เอกสาร ประกอบ

Download Report

Transcript เอกสาร ประกอบ

การพัฒนาบทเรียน e-Learning
วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เบือ้ งต้ น
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปี ที่ 1
Development of e-Learning on Basic Electrical and
Electronics Subject for First Year Students of
Vocational Certificate Level
ผู้วจิ ัย นายณัฐธัญ สุ วรรณทา
ดร.นิธิดา บุรณจันทร์
รศ.สุ วรรณา สมบุญสุ โข
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี
บทนำ:
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ มีกำรจัดกำรศึกษำ 2 ระดับ ดังนี้
1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชี พ(ปวช.)
2. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชี พชั้นสูง(ปวส.)
ตำมหลักสู ตรประกำศนียบัตรวิชำชีพ(ปวช.) พุทธศักรำช 2545 และได้กล่ำวถึง
หลักสู ตรประกำศนียบัตรวิชำชีพไว้วำ่ เป็ นกำรศึกษำที่วำ่ ด้วยควำมรู ้ดำ้ นต่ำงๆ ทำง
วิชำชีพช่ำงอุตสำหกรรมและเทคโนโลยี กำรดำรงชีวิตของสังคมมนุษย์ ทำงด้ำน
สุ ขภำพอนำมัย ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อม และกำรแก้ปัญหหำ
จำกกำรวิเครำะห์สภำพปัญหหำที่เกิดขึ้นในชั้นเรี ยน พบว่ำ กำรที่นกั เรี ยนระดับ
ประกำศนียบัตรวิชำชีพ(ปวช.) ปี ที่ 1 สำขำวิชำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
มีผลกำรเรี ยนต่ำกว่ำระดับ 3 ซึ่งไม่เป็ นไปตำมควำมคำดหวังของผูว้ ิจยั
โดยมีสำเหตุมำจำกปัจจัยหลำยประกำร เช่น เนื้อหำวิชำที่กำหนดไว้ในหลักสู ตร
มีมำกเกินไป นักเรี ยนไม่สำมำรถเรี ยนรู ้ได้ครบในเวลำเพียง 4 คำบต่อสัปดำห์
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
ผูว้ ิจยั ในฐำนะเป็ นครู ผสู ้ อนรำยวิชำงำนไฟฟ้ ำและอิเล็กทรอนิกส์ จึงศึกษำ
แนวคิด ทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้ หลักสูตร ตำรำ คู่มือ ผลงำนวิจยั มำใช้ในกำร
แก้ปัญหหำ และพบว่ำ กำรพัฒนำบทเรี ยน e-Learning และกำรสร้ำงสื่ อกำรสอน
ที่เหมำะสมกับวัย วุฒิภำวะ และควำมสำมำรถของนักเรี ยน เป็ นแนวทำงหนึ่ง
จำกหลำยๆ แนวทำงในกำรแก้ปัญหหำ
จำกเหตุผลและแนวคิดดังกล่ำวข้ำงต้น ผูว้ ิจยั จึงพัฒนำสื่ อกำรเรี ยนกำรสอน
ในรู ปแบบของบทเรี ยน e-Learning เพื่อพัฒนำและแก้ปัญหหำผลสัมฤทธิ์ทำงกำร
เรี ยนของนักเรี ยน รวมทั้งสร้ำงทำงเลือกให้นกั เรี ยนสำมำรถที่จะเรี ยนรู ้ดว้ ย
ตนเองมำกขึ้น โดยกำหนดกำรพัฒนำออกเป็ น 2 ทำงเลือก คือ กำรเรี ยนรู ้ใน
ชั้นเรี ยนโดยใช้เอกสำรประกอบกำรสอนในรู ปแบบต่ำง ๆ ที่ผวู ้ ิจยั สร้ำงขึ้นและ
พัฒนำบทเรี ยน e-Learning เพื่อใช้เป็ นสื่ อสอนเสริ มนักเรี ยนที่เรี ยนรู ้ได้เร็ วและ
พัฒนำนักเรี ยนที่เรี ยนรู ้ได้ชำ้ โดยวิธีกำรเรี ยนรู ้ผำ่ นบทเรี ยน e-Learning
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
วัตถปุ ระสงค์ :
วัตถุประสงค์ของกำรวิจยั มีดงั นี้ คือ พัฒนำบทเรี ยน e-Learning
1. เพื่อวิเครำะห์และออกแบบบทเรี ยน e-Learning
วิชำงำนไฟฟ้ ำและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพ(ปวช.) ปี ที่ 1
