สื่อสิ่งพิมพ์

Download Report

Transcript สื่อสิ่งพิมพ์

"สื่อสิ่งพิมพ์ " คือ สื่อทีใ่ ช้ การพิมพ์เป็ นหลักเพือ่ ติดต่ อสื่อสาร ทา
ความเข้ าใจกันด้ วยภาษาเขียนโดยใช้ วัสดุกระดาษหรื อวัสดุอื่นใด
ที่พมิ พ์ได้ หลายสาเนา เช่ น ผ้ า แผ่ นพลาสติก
สื่ อสิ่ งพิมพ์ เปรี ยบเสมือนสื่ อกลางหรื อกระจกสะท้ อนให้ เห็ นลักษณะต่ างๆ
ของสังคมบ้ านเมือง หรื อของประเทศนั้นๆ ไม่ ว่าจะเป็ นการเมือง เศรษฐกิจ
สั งคมประเพณีและวัฒนธรรม โดยทาหน้ าที่และบทบาท ในการถ่ ายทอด
ข่ าวสาร ข้ อมูล การนาเสนอ แสดงความคิดเห็นต่ างๆ ดังนั้นบทบาทของสื่ อ
สิ่ งพิมพ์ ก็คือ การกระทา หรื อการสื่ อสารของสื่ อสิ่ งพิมพ์ ที่ได้ ส่งผลกาลัง
ส่ งผล หรื อจะส่ งผลต่ อชีวิตและสังคม
1. ADOBE INDESIGN
2. MICROSOFT WORD
4. MICROSOFT PUBLISHER
3. ADOBE PAGEMAKER
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หรื อที่รู้ จักในชื่ อของ CAI (COMPUTER ASSISTED
INSTRUCTION) เป็ น นวัตกรรมทีอ่ ยู่ในรูปของระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง และอยู่ในลักษณะสื่ อ
การเรียนการสอนด้ วยเช่ นกัน คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนจัดเป็ นนวัตกรรมที่เกิดขึน้ มานาน มากกว่ า 20 ปี ที่
ครั้งหนึ่งถือได้ ว่าเป็ นนวัตกรรมทีเ่ ฟื่ องฟูมากๆ ในวงการศึกษาโดยเฉพาะครู รวมถึงวงการธุรกิจเพือ่ การ
พัฒนาบุคลากรภายในองค์ กร ในยุคนั้นถือได้ ว่า CAI เป็ นสื่ อที่อยู่ในรู ปของ CD-ROM BASED
SYSTEM การสร้ างชุ ดคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนในระยะแรก เป็ นการพัฒนาจากโปรแกรมทางภาษา
และจากโปรแกรมส าเร็ จ รู ป ต่ า งๆ (โปรแกรม AUTHORWARE,
DIRECTOR,
TOOLBOOK หรือแม้ กระทัง่ โปรแกรม FLASH) แม้ ว่า CAI เต็มระบบจริงๆ จะดูเหมือนตายไป
จากวงการศึกษา แต่ CAI ที่อยู่ในลักษณะสื่ อเรียนรู้ เฉพาะเนือ้ หาสั้ นๆขนาดเล็ก หรือที่เรียกว่ า หน่ วย
ความรู้ เฉพาะเรื่ อง(LEARNING OBJECT) ยังคงมีผู้สร้ างนามาใช้ ในการจัดการเรี ยนรู้ ซึ่ ง
สามารถศึกษาเรียนรู้เรื่อง LEARNING OBJECT
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) เป็ นรูปแบบการเรียนการสอนแบบรายบุคคล ทีน่ าเอาหลักการของ
บทเรียนโปรแกรมและ เครื่องช่ วยสอนมาผสมผสานกัน รูปแบบของสื่ อ ถูกออกแบบให้ ทางานภายใต้
ทรัพยากร ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยตรง ข้ อมูลการเรียนรู้ จะอยู่ในรู ปของไฟล์ ข้อมูลทีน่ ามาลง หรือ
ติดตั้ง ลงบนเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ อาจจะเล่ นบนแผ่ น CD-ROM/DVD โดยมีจุดมุ่งหมายทีจ่ ะ
ตอบสนอง ในเรื่องความแตกต่ างระหว่ างบุคคล ของผู้เรียนเป็ นหลัก เพือ่ ให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ ทาง
การศึกษาเป็ นรายบุคคล
โดยมีคุณลักษณะองค์ ประกอบทีส่ าคัญ แบ่ งเป็ น
+ การนาเข้ าสู่ บทเรียน
