ดาว์นโหลด - สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

Download Report

Transcript ดาว์นโหลด - สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

28 กันยายน 2553
ความตกลงด้านมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้ าและอีเล็กทรอนิกส์
อาคม กุศลานนท์
สานักบริหารมาตรฐาน 2
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
หัวข้อนาเสนอ
•
•
•
•
•
•
•
ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียน (ASEAN)
เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)
ASEAN EE MRA
สาระสาคัญของ ASEAN EE MRA และข้อมูลทีน่ ่าสนใจ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
AHEEERR
สาระสาคัญของ AHEEERR
อาเซียน: ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ
เขตการค้าเสรีอาเซียน
(ASEAN Free Trade Area : AFTA)
(พ.ศ. 2535)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
( ASEAN Economic Community : AEC )
(พ.ศ. 2546)
อาเซียน: ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ
เขตการค้าเสรีอาเซียน
(ASEAN Free Trade Area : AFTA)
(พ.ศ. 2535)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
( ASEAN Economic Community : AEC )
(พ.ศ. 2546)
อาเซียน: ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ
เขตการค้าเสรีอาเซียน
(ASEAN Free Trade Area : AFTA)
(พ.ศ. 2535)
• ส่งเสริมให้เกิดการค้าเสรีในภูมิภาคอาเซียน
• อานวยความสะดวกแก่การค้าในภูมิภาคอาเซียน
> การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ เงินทุน และบุคคล ผ่านพรมแดน เป็ นไปอย่างเสรี
> ลด/ยกเลิก อัตราภาษี ศลุ กากร
> ลดอุปสรรคอันเนื่ องมาจากกฎระเบียบทางเทคนิค
มาตรฐานบังคับ
ASEAN EE MRA
• ชื่อเต็ม ASEAN Sectoral Mutual Recognition Arrangement
for Electrical and Electronic Equipment
• ลงนามโดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจของอาเซียน ( ASEAN Economic Minister
: AEM ) เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2545
• ประเทศไทยเข้าร่วมกิจกรรมการยอมรับร่วม
เฉพาะการยอมรับร่วมในผลการทดสอบ (Test Report)
ความตกลงยอมรับร่วม
(Mutual Recognition Agreement - MRA)
ประเทศ A
ประเทศ B
• Technical Regulation A
• Technical Regulation B
• มาตรฐานบังคับ A
• มาตรฐานบังคับ B
ประเทศ C
• Technical Regulation C
• มาตรฐานบังคับ C
ความตกลงยอมรับร่วม
(Mutual Recognition Agreement - MRA)
ประเทศ A
ประเทศ B
• Technical Regulation A
• Technical Regulation B
• มาตรฐานบังคับ A
• มาตรฐานบังคับ B
ประเทศ C
• Technical Regulation C
• มาตรฐานบังคับ C
ความตกลงยอมรับร่วม
(Mutual Recognition Agreement - MRA)
ประเทศ A
ประเทศ B
• Technical Regulation A
• Technical Regulation B
• มาตรฐานบังคับ A
• มาตรฐานบังคับ B
ประเทศ C
• Technical Regulation C
• มาตรฐานบังคับ C
ความตกลงยอมรับร่วม
(Mutual Recognition Agreement - MRA)
ประเทศ A
• Technical Regulation A
ประเทศ B
MRA
• มาตรฐานบังคับ A
• Technical Regulation B
• มาตรฐานบังคับ B
ประเทศ C
• Technical Regulation C
• มาตรฐานบังคับ C
สาระสาคัญของ ASEAN EE MRA
วัตถุประสงค์ : เพื่อการยอมรับซึ่งกันและกันใน
> รายงานผลการทดสอบ (Test Report)
> ผลการรับรอง (Certification)
ผลิตภัณฑ์ที่อยู่ภายใต้มาตรการด้านกฎระเบียบ
(มาตรฐานบังคับ, Regulated Products)
สาระสาคัญของ ASEAN EE MRA
• Test Report จากห้องปิิบตั ิ การทดสอบ (Testing Lab.)