2. เพื่อหำประสิ ทธิภำพของบทเรี ยน
3. เพื่อหำประสิ ทธิผลทำงกำรเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนที่เรี ยนจำก
บทเรี ยน e-Learning
4. เพื่อหำควำมพึงพอใจของผูเ้ รี ยนที่มีต่อบทเรี ยน
5. เพื่อหำควำมคงทนในกำรเรี ยนรู้ของนักเรี ยนที่เรี ยนจำก
บทเรี ยน e-Learning
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
ประโยชน์ ที่คำดว่ ำจะได้ รับ:
1. ได้บทเรี ยน e-Learning วิชำงำนไฟฟ้ ำและอิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้น ระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพ(ปวช.) ปี ที่ 1
ที่มีเนื้อหำครอบคลุมตรงตำมวัตถุประสงค์ของรำยวิชำ
2. เพื่อเป็ นแนวทำงในกำรพัฒนำบทเรี ยน e-Learning ในรำยวิชำอื่น ๆ
ที่เหมำะสมซึ่ งจะเป็ นผลให้เกิดกำรส่ งเสริ มกำรวิจยั และพัฒนำ
บทเรี ยนในระบบกำรศึกษำมำกยิง่ ขึ้น
3. ผูเ้ รี ยนสำมำรถนำบทเรี ยน ที่ผวู ้ ิจยั สร้ำงขึ้นไปใช้ในกำรศึกษำ
ด้วยตนเองอย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ
4. เพื่อนำบทเรี ยน ที่พฒั นำนี้ไปใช้ในกำรเรี ยนกำรสอนนักศึกษำ
สำขำวิชำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยำลัยเทคนิคมหำสำรคำม
หรื อผูท้ ี่สนใจได้ทุกสถำนที่ทุกเวลำ
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
วิธีดำเนินกำร:
1. ประชำกรและกล่ มุ ตัวอย่ ำง นักเรี ยนระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพ(ปวช.)
ปี ที่ 1 วิทยำลัยเทคนิคมหำสำรคำม
2. เครื่ องมือที่ใช้ ในกำรวิจัย
2.1 บทเรี ยน e-Learning วิชำงำนไฟฟ้ ำและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
2.2 แบบประเมินบทเรี ยน e-Learning รำยกำรประเมินมีจำนวน 6 ด้ำน
50 รำยกำรประเมิน เป็ นแบบมำตรประมำณค่ำ (Rating Scale) 5 ระดับ
2.3 แบบประเมินผลกำรเรี ยนรู ้ทำ้ ยหน่วยเรี ยน เป็ นแบบเลือกตอบ
4 ตัวเลือก จำนวน 15 แบบประเมิน รวม 225 ข้อ
2.4 แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน เป็ นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
จำนวน 80 ข้อ ที่ครอบคลุมเนื้อหำหลักสูตร
2.5 แบบประเมินควำมพึงพอใจของนักเรี ยนต่อบทเรี ยน e-Learning
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
ขั้นตอนกำรดำเนินงำน:
พัฒนำตำมรู ปแบบของอำจำรย์ไพโรจน์ ตีรณธนำกุล
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำธนบุรี
IMMCAI: Interactive Multi-Media Computer Assisted Instruction
มี 5 ขั้นตอนหลัก คือ
1.ขั้นวิเครำะห์ (Analysis)
2.ขั้นออกแบบ (Design)
3.ขั้นพัฒนำ (Development)
4.ขั้นสร้ำง (Implementation)
5.ขั้นประเมิน (Evaluation)
ประกอบด้วย 16 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(1) สร้ำงแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart)
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(2) สร้ำงแผนภูมิหวั เรื่ องสัมพันธ์ (Concept Chart)
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(3) สร้ำงแผนภูมิโครงข่ำยเนื้อหำ (Content Network Chart)
