ่ ป็นเงินตราต่างประเทศ
บันทึกเป็ นเงินบาท ณ วันที่เกิดรายการ
 ณ วันที่รายงาน

◦ รายการที่เป็ นตัวเงิน
◦ รายการที่ปม่เป็ นตัวเงิน

ใช้อตั ราปิ ด
ใช้อตั ราวันที่เกิดรายการ
รับรู ้ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็ นรายปด้ / ค่าใช้จ่าย เมื่อ
มีการชาระเงิน / รายงานรายการที่เป็ นตัวเงิน
32
ี ต่ละองค์ประกอบ
หล ักการและนโยบายบ ัญชแ
ของงบการเงิน
 สิ นทรัพย์
 หนี้ สิน
 ส่ วนทุน
 รายปด้
 ค่าใช้จ่าย
33
การร ับรู ้
 คานิยาม
 เกณฑ์การรับรู ้
◦ เป็ นปปปด้ค่อนข้างแน่ที่จะเกิดเหตุการณ์
◦ วัดมูลค่าปด้อย่างน่าเชื่อถือ
34
คานิยาม

สิ นทรัพย์
◦ ทรัพยากรในความควบคุม
◦ เกิดผลประโยชน์ในอนาคต
◦ ศักยภาพในการให้บริ การ
เพิ่มขึ้น

หนี้สิน
◦ เกิดภาระผูกพันในปั จจุบนั
◦ จะเสี ยทรัพยากรในอนาคต
◦ ศักยภาพในการให้บริ การ
ลดลง
35
ทร ัพยากรในความควบคุม
อาคารบนที่ราชพัสดุ
ได้ รับค่ าตอบ
แทนการใช้
ใช้ ในการผลิตผลผลิต
ใช่
ได้ ประโยชน์
จากการขาย
ไม่ ใช่
ไม่ ใช่
อนุญาตหรือ
ปฏิเสธการใช้
ไม่ ใช่
ทรัพยากรใน
ความควบคุม
36
คานิยาม (ต่อ)

รายปด้
◦ ผลประโยชน์ (Inflow) เข้า
หน่วยงาน
◦ สิ นทรัพย์สุทธิเพิ่มขึ้น

ค่าใช้จ่าย
◦ ผลประโยชน์ (Outflow)
ออกจากหน่วยงาน
◦ สิ นทรัพย์สุทธิลดลง
37
รายได้ตามคานิยาม
เงินงบประมาณงบลงทุน
ผลประโยชน์ เข้ าหน่ วยงาน
ใช่
สิ นทรัพย์ สุทธิเพิม่ ขึน้
ใช่
รายได้
38
ี ส
นโยบายบ ัญชท
ี่ าค ัญบางรายการ
วัสดุคงคลัง
 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
 สิ นทรัพย์ปม่มีตวั ตน
 เจ้าหนี้
 เงินกู้
 กาปร/ขาดทุนจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์

39
ว ัสดุคงคล ัง

ตามหลักการฯ
◦ ลักษณะ – สิ นทรัพย์ใช้หมดเปลืองสิ้ นปปในการดาเนินงานปกติ มูลค่า
ปม่สูง ปกติปม่คงทนถาวร
◦ การรับรู้ - เมื่อหน่วยงานตรวจรับของแล้ว และปรับปรุ งรายการ ณ วัน
สิ้ นปี จากการตรวจนับยอดคงเหลือ
◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หวั ข้อสิ นค้าและวัสดุคงเหลือ ในกลุ่ม
สิ นทรัพย์หมุนเวียน
40
ทีด
่ น
ิ อาคาร และอุปกรณ์

ตามหลักการฯ
◦ ลักษณะ – สิ นทรัพย์ที่มีสภาพคงทนถาวร ให้ประโยชน์แก่หน่วยงานใน
ระยะยาวเกินกว่า 1ปี มูลค่าต่อรายการตั้งแต่ 5,000 บาท ขึ้นปป
◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานตรวจรับของแล้ว (จากการซื้ อและจ้างก่อสร้าง)
◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หวั ข้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในกลุ่ม
สิ นทรัพย์ปม่หมุนเวียน โดยแสดงมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชีในงบการเงิน และ
เปิ ดเผยรายละเอียดราคาทุน และค่าเสื่ อมราคาสะสมในหมายเหตุ
ประกอบงบการเงิน
41
ทีด
่ น
ิ อาคาร และอุปกรณ์