+ การนาเสนอสาระเนือ้ หา
+ การมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างโปรแกรมกับผู้เรียนรู้
+ การทดสอบประเมินผล
การสร้ างสื่อการเรียนการสอนด้ วยคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนเป็ นกระบวนการเรียนการสอน
โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ เป็ นสื่อกลางในการนาเสนอเนื้อหาสาระ ทีเ่ สมือนเป็ น ตัวแทนของครู ดังนั้นในการ
ออกแบบเพือ่ สร้ างสื่อ ครูผ้ สู อน หรือผู้มีประสบการณ์ ในเนื้อหาวิชานั้นๆ เป็ นผู้มีส่วนร่ วม หรื อผู้ดาเนินการ
ซึ่งควรมีองค์ ประกอบทีส่ าคัญ ดังนี้
1. การนาเสนอเนื้อหา ต้ องมีปริมาณพอดีกบั หน้ าจอแสดงผล
2. โครงสร้ างสภาพแวดล้ อม(ปุ่ มควบคุม ขนาด สีสันและรูปแบบตัวอักษร) ต้ องมีความคงที่ ลักษณะคงเดิม
ไม่ เคลื่อนย้ ายไปมา
3. สื่อทีส่ ร้ างต้ องมีความเป็ นมัลติมีเดีย เพือ่ เร้ าในการเรี ยนรู้ ได้ แก่ เนื้อหา ภาพนิ่ง คาถาม ภาพเคลื่อนไหว
4. มีการประเมินผลการเรี ยนรู้ผ้ เู รี ยนโดยทันที ได้ แก่ การตัดสิน คาตอบ
5. ให้ ข้อมูลย้ อนกลับเพือ่ การเสริมแรง ได้ แก่ การให้ รางวัลหรื อคะแนน
6. ผู้เรียนสามารถเข้ าถึง เลือกทบทวนบทเรียน ได้ อย่ างต่ อเนื่องตลอดเวลา
แม้ ว่า CAI เป็ นวิธีการเรี ยนการสอน ในรูปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ช่วยครูสอน
แต่ ไม่ ได้ หมายความว่ า CAI นี้ จะสามารถทาหน้ าที่แทนครูได้ ทั้งหมด ครูยงั จาเป็ น
ที่ต้องคอยแนะนา สรุปผลการเรี ยนร้ ู ของผ้ เู รี ยน ที่สาคัญ ครูต้องมีส่วนในการพัฒนา
จัดสร้ างสื่อ CAI ทัง้ ในขั้นการออกแบบ การเตรี ยมเนื้อหา เพีอ่ ให้ บรรลุวัตถุประสงค์
ของการเรี ยนร้ ูในเนื้อหานั้นๆ
การใช้ นวัตกรรมแบบสื่ อมัลติมีเดีย
• สื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการสอน
• ในการสร้างสื่ อมัลติมีเดีย ไม่วา่ จะเป็ นการพัฒนาบทเรี ยนรู ปแบบใด จะ
เริ่ มต้นด้วยการกาหนดหัวหัวเรื่ อง, เป้ าหมาย, วัตถุประสงค์ และ
กลุ่มเป้ าหมายผูใ้ ช้ จากนั้นก็ทาการ วิเคราะห์ (Analysis), ออกแบบ
(Design),พัฒน(Development),สร้าง (Implementation),
ประเมินผล (Evaluation) และนาออกเผยแพร่ (Publication) ซึ่ง
การสร้างสื่ อมัลติมีเดีย ที่กล่าวมานี้ จะเห็นได้วา่ การจัดทาสื่ อมัลติมีเดีย นี้เป็ น
เรื่ องที่ง่ายมากๆ ซึ่งหมายความว่าใครๆ ที่มีความรู ้ทางคอมพิวเตอร์กส็ ามารถ
จะสร้างสื่ อมัลติมีเดียได้ ในที่น้ ีจะกาหนดขั้นตอนการสร้างสื่ อมัลติมีเดียโดย
ละเอียด ทั้งหมด 7 ขั้นตอน เพื่อสะดวกกับผูเ้ ริ่ มต้นที่สนใจในการสร้างสื่ อ
มัลติมีเดีย (สุ กรี รอดโพธ์) ดังนี้
1. ขั้นการเตรียม (Preparation)
- กาหนดเปาหมายและวัตถุประสงค์ (Determine Goals and Objectives) คือการตั้งเปา หมายความว่า
ผู้เรียนจะสามารถใช้บทเรียนนี้เพื่อ ึก าในเรื่องใดและลัก ะใด กล่าวคือ เปนบทเรียนหลักเปนบทเรียน