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(4) กำหนดกลวิธีกำรนำเสนอและวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(5) สร้ำงแผนภูมิกำรนำเสนอในแต่ละหน่วย
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(6) เขียนรำยละเอียดเนื้อหำตำมรู ปแบบที่ได้กำหนด (Script Development)
(7) จัดทำลำดับเนื้อหำ (StoryBoard Development)
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(6) เขียนรำยละเอียดเนื้อหำตำมรู ปแบบที่ได้กำหนด (Script Development)
(7) จัดทำลำดับเนื้อหำ (StoryBoard Development)
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(8) นำเนื้อหำที่ยงั เป็ นสิ่ งพิมพ์น้ ีมำตรวจสอบหำค่ำควำมถูกต้อง (Content Correctness)
โดยผูเ้ ชี่ยวชำญหด้ำนเนื้อหำในวิชำงำนไฟฟ้ ำและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น สังกัดแผนก
วิชำช่ำงอิเล็กทรอนิ กส์ วิทยำลัยเทคนิคมหำสำรคำม จำนวน 3 คน เป็ นผูต้ รวจสอบ
จำกนั้นนำเนื้อหำไปทดลองหำค่ำควำมเที่ยงตรงของเนื้อหำ (Content Validity) และ
ควำมเชื่อมัน่ (Reader Reliability) โดยใช้กลุ่มตัวอย่ำงเป้ ำหมำยมำทดสอบด้วย แล้ว
ปรับปรุ งให้สมบูรณ์
(9) กำรสร้ำงแบบทดสอบส่ วนต่ำง ๆ มีกำรวิเครำะห์ขอ้ สอบให้ตรงตำมวัตถุประสงค์
เชิงพฤติกรรม 15 หน่วยเรี ยน จำนวน 225 ข้อ แล้วนำแบบทดสอบไปทดลองหำค่ำ
- หำค่ำควำมยำกง่ำย
- หำค่ำอำนำจจำแนก
- หำควำมเที่ยงตรงของแบบทดสอบ (IOC)
- หำควำมเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบ (ทั้งฉบับ)
นำแบบทดสอบมำทำกำรปรับปรุ งให้มีควำมสมบูรณ์ดำ้ นเนื้อหำ โดยให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม แบบทดสอบต่ำง ๆ รวมกัน จะเป็ นตัว
บทเรี ยน (Courseware)
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(10) เลือก Software หรื อโปรแกรมสำเร็ จรู ปที่เหมำะสม แบ่งเป็ น 2 ประเภท
10.1 โปรแกรมที่ใช้ในกำรนำเสนอบทเรี ยน (Courseware)
10.2 โปรแกรมที่ใช้สำหรับผลิตงำนมัลติมีเดีย เช่น สร้ำงปุ่ มควบคุม ภำพนิ่ง และ
ภำพเคลื่อนไหว เป็ นต้น
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(11) จัดเตรี ยมรู ปภำพ ภำพนิ่ง เสี ยง หรื อวิดีโอ ไว้พร้อมที่จะใช้งำน โดยกำรจัดเก็บ
ไว้ใน Folder เดียวกัน เพื่อสะดวกในกำรค้นหำและนำมำใช้งำน ซึ่ งภำพและเนื้อหำ
ที่จดั เตรี ยมนำมำจำกหนังสื อเรี ยนรำยวิชำงำนไฟฟ้ ำและอิเล็กทรอนิ กส์เบื้องต้น
รู ปภำพที่ใช้งำนบำงส่ วนนำมำจำกกำรค้นคว้ำทำงอินเตอร์ เน็ต
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(12) จัดกำรนำ Courseware เข้ำในโปรแกรม (Coding) ด้วยควำมประณี ตและทักษะที่ดี
ทำกำร Edit ภำพ เสี ยง วิดีโอ ให้เรี ยบร้อยสมบูรณ์ ซึ่ งจะได้เป็ นบทเรี ยน 15 หน่วย
กำรเรี ยน ในรำยวิชำงำนไฟฟ้ ำและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น รหัสวิชำ 2100-1003
ระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพ(ปวช.) ปี ที่ 1 ตำมที่ตอ้ งกำร ที่สำมำรถแก้ไข หรื อ