การบันทึกรายการในระบบ GFMIS
• บันทึกเมื่อหน่วยงานตรวจรับ/ตั้งเบิกในระบบฯเป็ นพักสิ นทรัพย์ และ
โอนเป็ นสิ นทรัพย์ประเภทนั้นๆ เมื่อสร้าง/บันทึกรายละเอียดในข้อมูล
หลักสิ นทรัพย์ (รายตัว) ในระบบฯ
• บันทึกเป็ นพักงานระหว่างก่อสร้าง เมื่อตรวจรับงานจ้างก่อสร้างสิ นทรัพย์
ที่ตอ้ งมีการจ่ายเงินหลายงวด โอนเป็ นงานระหว่างก่อสร้างเมื่อสร้าง/
บันทึกรายละเอียดในข้อมูลหลักสิ นทรัพย์ (รายตัว - งานระหว่างก่อสร้าง)
ในระบบฯ จนกระทัง่ การก่อสร้างเสร็ จเรี ยบร้อย จึงโอนงานระหว่าง
ก่อสร้างออกเป็ นสิ นทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง เช่น อาคาร หรื อสิ่ งปลูกสร้าง
42
ิ ทร ัพย์
รายจ่ายภายหล ังการได้มาซงึ่ สน

รายจ่ายนั้นทาให้หน่วยงานปด้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจหรื อ
ศักยภาพในการให้บริ การตลอดอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์
เพิ่มขึ้นจากมาตรฐานการปฏิบตั ิงานที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั
 อายุการใช้งานนานขึ้นและมีประสิ ทธิ ภาพเพิ่มขึ้น
 ส่ งผลให้ผลผลิตมีคุณภาพดีข้ ึนอย่างเห็นปด้ชดั
 ลดต้นทุนการดาเนินงานที่ประเมินปว้เดิมอย่างเห็นปด้ชดั
ิ ทร ัพย์ไม่มต
สน
ี ัวตน

ตามหลักการฯ
◦ ลักษณะ – สิ นทรัพย์ที่ปม่เป็ นตัวเงินซึ่ งระบุแยกปด้แต่ปม่มีรูปร่ าง ให้
ประโยชน์แก่หน่วยงานในระยะยาวเกินกว่า 1 ปี เช่น โปรแกรม
คอมพิวเตอร์
◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานตรวจรับของแล้ว (กรณี ตรวจรับงานเป็ นงวด ๆ
บันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ระหว่างพัฒนาปว้จนพัฒนาเสร็ จเรี ยบร้อยจึงโอน
ออกเป็ นสิ นทรัพย์ประเภทนั้น)
◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หวั ข้อสิ นทรัพย์ปม่มีตวั ตน ในกลุ่มสิ นทรัพย์
ปม่หมุนเวียน โดยแสดงมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชีในงบการเงิน และเปิ ดเผย
รายละเอียดราคาทุน และค่าตัดจาหน่ายสะสมในหมายเหตุประกอบงบ
การเงิน
44
เจ้าหนี้

ตามหลักการฯ
◦ ลักษณะ – ภาระผูกพันต่อบุคคลอื่นที่เกิดขึ้นในการดาเนินงานปกติ
◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานปด้ตรวจรับสิ นค้า/บริ การ สิ นทรัพย์จาก
ผูข้ ายแล้ว
◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หวั ข้อสิ นทรัพย์ปม่มีตวั ตน ในกลุ่มหนี้สิน
หมุนเวียน ตามราคาทุน และเปิ ดเผยรายละเอียดประเภทเจ้าหนี้ใน
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
45
เงินกู ้

