กลุ่มที่ 7 สมาชิกประกอบด้วย • น.ส.ทิภากรณ์ ศักพันธุ์ • น.ส.สุภาพร แซ่คู • น.ส. ภูษณิศา แพงไพรรี • นายมากูล คชา • น.ส.สกล หิรญ ั ญาพรพงษ์ • นายสมชัย วงษ์สวุ รรณ • นายอาทิตย์ เมฆฉาย • นายพรเทพ ผ่องศรี • นายศราวุฒิ สุวรรณทัพ.

Download Report

Transcript กลุ่มที่ 7 สมาชิกประกอบด้วย • น.ส.ทิภากรณ์ ศักพันธุ์ • น.ส.สุภาพร แซ่คู • น.ส. ภูษณิศา แพงไพรรี • นายมากูล คชา • น.ส.สกล หิรญ ั ญาพรพงษ์ • นายสมชัย วงษ์สวุ รรณ • นายอาทิตย์ เมฆฉาย • นายพรเทพ ผ่องศรี • นายศราวุฒิ สุวรรณทัพ.

กลุ่มที่ 7
สมาชิกประกอบด้วย
• น.ส.ทิภากรณ์ ศักพันธุ์
• น.ส.สุภาพร
แซ่คู
• น.ส. ภูษณิศา แพงไพรรี
• นายมากูล
คชา
• น.ส.สกล
หิรญ
ั ญาพรพงษ์
• นายสมชัย
วงษ์สวุ รรณ
• นายอาทิตย์
เมฆฉาย
• นายพรเทพ
ผ่องศรี
• นายศราวุฒิ
สุวรรณทัพ
Incident : 4 ปั ญหาด้ านความปลอดภัย
ข้ อมูลเบือ้ งต้ น
• บ. Belcher Manufacturing มีพนักงาน 300 คน
• ผลิตภัณฑ์ หลักคือ คอมเพรสเซอร์ ของเครื่ องปรั บอากาศ
และต้ องมีการทดสอบก่ อนที่จะออกจากสายการผลิต
• William Carlson อายุ 28 ปี ประสบการณ์ 5 ปี
• หน้ าที่หลักคือการทดสอบคอมเพรสเซอร์ โดยวิธีการที่เป็ น
มาตรฐาน
• ผู้ตรวจสอบต้ องได้ รับการอบรมทัง้ การบรรยายและสาธิต
เรื่องขัน้ ตอนที่เหมาะสม และต้ องปฏิบัตติ ามและถือว่ าเป็ น
นโยบายของบริษัท
Incident : 4 ปั ญหาด้ านความปลอดภัย
ข้ อมูลเบือ้ งต้ น
• 2 ปี ก่ อน ขณะ William Carlson กาลังทดสอบ
คอมเพรสเซอร์ ตวั หนึ่งอยู่ ทาให้ เกิดระเบิดขึน้ มา
เป็ นผล ทาให้ Carlson เสียชีวติ ทันที
• บริ ษัทได้ แสดงความเสียใจและแจ้ งให้ ครอบครั ว
Carlson ทราบว่ าได้ มีการอบรมอย่ างถูกต้ อง
• การระเบิดอาจจะเกิดจากการไม่ ปฏิบัตต
ิ ามขัน้ ตอนที่
ถูกต้ อง
Incident : 4 ปั ญหาด้ านความปลอดภัย
ข้ อมูลเบือ้ งต้ น
• ครอบครั วของ Carlson ได้ จ้างทนายความเพื่อ
ดาเนินการฟ้องร้ องบริษัท
• ศาลได้ แสดงให้ เห็นว่ าผู้ตรวจสอบส่ วนใหญ่ รวมทัง้
Carlson ได้ ปรับเปลี่ยนวิธีการโดยได้ คิด “วิธีลัด”
• หลังจากเกิดอุบัตเิ หตุพนักงานยังคงมีการใช้ วธ
ิ ีการ
ลัดอยู่
คาถาม
1. บริษัทมีความผิดหรื อไม่ ต่อกรณีท่ ีเกิด
การฝ่ าฝื นระบบความปลอดภัย ซึ่งเป็ นเหตุ
ให้ นายคาร์ ลสัน เสียชีวิต
2. หากไม่คานึ งถึงการตัดสินของคณะ
ลูกขุน บริษทั ควรจะทาอย่างไร ? เพื่อจะ
หลีกเลี่ยงอุบตั ิ เหตุที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต ?
1. บริษัทมีความผิดเนื่องจาก
1.1 จากพระราชบัญญัตคิ ้ ุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541
(กรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน) ครอบคลุมถึง