เสริม เปนแบบ กหัดเพิ่มเติมหรือแบบทดสอบ รวมทั้งการนาเสนอเปาหมายและวัตถุประสงค์ในการเรียน
เราจะต้องทราบพื้น านของผู้เรียนที่เปนกลุ่มเปาหมายเสียก่อน เพราะความรู้พื้น านของผู้เรียนมีอิทธิพลต่อ
เปาหมายและวัตถุประสงค์ของการเรียน
- รวบรวมข้อมูล (Collect Resources) หมายถึง การเตรียมพร้อมทางด้านของเอกสารสนเท
(Information) ทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง
- เนื้อหา (Meterials) ได้แก่ ตารา หนังสือ เอกสารทางวิชาการ หนังสืออ้างอิง สไลด์ าพต่างๆแบบ
สร้างสถานการ ์จาลอง เพื่อใช้สาหรับการเรียนรู้ หรือทดลองจากส าพการ ์จาลองจากสถานการ ์จริง ซึ่ง
อาจจะหาไม่ได้หรืออยู่ไกลไม่สามารถนาเข้ามาในห้องเรียนได้ หรือมีส าพอันตราย หรืออาจสิ้นเปลืองมาก
ที่ต้องใช้ของจริงซ้า ๆ สามารถใช้สาธิตประกอบการสอนใช้เสริมการสอนในห้องเรียน หรือใช้ซ่อมเสริม
ายหลังการเรียนนอกห้องเรียน ที่ใด เวลาใด ก็ได้
- การพัฒนาและออกแบบบทเรียน (Instructional Development) คือ หนังสือการออกแบบบทเรียน
กระดา วาดสตอรี่บอร์ด สื่อสาหรับการทากรา กโปรแกรมประมวลผลคา เปนต้น
- สื่อในการนาเสนอบทเรียน (Instructional Development System) ได้แก่ การนาเอาคอมพิวเตอร์สื่อ
ต่างๆ มาใช้งาน
- เรียนรู้เนื้อหา (Learn Content) เช่น การสัม า ์ผู้เชี่ยวชา การอ่านหนังสือหรือเอกสาอื่นๆ ที่
เกี่ยวกับเนื้อหาบทเรียน ถ้าไม่มีการเรียนรู้เนื้อหาเสียก่อนก็ไม่สามารถออกแบบบทเรียนที่มีประสิทธิ าพได้
- สร้างความคิด (Generate Ideas) คือ การระดมสมองนั่นเอง การระดมสมอง หมายถึง การกระตุ้นให้
เกิดการใช้ความคิดสร้างสรรค์เพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นต่างๆ เปนจานวนมาก
2. ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน (Design Instruction)
• ขั้นตอนการออกแบบบทเรี ยนเป็ นขั้นตอนทีส่ าคัญทีส่ ุ ดขั้นหนึง่ ในการกาหนดว่ า
บทเรียนจะออกมามีลักษณะใด
• - ทอนความคิด (Elimination of Ideas)
• - วิเคราะห์ งานและแนวความคิด (Task and Concept Analysis)
• - ออกแบบบทเรียนขั้นแรก (Preliminary Lesson Description)
• - ประเมินและแก้ไขการออกแบบ (Evaluation and Revision of
the Design)
3. ขั้นตอนการเขียนผังงาน (Flowchart Lesson)
• เป็ นการนาเสนอลาดับขั้นโครงสร้ างขอคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ผังงานทา
หน้ าทีเ่ สนอข้ อมูลเกีย่ วกับโปรแกรม เช่ น อะไรจะเกิดขึ้นเมื่อผ้ เู รี ยนตอบ
คาถามผิด หรื อเมื่อไหร่ จะมีการจบบทเรี ยน และการเขียนผังงานขึ้นอย่ ู
กับประเภทของบทเรี ยนด้ วย
4. ขั้นตอนการสร้ างสตอรี่บอร์ ด (Create Storyboard)
• เป็ นขัน้ ตอนการเตรี ยมการนาเสนอข้ อความ ภาพ รวมทัง้ สื่อใน
รูปแบบมัลติมีเดียต่ างๆ ลงบนกระดาษเพือ่ ให้ การนาเสนอ
ข้ อความและรูปแบบต่ างๆ เหล่ านี้เป็ นไปอย่ างเหมาะสมบน
หน้ าจอคอมพิวเตอร์ ต่อไป
5. ขั้นตอนการสร้ างและการเขียนโปรแกรม (Program Lesson)