ตามหลักการฯ
◦ ลักษณะ – ภาระผูกพันอันเกิดจากเงินที่กยู้ มื จากบุคคลอื่น
◦ การรับรู้ – เมื่อปด้รับเงินกู้ หรื อเมื่อแหล่งเงินผูใ้ ห้กแู้ จ้งว่าปด้เบิกจ่าย
เงินกูใ้ ห้แก่เจ้าหนี้ของหน่วยงานโดยตรงแล้ว
◦ การแสดงรายการ – แสดงตามราคาทุน โดยแสดงเงินกูท้ ี่มีกาหนดชาระ
คืนภายใน 1 ปี และส่ วนของเงินกูร้ ะยะยาวที่ถึงกาหนดชาระคืนภายใน
1 ปี เป็ นหนี้สินหมุนเวียน และแสดงเงินกูท้ ี่ถึงกาหนดชาระคืนเกินกว่า
1 ปี เป็ นหนี้สินปม่หมุนเวียน
46
ิ ทร ัพย์
กาไร/ขาดทุนจากการจาหน่ายสน

ตามหลักการฯ
◦ ลักษณะ – ผลต่างระหว่างเงินที่หน่วยงานปด้รับจากการขายสิ นทรัพย์
ถาวรที่เลิกใช้และมูลค่าสุ ทธิ ตามบัญชีของสิ นทรัพย์น้ นั ณ วันที่ขาย
◦ การรับรู้ – รับรู ้เมื่อส่ งมอบสิ นทรัพย์ให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว
◦ การแสดงรายการ –
 หากหน่วยงานเก็บเงินจากการขายปว้ใช้ปด้ จะแสดงกาปร/ขาดทุนจาก
การจาหน่ายสิ นทรัพย์ปว้ในหัวข้อรายปด้/ค่าใช้จ่ายที่ปม่เกิดจากการ
ดาเนินงาน
 หากหน่วยงานต้องนาส่ งเงินจากการขายเข้าคลัง จะแสดงเงินที่ปด้รับจาก
การขายเป็ นรายปด้แผ่นดินในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และแสดง
เฉพาะมูลค่าสุ ทธิตามบัญชีของสิ นทรัพย์ที่ขาย (ค่าจาหน่าย) ปว้ในหัวข้อ
รายปด้/ค่าใช้จ่ายที่ปม่เกิดจากการดาเนินงาน
47
ิ ทร ัพย์
กาไร/ขาดทุนจากการจาหน่ายสน

ในระบบ GFMIS
◦ รับรู ้เมื่อส่ งมอบสิ นทรัพย์ให้กบั ผูซ้ ้ื อแล้ว
เดบิต เงินสด/เงินฝากธนาคาร
เครดิต รายปด้จากการจาหน่ายสิ นทรัพย์
◦ จาหน่ายสิ นทรัพย์ออกจากระบบฯ
เดบิต ค่าจาหน่ายสิ นทรัพย์
ค่าเสื่ อมราคาสะสม
เครดิต สิ นทรัพย์
48
รายงานการเงิน
หลักการและนโยบายบัญชีทั่วไป

หน่วยงานที่เสนอรายงาน
 งบการเงิน
 ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน
 หลักการบัญชี
 รอบระยะเวลาบัญชี
 การดาเนิ นงานต่อเนื่ อง
 การโอนสิ นทรัพย์และหนี้ สิน
 รายการพิเศษ
 รายการที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ
หน่วยงานภาครัฐที่เป็ น
หน่วยงานที่เสนอรายงาน
ต้องจัดทางบการเงินเพื่อ
วัตถุประสงค์ทวั่ ปป
49
รายงานการเงิน
เพือ่ นาเสนอข้ อมูลเกีย่ วกับ
 ฐานะการเงิน
 ผลการดาเนินงาน
 กระแสเงินสด
50
รายงานการเงิน
การใช้ประโยชน์จากรายงานการเงิน
ประกอบการตัดสิ นใจจัดสรรทรัพยากร
จัดทางบการเงินรวมของแผ่นดิน
จัดทารายงานประจาปี ในระดับต่าง ๆ
51
มาตรฐานรายงานการเงิน
 หลักเกณฑ์ทวั่ ปป
 หน่วยงานที่เสนอรายงาน
 ส่ วนประกอบของรายงาน
 รู ปแบบของรายงาน
52
หล ักเกณฑ์ทวไป
่ั
หลักการและนโยบายบัญชีฯ ฉบับที่ 2
 เกณฑ์คงค้าง
 ความสม่าเสมอ
 ความมีนยั สาคัญ
 ข้อมูลเปรี ยบเทียบ
 รอบระยะเวลาบัญชี
 กาหนดส่ งรายงาน