เพิ่มเติมข้อมูลภำยหลังได้ โดยในขั้นนี้ผวู ้ จิ ยั ทำกำรเขียนโปรแกรมด้วยตนเอง
(13) กำรตรวจสอบคุณภำพของ Package (Quality Evaluation)
นำบทเรี ยน e-Learning ที่จดั ทำขึ้นให้คณะผูเ้ ชี่ยวชำญหทำง IMMCAI ตรวจสอบ
คุณภำพของบทเรี ยน แล้วนำผลมำปรับปรุ งให้สมบูรณ์ โดยกำรออกแบบบทเรี ยน
ชุดนี้ ได้ประยุกต์ใช้รูปแบบกำรประเมินตำมแนวคิดของ กำเย่ จำนวน 6 ด้ำน คือ
- ด้ำนเนื้อหำ
- ด้ำนภำพ ภำษำ และเสี ยง
- ด้ำนตัวอักษรและสี
- ด้ำนแบบทดสอบ
- ด้ำนกำรจัดบทเรี ยน
- ด้ำนคู่มือกำรใช้บทเรี ยน
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
ผลกำรตรวจสอบคณ
ุ ภำพของบทเรี ยน: (ใช้ สถิติในการวิจัยของ ชูศรี วงศ์ รัตนะ)
- ดัชนีควำมสอดคล้องของแบบประเมินควำมคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชำญหด้ำนบทเรี ยน
e-Learning จำนวน 3 ท่ำน (IOC)
เฉลี่ยเท่ำกับ 0.84 สำมำรถนำไปใช้ได้
- ผลกำรประเมินคุณภำพควำมเหมำะสมของบทเรี ยน e-Learning ตำมแนวคิดของ
กำเย่ โดยผูเ้ ชี่ยวชำญหด้ำนบทเรี ยน e-Learning จำนวน 3 ท่ำน
เฉลี่ยเท่ำกับ 4.31
S.D. = 0.44 อยูใ่ นระดับ ดีมาก
(14) ทำกำรทดลองและหำประสิ ทธิ ภำพของบทเรี ยน โดยนำไปทดลองกับนักเรี ยน
กลุ่มเป้ ำหมำย จำนวน 30 คน และจดบันทึกปั ญหหำที่เกิดขึ้น เพื่อนำมำพัฒนำและ
ปรับปรุ งให้สมบูรณ์
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(15) ทดสอบเพื่อหำประสิ ทธิภำพ (Efficiency E1/E2) ของบทเรี ยน โดยตั้งเกณฑ์ 80/80
- หำประสิ ทธิภำพของบทเรี ยน จำกกำรทดสอบในบทเรี ยนชุดนี้ได้ผลดังนี้
E1/E2 = 82.87/82.75
ซึ่ งอยูใ่ นเกณฑ์ที่ยอมรับได้
- หำประสิ ทธิผลกำรเรี ยนรู้จำกบทเรี ยน Epost - Epre ≥ 60%
จำกกำรทดลองได้ร้อยละ 64.92
- หำควำมพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อบทเรี ยน e-Learning
นักเรี ยนกลุ่มเป้ ำหมำย เป็ นนักเรี ยนระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพปี ที่ 1
แผนกวิชำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยำลัยเทคนิคมหำสำรคำม
จำนวน 30 คน
สรุ ปผลการทดลอง
ค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ
4.09
ค่ำเบี่ยงเบนมำตรฐำน เท่ำกับ
ควำมพึงพอใจในระดับ มาก
0.65
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
- หำควำมคงทนในกำรเรี ยนรู้ของนักเรี ยนด้วยบทเรี ยน e-Learning
ทฤษฎีเรื่ อง ความคงทนในการเรี ยนรู้ของ บุญชม ศรี สะอาด กล่าวคือ การเรี ยนรู้ที่ดียอ่ ม
ต้องก่อให้ผเู้ รี ยนเกิดความจาที่มากขึ้น และส่ วนหนึ่งที่ส่งผลให้ผเู้ รี ยนเกิดความคงทนในการเรี ยนรู้
คือ การที่ผเู้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู้ โดยการลงมือกระทา ปฏิบตั ิ และการแก้ปัญหา หรื อศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเองโดยยึดตามความสนใจ ทาให้ผเู้ รี ยนมีความสุ ขในการเรี ยน ซึ่งส่ งผลต่อความ
สามารถในการสะสม สามารถระลึกถึงเนื้อหา หรื อสิ่ งต่างๆ ที่ตนได้รับการเรี ยนรู้หรื อได้รับ
ประสบการณ์มาก่อน ในระยะเวลาที่ทิ้งช่วงห่างกันออกไประยะเวลาหนึ่ง
นักเรียน
คนที่
1-30