เรื่องความปลอดภัยในการทางาน บริษัทจึงมีความผิด
ในกรณีท่ พ
ี นักงานเสียชีวติ จากการปฏิบัตงิ าน ซึ่งเกิด
จากการไม่ ปฏิบัตติ ามขัน้ ตอนการทางานที่บริ ษัท
อบรมให้ อีกทัง้ ยังเกิดจากการละเลยของบริษัทใน
การหมั่นดูแล ตรวจสอบ ทาให้ พนักงานละเมิดกฎได้
1. บริษัทมีความผิดเนื่องจาก
1.2 ไม่ มีกระบวนการในการตรวจสอบการ
•
•
ปฏิบัตงิ านของพนักงาน จึงทาให้ ไม่ ทราบว่ า
มีสภาพการที่ไม่ ปลอดภัย (Unsafe
Condition) (เคมี,กายภาพ,กลไก)
มีการกระทาของบุคคลที่ไม่ ปลอดภัย
(Unsafe Personal Acts)
1. บริษัทมีความผิดเนื่องจาก
1.3 ไม่ มีการควบคุมสภาพที่ก่อให้ เกิด
อันตรายที่มีสาเหตุมาจาก
- สภาพการที่ไม่ ปลอดภัย
- การกระทาที่ไม่ ปลอดภัยของบุคคล
1. บริษัทมีความผิดเนื่องจาก
1.4 ไม่ มีการตรวจสอบและควบคุมพนักงานใน
ขณะที่ปฏิบัตงิ านทาให้ ไม่ เห็นถึงวิธีการที่
เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐาน
1. บริษัทมีความผิดเนื่องจาก
1.4 ไม่ มีการวิเคราะห์ งาน (Job Analysis)จึง
ไม่ ทราบว่ างานที่ทา
- มีความเสี่ยง
- โอกาส
1.5 บริษัทอาจจะพอใจที่พนักงานคิดค้ น
ขัน้ ตอนที่ใช้ เวลาน้ อยลง ทาให้ ผลการ
ตรวจสอบต่ อวันเพิ่มขึน้
1. บริษัทมีความผิดเนื่องจาก
1.6 บริษัทไม่ มีนโยบายในการลงโทษและยก
ย่ องชมเชย
- พนักงานที่ฝ่าฝื น
- พนักงานที่ปฏิบัตติ าม
2. ขัน้ ตอนในการหลีกเลี่ยงอุบัตเิ หตุท่ ีจะเกิดขึน้
ในอนาคต
2.1 บริษัทจะต้ องมีการตรวจสอบและรายงานผล
ความปลอดภัยในการทางานเพื่อ
- ควบคุมสภาพการที่ไม่ ปลอดภัย
- การกระทาที่ไม่ ปลอดภัยของบุคคล
- พนักงาน, หัวหน้ างาน มีส่วนร่ วม
2. ขัน้ ตอนในการหลีกเลี่ยงอุบัตเิ หตุท่ ีจะเกิดขึน้
ในอนาคต
2.2 ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทจะต้ องให้ ความสาคัญเรื่อง
ความปลอดภัยในการทางานของพนักงาน
- นโยบาย (ลงโทษ, ยกย่ องชมเชย,บันทึกประวัต)ิ
- เป็ นส่ วนหนึ่งในการประเมินผลงาน
2. ขัน้ ตอนในการหลีกเลี่ยงอุบัตเิ หตุท่ ีจะเกิดขึน้
ในอนาคต
2.3 บริษัทต้ องมีการจูงใจให้ มีการทางานอย่ างปลอดภัย
- หัวหน้ างาน
เพิ่มพูนความรู้ , ค่ าตอบแทน
- พนักงาน
ให้ การอบรม, ส่ งเสริมให้ ทางานปลอดภัย,
สร้ างทัศนคติของกลุ่ม
2. ขัน้ ตอนในการหลีกเลี่ยงอุบัตเิ หตุท่ ีจะเกิดขึน้
ในอนาคต
2.4 ทาการวิเคราะห์ งาน (Job Analysis)ทาให้
ทราบถึงงานที่ทา
- มีความเสี่ยง
- โอกาส
- หาวิธีการในการลด, ควบคุม
2. ขัน้ ตอนในการหลีกเลี่ยงอุบัตเิ หตุท่ ีจะเกิดขึน้
ในอนาคต
2.5 มีกระบวนการสุ่มตรวจสอบการทางานของ
พนักงานทุกคนอย่ างสม่าเสมอ
- มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการ
- ขัน้ ตอนปฏิบัติ
- ทาการอบรมทบทวน
ขอบคุณครับ