53
ความมีน ัยสาค ัญ
มีนยั สาคัญโดยลักษณะ
 มีนยั สาคัญโดยขนาด


ปม่มีนยั สาคัญ



แยกแสดง
รวมแสดงกับรายการลักษณะ
เดียวกัน
รวมแสดงกับรายการลักษณะ
คล้ายกัน
54
หน่วยงานทีเ่ สนอรายงาน
หน่วยงานที่สามารถคาดการณ์ปด้อย่างสมเหตุผลว่ามีผตู ้ อ้ งการใช้ประโยชน์
จากรายงานการเงินของหน่วยงานนั้นเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการจัดสรร
ทรัพยากร
หน่ วยงานในระดับที(่ จะ)ได้ รับการจัดสรรและอนุมตั ิงบประมาณ และ
มีอานาจจัดการทรัพยากรการเงินในความดูแล





ส่ วนราชการระดับกรม
ทุนหมุนเวียน
หน่วยงานอิสระ
องค์การมหาชน
รัฐวิสาหกิจ และอื่น ๆ เช่น งบจังหวัด
55
หน่วยงานทีเ่ สนอรายงาน
หน่วยงานที่เสนอรายงานซึ่ งอยูใ่ นขอบเขตของการจัดทารายงานการเงินใน
ภาพรวมของรัฐบาล ต้องส่ งรายงานการเงินให้กระทรวงการคลังเพื่อการจัดทา
รายงานการเงินรวมของแผ่นดิน
หน่วยงานในความ
ควบคุมของรัฐบาล
หน่วยงานที่ใช้เงินงบประมาณ
ในการดาเนินงานเป็ นส่ วนใหญ่
ส่ วนราชการระดับกรม
 กองทุนเงินนอกงบประมาณ
 องค์การมหาชน
 หน่วยงานอิสระ และอื่น ๆ