และ
Certificationโดยหน่ วยรับรอง (Certification Body)
ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อเท่านัน้
ที่จะได้รบั การยอมรับภายใต้ ASEAN EE MRA
สาระสาคัญของ ASEAN EE MRA
• Testing Laboratory และ Certification Body
ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อ
ต้องมีขีดความสามารถตามข้อกาหนด
> Testing Laboratory >> ISO/IEC 17025
>
Certification Body
>> IECEE CB Scheme
>> IECEE CB FCS
>> ISO/IEC Guide 65
>> IECEE CB Scheme
>> IECEE CB FCS
สาระสาคัญของ ASEAN EE MRA
• มี Joint Sectoral Committee for ASEAN EE MRA
หรือ JSC EE MRA กากับดูแลการดาเนินการ
• JSC EE MRA ประกอบด้วยผูแ้ ทนจาก
หน่ วยควบคุมกฎระเบียบ (Regulatory Authority)
ของประเทศสมาชิกทัง้ 10 ประเทศ
ASEAN EE MRA สถานภาพและข้อมูลจาเพาะของประเทศภาคี
ASEAN EE MRA สถานภาพและข้อมูลจาเพาะของประเทศภาคี
ประเทศ
เงื่อนไขการยอมรับ
บรูไน
กัมพูชา
อินโดนี เซีย
ลาว
มาเลเซีย
พม่า
ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์
ไทย
เวียดนาม
Test Report & Cert.
Test Report & Cert.
Test Report & Cert.
Test Report & Cert.
Test Report
Test Report & Cert.
Test Report
Test Report & Cert.
Test Report
Test Report & Cert.
CAB ที่ขึน้ บัญชี
Test.Lab. CB
2
1
1
2
1
5
2
1
จานวน
มาตรฐานบังคับ
19
31
47
41
33
28
ASEAN EE MRA
• ห้องปิิบตั ิ การทดสอบของประเทศไทยที่ได้รบั การแต่งตัง้
โดย สมอ. และขึน้ บัญชีรายชื่อโดย JSC EE MRA
• Electrical and Electronic Institute (EEI)
• Intertek Testing Services (Thailand)
• TUV SUD PSB Test (Thailand)
• TUV Rhienland Thailand
• Pro-Application Thailand
การยกระดับความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียน
การยกระดับความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียน
เขตการค้าเสรีอาเซียน
(ASEAN Free Trade Area : AFTA)
(พ.ศ. 2535)
• ส่งเสริมให้เกิดการค้าเสรีในภูมิภาคอาเซียน
• อานวยความสะดวกแก่การค้าในภูมิภาคอาเซียน
> การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ เงินทุน และบุคคล ผ่านพรมแดน เป็ นไปอย่างเสรี
> ลด/ยกเลิก อัตราภาษี ศลุ กากร
> ลดอุปสรรคอันเนื่ องมาจากกฎระเบียบทางเทคนิค
การยกระดับความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียน
เขตการค้าเสรีอาเซียน
(ASEAN Free Trade Area : AFTA)
(พ.ศ. 2535)
• ส่งเสริมให้เกิดการค้าเสรีในภูมิภาคอาเซียน
• อานวยความสะดวกแก่การค้าในภูมิภาคอาเซียน
> การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ เงินทุน และบุคคล ผ่านพรมแดน เป็ นไปอย่างเสรี
> ลด/ยกเลิก อัตราภาษี ศลุ กากร
> ลดอุปสรรคอันเนื่ องมาจากกฎระเบียบทางเทคนิค
การยกระดับความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
( ASEAN Economic Community : AEC )
(พ.ศ. 2546)
“อาเซียนจะรวมตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ
โดยจะมีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน
(single market and production base)”
เขตการค้ าเสรีอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AFTA
AEC
Free Trade Area
Single Market
Mutual Recognition
Harmonization
Single Market
การปรับระบบด้ านกฎระเบียบ
(Harmonization of Regulatory Regime)
มาตรฐาน
กระบวนการ
กระบวนการ
ตรวจสอบรับรอง ตรวจติดตาม
เครื่องหมาย
รับรอง ???