เฉลีย่
คะแนน
หลังเรียน
ครั้งแรก
1986
66.20
คะแนน
หลังเรียน
ครั้งที่สอง
2040
68.00
ผลต่ าง
ของคะแนน
(D)
ผลต่ าง
ของคะแนน
(D2)
∑D = 54
1.80
∑D2 = 242
8.07
S.D.= 1.74
t = 4.412
(คะแนนหลังเรี ยนครั้ งที่สอง หลังจากเรี ยนด้ วยบทเรี ยนผ่ านไป 1 เดือน)
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
(16) จัดทำคู่มือกำรใช้ Package (User Manual) ประกอบด้วย บทนำ อุปกรณ์ที่ใช้เรี ยน
กำรกำหนดหน้ำจอคอมพิวเตอร์ ก่อนเข้ำเรี ยน ข้อมูล พัฒนำผูเ้ รี ยน และวันที่
เผยแพร่ บทเรี ยน เป็ นต้น
เมื่อพัฒนำตำมกระบวนกำรครบทั้ง 16 ขั้นตอนแล้ว สำมำรถนำออกเผยแพร่
(Publication) ใช้งำนต่อไปได้ และควรจะมีระบบติดตำมผล (Follow up)
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
สรุป อภิปรำยผล:
กำรวิจยั ครั้งนี้เป็ นกำรพัฒนำบทเรี ยน e-Learning วิชำงำนไฟฟ้ ำและอิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้น ระดับประกำศนียบัตรวิชำชีพ(ปวช.) ปี ที่1 ผลกำรวิจยั พบว่ำ บทเรี ยนมี
ประสิ ทธิภำพ E1/E2 = 82.87/82.75 ซึ่ งสู งกว่ำเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 เมื่อพิจำรณำ
ประสิ ทธิภำพของบทเรี ยนในกระบวนกำรเรี ยน(E1) เท่ำกับ 82.87 เมื่อเปรี ยบเทียบกับหลัง
กระบวนกำรเรี ยน(E2) เท่ำกับ 82.75
ผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้บทเรี ยน e-Learning พบว่ำ
ผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรี ยนของนักเรี ยนหลังเรี ยนมีค่ำสู งกว่ำก่อนเรี ยน เฉลี่ย 51.93 คะแนน
คิดเป็ นร้อยละ 64.92 สู งกว่ำเกณฑ์ที่กำหนด(เกณฑ์ที่กำหนด 60)
พิจำรณำถึงระดับควำมพึงพอใจของนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้บทเรี ยน e-Learning
ซึ่ งอยูใ่ นระดับ ดีมาก
จำกกำรศึกษำควำมคงทนในกำรเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนในกำรเรี ยนด้วยบทเรี ยน e-Learning
พบว่ำ ผูเ้ รี ยนมีควำมคงทนในกำรเรี ยนรู ้ไม่แตกต่ำงจำกกำรเรี ยนครั้งแรก โดยคะแนน
ทดสอบหลังเรี ยนทั้งสองครั้งใกล้เคียงกัน เมื่อทิ้งระยะเวลำผ่ำนไปแล้ว 1 เดือน
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
ตัวอย่ ำง บทเรี ยน e-Learning ทีพ่ ฒ
ั นำ:
Title ก่ อนเข้ าหน้ าเมนูหลัก
หน้ าเมนูหลัก
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
ตัวอย่ ำง บทเรี ยน e-Learning ทีพ่ ฒ
ั นำ:
หน้ าเมนูบทเรี ยน ประกอบด้ วย
ปุ่ มเลือก 15 หน่ วยเรี ยน
ทดสอบก่ อนเรี ยน
ทดสอบหลังเรี ยน
ตัวอย่ างบทเรี ยนหน่ วยที่ 1
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
ตัวอย่ ำง บทเรี ยน e-Learning ทีพ่ ฒ
ั นำ:
แสดงเนือ้ หาประกอบด้ วย VDO
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
ตัวอย่ ำง บทเรี ยน e-Learning ทีพ่ ฒ
ั นำ:
แบบทดสอบก่ อน-หลังเรี ยน
รายงานผลการทดสอบ
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา
ตัวอย่ ำง บทเรี ยน e-Learning ทีพ่ ฒ
ั นำ:
โฟล์ เดอร์ บันทึกรายงานผล
การทดสอบก่ อน-หลังเรี ยน
รายงานผลการทดสอบ
โดย...ณัฐธัญ สุ วรรณทา