56
่ นประกอบรายงานการเงิน
สว
 งบแสดงฐานะการเงิน
 งบรายปด้และค่าใช้จ่าย
 งบกระแสเงินสด
 หมายเหตุประกอบงบการเงิน
57
รูปแบบรายงานการเงิน
 มาตรฐานรายงานการเงิน
 ส.กรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0423.2 ว410 ลว.21/11/51
เรื่ องรู ปแบบรายงานการเงินของหน่วยงานภาครัฐ
58
งบแสดงฐานะการเงิน
สิ นทรัพย์
สิ นทรัพย์ หมุนเวียน
สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
รวมสิ นทรัพย์
หนีส้ ิ น
หนีส้ ิ นหมุนเวียน
หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน
รวมหนีส้ ิ น
สิ นทรัพย์ สุทธิ
สิ นทรัพย์ สุทธิ
ทุน
รายได้ สูง(ต่า)กว่ าคชจ.สะสม
รวมสิ นทรัพย์ สุทธิ
xx
xx
XX
xx
xx
XX
XX
xx
xx
XX
59
งบแสดงฐานะการเงิน
สิ นทรัพย์
สิ นทรัพย์ หมุนเวียน
เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด
ลูกหนีร้ ะยะสั้ น
รายได้ ค้างรับ
เงินลงทุนระยะสั้ น
สิ นค้ าและวัสดุคงเหลือ
สิ นทรัพย์ หมุนเวียนอืน่
รวมสิ นทรัพย์ หมุนเวียน
xx
xx
xx
xx
xx
xx
xx
60
งบแสดงฐานะการเงิน
สิ นทรัพย์
สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
ลูกหนีร้ ะยะยาว
เงินลงทุนระยะยาว
ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ (สุ ทธิ)
สิ นทรัพย์โครงสร้ างพืน้ ฐาน (สุ ทธิ)
สิ นทรัพย์ทไี่ ม่ มีตวั ตน (สุ ทธิ)
สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียนอืน่
รวมสิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
xx
xx
xx
xx
xx
xx
xx
61
งบแสดงฐานะการเงิน
หนีส้ ิ น
หนีส้ ิ นหมุนเวียน
เจ้ าหนีร้ ะยะสั้ น
ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย
รายได้ แผ่นดินรอนาส่ งคลัง
เงินทดรองรับจากคลังระยะสั้ น
เงินรับฝากระยะสั้ น
เงินกู้ระยะสั้ น
หนีส้ ิ นหมุนเวียนอืน่
รวมหนีส้ ิ นหมุนเวียน
xx
xx
xx
xx
xx
xx
xx
xx
62
งบแสดงฐานะการเงิน
หนีส้ ิ น
หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน
เจ้ าหนีร้ ะยะยาว
รายได้ รอการรับรู้ ระยะยาว
เงินทดรองรับจากคลังระยะยาว
เงินรับฝากระยะยาว
เงินกู้ระยะยาว
หนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียนอืน่
รวมหนีส้ ิ นไม่ หมุนเวียน
xx
xx
xx
xx
xx
xx
xx
63
้ า
งบรายได้และค่าใชจ
่ ย
รายได้ จากการดาเนินงาน
ค่ าใช้ จ่ายจากการดาเนินงาน
รายได้ สูง/(ต่า)กว่ าคชจ.จากการดาเนินงาน
XX
(XX)
XX
รายได้ /(คชจ.)ทีไ่ ม่ เกิดจากการดาเนินงาน
XX
รายได้ สูง/(ต่า)กว่ าคชจ.จากกิจกรรมตามปกติ
XX
รายการพิเศษ
XX
รายได้ สูง/(ต่า)กว่ าค่ าใช้ จ่ายสุ ทธิ
XX
64
้ า
งบรายได้และค่าใชจ
่ ย
รายได้ จากการดาเนินงาน
รายได้ จากรัฐบาล
รายได้ จากงบประมาณ
รายได้ อนื่
รายได้ จากแหล่งอืน่
รายได้ จากการขายสิ นค้ าและบริการ
รายได้ จากเงินช่ วยเหลือและเงินบริจาค
รายได้ อนื่
XX
XX
XX
XX
XX
65
้ า
งบรายได้และค่าใชจ
่ ย
ค่ าใช้ จ่ายจากการดาเนินงาน
ค่ าใช้ จ่ายบุคลากร
ค่ าบาเหน็จบานาญ
ค่ าใช้ จ่ายฝึ กอบรม
ค่ าใช้ จ่ายเดินทาง
ค่ าวัสดุและใช้ สอย
ค่ าสาธารณูปโภค
ค่ าเสื่ อมราคาและค่ าตัดจาหน่ าย
ค่ าใช้ จ่ายเงินอุดหนุน
ค่ าใช้ จ่ายอืน่
XX
XX
XX
XX
XX
XX
XX
XX
XX
66
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
 สรุ ปนโยบายการบัญชีที่สาคัญ
 รายละเอียดประกอบงบการเงิน
 รายงานฐานะเงินงบประมาณ
 รายงานรายปด้แผ่นดิน
67
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สรุปนโยบายการบัญชีทสี่ าคัญ
- ข้ อมูลทัว่ ไป
ภารกิจหลัก ผลผลิตที่สาคัญ จานวนบุคลากร ณ วันสิ้ นปี
- หลักเกณฑ์ ในการจัดทางบการเงิน
เกณฑ์คงค้างตามหลักการและนโยบายบัญชี ฉบับ 2
หน่วยงานที่รวมอยูใ่ นงบการเงิน
รายการที่ปรากฏในงบการเงิน (เงินใน+เงินนอก+เงินรายปด้แผ่นดิน)
รู ปแบบการแสดงรายการในงบการเงิน
68
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สรุปนโยบายการบัญชีทสี่ าคัญ
- นโยบายบัญชี
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
การรับรู้รายปด้
ค่าเสื่ อมราคาและค่าตัดจาหน่าย
69
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายละเอียดประกอบงบการเงิน
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
ั้
ลูกหนีร้ ะยะสน
หมายเหตุที่ 3 ง/สและรายการเทียบเท่าง/ส
เงินสดในมือ
เงินฝากสถาบันการเงิน
เงินฝากคลัง
รวม
หมายเหตุ
3
4
หมายเหตุที่ 4 ลูกหนี้ระยะสั้น
ลูกหนี้เงินยืม
ลูกหนี้ค่าสิ นค้าและบริ การ
xx
ลูกหนี้อื่น
xx
รวม
xx
xx
xx
xx
xx
xx
70
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานรายได้แผ่นดิน
รายได้ แผ่นดินที่จัดเก็บ
รายได้ แผ่นดิน-ภาษี
รายได้ แผ่นดิน-นอกจากภาษี
รวมรายได้ แผ่นดินที่จัดเก็บ
หัก รายได้ แผ่นดินถอนคืนจากคลัง
รายได้ แผ่นดินจัดสรรตามกฎหมาย
XX
XX
XX
XX
XX
รายได้ แผ่นดินนาส่ งคลัง
(XX)
ปรับปรุ งรายได้ แผ่ นดินรอนาส่ งคลัง
XX
-071
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
รายงานฐานะเงินงบประมาณ
รายการ
งบสุ ทธิ
สารองเงิน ใบสั่ งซื้อ/ เบิกจ่ าย
สั ญญา
แผนงบประมาณ
ผลผลิต
งบ....
คงเหลือ
ปี ปัจจุบ ัน
รวม
รายการ
แผนงบประมาณ
ผลผลิต
งบ....
เงินกันสุ ทธิ
เบิกจ่ าย
คงเหลือ
ปี ก่อน
รวม
72
ี าตรฐาน
ผ ังบ ัญชม
เป็ นเครื่องมือจาแนกข้ อมูลทางการเงิน ให้ เป็ นมาตรฐาน
เดียวกัน โดยจัดกลุ่มรายการทางการเงินลักษณะคล้ ายคลึง
กันไว้ ด้วยกัน เพือ่ ใช้ จดั ทารายงานการเงินในระดับต่ าง ๆ
73
ี าตรฐาน
ผ ังบ ัญชม
การใช้ ประโยชน์
จัดทารายงานการเงินของหน่วยงาน
จัดทารายงานการเงินรวมของแผ่นดิน
จัดทารายงานเพื่อการบริ หาร
เก็บข้อมูลค่าใช้จ่ายบางรายการ
รองรับขั้นตอนการทางานเฉพาะในระบบ GFMIS
74
ี าตรฐาน
ผ ังบ ัญชม