เขตการค้ าเสรีอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AFTA
AEC
Free Trade Area
Single Market
Mutual Recognition
Harmonization
ASEAN EE MRA
AHEEERR
AHEEERR
• ชื่อเต็ม Agreement on the ASEAN Harmonized Electrical and
Electronic Equipment Regulatory Regime
• ลงนามโดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจของอาเซียน ( ASEAN Economic Minister
: AEM ) เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2548
• ประเทศสมาชิกต้องพร้อมดาเนินการให้เป็ นไปตามข้อกาหนด
ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554
ผลิตภัณฑ์ควบคุม
(Regulated Product)
หลักการของ AHEEERR
Essential
Requirements
สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
ทดสอบโดย
Testing Lab.ที่ได้รบั การแต่งตัง้
รับรองโดย
Certification Bodyที่ได้รบั การแต่งตัง้
Registration
Market
Surveillance
แต่งตัง้ โดย JSC EEE
ขึน้ ทะเบียนในแต่ละประเทศที่วางตลาด
ติดตามผลท้องตลาด
สาระสาคัญของ AHEEERR
• วัตถุประสงค์
• ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกด้านการปกป้ อง
สุขภาพ ความปลอดภัยและทรัพย์สินของมนุษย์ รวมถึงการพิทกั ษ์
สิ่งแวดล้อม ในบริบทของมาตรฐานและการตรวจสอบรับรอง
(Standards and Conformance)
• ลดอุปสรรคทางการค้าอันเนื่ องมาจากกฎระเบียบระหว่าง
ประเทศสมาชิก
• อานวยความสะดวกในการเจรจาเพื่อจัดทาความตกลงยอมรับร่วม
ในผลการตรวจสอบรับรองระหว่างอาเซียนกับประเทศ
หรือกลุ่มประเทศอื่น
สาระสาคัญของ AHEEERR
• ขอบข่าย
• บริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าและอีเล็กทรอนิกส์ที่เป็ นผลิตภัณฑ์ควบคุม
(Regulated Product) / ผลิตภัณฑ์ที่อยู่ภายใต้ขอบข่าย
มาตรฐานบังคับ (Mandatory Standard) ของประเทศสมาชิก
• เชื่อมต่อโดยตรงกับแหล่งจ่ายไฟฟ้ าแรงดันตา่
( 50 – 1000 V กระแสสลับ / 75 – 1500 V กระแสตรง )
หรือใช้พลังงานแบตเตอรี่
• เป็ นของใหม่
สาระสาคัญของ AHEEERR
• ขอบข่าย
• บริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ าและอีเล็กทรอนิกส์ที่จะใช้ประโยชน์ จาก
AHEEERR จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในภูมิภาคอาเซียน
เท่านัน้
สาระสาคัญของ AHEEERR
• การกากับดูแลให้เป็ นไปตามความตกลง
• มีJoint Sectoral Committee for Electrical and Electronic Equipment
หรือ JSC EEE กากับดูแลการดาเนินการ
• JSC EEE กากับดูแลการแต่งตัง้ ขึน้ ทะเบียน พักใช้ ถอดถอน และ
ทวนสอบหน่ วยตรวจสอบรับรอง (Conformity Assessment Body)
ตามที่กาหนดใน ASEAN EE MRA ด้วย
สาระสาคัญของ AHEEERR
• การปิิบตั ิ ตามความตกลง
• กฎหมาย กฎระเบียบทางเทคนิค และบทบัญญัติด้าน
การบริหารที่เกี่ยวข้อง ต้องสอดคล้องกับความตกลง
• พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานทางเทคนิค
และระบบตรวจติดตามตลาดที่มีประสิทธิภาพ
ให้สอดคล้องกับความตกลง
• ส่งกฎหมาย กฎระเบียบทางเทคนิค และบทบัญญัติด้านการ
บริหารที่เกี่ยวข้อง ให้ JSC EEE ร่วมพิจารณาให้ข้อคิดเห็น
สาระสาคัญของ AHEEERR
• การปิิบตั ิ ตามความตกลง
• ประเทศสมาชิกต้องให้การยอมรับผลการตรวจสอบรับรอง
(รายงานผลการทดสอบ & การรับรอง) จากหน่ วยตรวจสอบ
รับรอง (ห้องปิิบตั ิ การทดสอบ & หน่ วยรับรอง)ที่ขึน้ บัญชี
โดย JSC EEE
สาระสาคัญของ AHEEERR
• ข้อกาหนดที่จาเป็ นสาหรับผลิตภัณฑ์ควบคุม
หรือผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในขอบข่ายมาตรฐานบังคับ
• เป็ นข้อกาหนดด้านความปลอดภัย ( Safety )
• เป็ นข้อกาหนดด้านสิ่งแวดล้อม ( Environment )
• เป็ นข้อกาหนดด้านการรบกวนทางแม่เหล็กไฟฟ้ า ( EMC )
สาระสาคัญของ AHEEERR
• ข้อกาหนดที่จาเป็ นสาหรับผลิตภัณฑ์ควบคุม
หรือผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในขอบข่ายมาตรฐานบังคับ
• สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
• เป็ นมาตรฐานที่ JSC EEE ให้ความเห็นชอบ
สาระสาคัญของ AHEEERR
• กระบวนการรับรองผลิตภัณฑ์ (Certification),
กระบวนการขึน้ ทะเบียนผลิตภัณฑ์ (Registration),
กระบวนการแต่งตัง้ และขึน้ บัญชีรายชื่อหน่ วยตรวจสอบรับรอง
(Designation & Listing of Conformity Assessment Bodies)
“ กลไกการทางานของ AHEEERR ”
Mechanism
of
AHEEERR
Listed
Testing Lab.