ระดับของข ้อมูล 6 ระดับ
1. สิ นทรัพย์
1.1 สิ นทรัพย์ หมุนเวียน
1.1.1 เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด
1.1.1.2 เงินฝากคลังและสถาบันการเงิน
1.1.1.2.6 เงินฝากธ.พาณิชย์ เพือ่ รับจ่ ายเงินกับคลัง
1 1 01 02 06 03 เงินฝากธนาคาร (เงินงบประมาณ)
75
ี าตรฐาน
ผ ังบ ัญชม
โครงสร้ างการจัดจาแนกรายการในผังบัญชีมาตรฐาน
สิ นทรัพย์
หนีส้ ิ น
หมุนเวียน
ไม่ หมุนเวียน
ทุน
หมุนเวียน
ไม่ หมุนเวียน
ส่ วนได้ เสี ยของเจ้ าของ
กาไรขาดทุนทีย่ งั ไม่ เกิดขึน้ ของเงินลงทุน
รายได้
รายได้ แผ่นดิน – ภาษี
รายได้ แผ่นดิน – ไม่ ใช่ ภาษี
รายได้ ของหน่ วยงาน (เงินนอก)
ค่ าใช้ จ่าย
จากการดาเนินงาน
ไม่ เกิดจากการดาเนินงาน
พักค่ าใช้ จ่าย
รายการพิเศษ
76