Listed
Certification Bodies
certify
Importers
or
apply
for
Manufacturers
Certification
CoC
Mechanism
of
AHEEERR
Listed
Testing Lab.
Listed
Certification Bodies
certify
Importers
or
apply
for
Manufacturers
apply
for
Certification
CoC
Registration
Market
register
Regulatory
Authority
market surveillance
Testing Lab.
Mechanism
of
AHEEERR
Certification Bodies
apply
for
Designating
Body
designate
Designation
CoD
Listed
Testing Lab.
Listed
Certification Bodies
listing
JSC EEE
certify
Importers
or
apply
for
Manufacturers
apply
for
Certification
CoC
Registration
Market
register
Regulatory
Authority
market surveillance
สาระสาคัญของ AHEEERR
• กระบวนการรับรองผลิตภัณฑ์ (Certification)
ระบบการรับรอง (Certification Systems)
• ผลิตภัณฑ์ความเสี่ยงตา่ System 1 [ISO/IEC Guide 67:2004]
“ Type Testing ”
• ผลิตภัณฑ์ความเสี่ยงสูง System 5 [ISO/IEC Guide 67:2004]
“ Type Testing + Quality System Assessment + Surveillance ”
สาระสาคัญของ AHEEERR
• กระบวนการขึน้ ทะเบียนผลิตภัณฑ์ (Registration)
หน่ วยควบคุมกฎระเบียบ (Regulatory Authority)
ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ
ภายใน 5 วันทาการ
หรือภายใน 7 วันปิิทิน
แล้วแต่ระยะเวลาใดจะน้ อยกว่า
สาระสาคัญของ AHEEERR
• กระบวนการแต่งตัง้ และขึน้ บัญชีรายชื่อหน่ วยตรวจสอบรับรอง
(Designation & Listing of Conformity Assessment Bodies)
> Testing Laboratory >> ISO/IEC 17025
>> IECEE CB Scheme
>> IECEE CB FCS
> Certification Body >> ISO/IEC Guide 65
>> IECEE CB Scheme
>> IECEE CB FCS
ขึน้ บัญชีรายชื่อโดย JSC EEE
ความแตกต่าง
ระหว่าง ASEAN EE MRA กับ AHEEERR
ASEAN EE MRA
AHEEERR
“ Mutual Recognition ”
“ Harmonization ”
ความแตกต่าง
ระหว่าง ASEAN EE MRA กับ AHEEERR
ASEAN EE MRA
AHEEERR
“ Mutual Recognition ”
“ Harmonization ”
ความแตกต่าง
ระหว่าง ASEAN EE MRA กับ AHEEERR
ASEAN EE MRA
AHEEERR
• ไม่ต้องแก้ไขมาตรฐาน(มอก.บังคับ)
• ต้องแก้ไขให้สอดคล้องกับข้อกาหนด
ใน Agreement
• ไม่ต้องเปลี่ยนแปลงกระบวนการ และ
หน่วยงานตรวจรับรอง
• ต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการ/หน่วยงาน
ให้สอดคล้องกับข้อกาหนดใน Agreement
• ไม่ต้องแก้ไขกฎระเบียบ / หลักเกณฑ์
• อาจต้องแก้ไข เพือ่ ให้สอดคล้องกับ
ข้อกาหนดใน Agreement
ขอบคุณครับ