• เป็ นกระบวนการเปลีย่ นแปลสตอรี บอร์ ดให้ กลายเป็ นคอมพิวเตอร์ ช่วย
สอน ส่ วนนี้จะต้ องคานึงถึงฮาร์ ดแวร์ ลักษณะและประเภทของ
บทเรี ยนทีต่ ้ องการสร้ าง โปรแกรมเมอร์ และงบประมาณ
6. ขั้นตอนการประกอบเอกสารประกอบบทเรียน (Produce Supporting Materials)
• เอกสารประกอบบทเรียนอาจแบ่ งออกได้ เป็ น 4 ประเภท คือ
คู่มือการใช้ ของผู้เรียน คู่มือการใช้ ของผู้สอน คู่มอื สาหรั บ
แก้ ปัญหาเทคนิคต่ างๆ และเอกสารประกอบเพิ่มเติมทั่วๆ ไป
ผู้เรียนและผู้สอนย่ อมมีความต้ องการแตกต่ างกัน คู่มอื จึงไม่
เหมือนกัน คู่มือการแก้ ปัญหาก็จาเป็ นหากการติตตั้งมีความ
สลับซับซ้ อนมาก
7. ขั้นตอนการประเมินผลและแก้ไขบทเรียน (Evaluate and Revise)
• บทเรียนและเอกสารประกอบทัง้ หมดควรทีจ่ ะได้ รับการประเมิน โดยเฉพาะ
การประเมินการทางานของบทเรียน ในส่ วนของการนาเสนอนั้นควรจะทา
การประเมินก็คอื ผ้ ทู มี่ ีประสบการณ์ ในการออกแบบมาก่ อนในการประเมิน
การทางานของบทเรียนนั้นผ้ อู อกแบบควรทีจ่ ะสังเกตพฤติกรรมของผ้เู รียน
หลังจากทีไ่ ด้ ทาการเรียนจากคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนนั้นๆ แล้ ว โดยผ้ ทู เี่ รียน
จะต้ องมาจากผ้ เู รียนในกล่ มุ เป้ าหมาย ขัน้ ตอนนี้อาจจะครอบคลุมถึงการ
ทดสอบนาร่ องการประเมินผลจากผ้ เู ชี่ยวชาญได้ ในการประเมินการทางาน
ของบทเรียนนั้นผ้ อู อกแบบควรทีจ่ ะสังเกตพฤติกรรมของผ้ เู รียนหลังจากทีไ่ ด้
ทาการเรียนจากคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนนั้นๆ แล้ ว โดยผ้ ทู เี่ รียนจะต้ องมาจาก
ผ้ เู รียนในกล่ มุ เป้ าหมาย ขัน้ ตอนนี้อาจจะครอบคลุมถึงการทดสอบนาร่ องการ
ประเมินผลจากผ้ เู ชี่ยวชาญได้
สื่ อมัลติมีเดียเพือ่ การเรียนการสอน มีจุดประสงค์ หลักๆ ดังนี้
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
- เป้ าหมายคือ การสอน อาจใช้ ช่วยในการสอนหรือสอนเสริมก็ได้
- ผู้เรียนใช้ เรียนด้ วยตนเอง หรือเรียนเป็ นกลุ่มย่ อย 2-3 คน
- มีวตั ถุประสงค์ ทวั่ ไปและวัตถุเฉพาะ โดยครอบคลุมทักษะความรู้ ความจา ความเข้ าใจ และเจตคติ ส่ วนจะเน้ นอย่ างใดมากน้ อย ขึน้ อยู่กบั วัตถุประสงค์ และโครงสร้ าง
ของเนือ้ หา
- เป็ นลักษณะการสื่อสารแบบสองทาง
- ใช้ เพือ่ การเรียนการสอน แต่ ไม่ จากัดว่ าต้ องอยู่ในระบบโรงเรียนเท่ านั้น
- ระบบคอมพิวเตอร์ สื่อมัลติมเี ดียเป็ นชุดของฮาร์ ดแวร์ ทใี่ ช้ ในการส่ งและรับข้ อมูล
- รู ปแบบการสอนจะเน้ นการออกแบบการสอน การมีปฏิสัมพันธ์ การตรวจสอบความรู้ โดยประยุกต์ ทฤษฎีจติ วิทยา และทฤษฎีการเรียนรู้ เป็ นหลัก
- โปรแกรมได้ รับการออกแบบให้ ผ้เู รียนเป็ นผู้ควบคุมกิจกรรมการเรียนทั้งหมด
- การตรวจสอบประสิทธิภาพของสื่อ นับเป็ นขั้นตอนสาคัญทีต่ ้ องกระทา
สื่อมัลติมเี ดียเพือ่ การนาเสนอข้ อมูล มีจุดประสงค์ หลักๆ ดังนี้
- เป้ าหมาย คือ การนาเสนอข้ อมูลเพือ่ ประกอบการคิด การตัดสินใจ ใช้ ได้ กบั ทุกสาขาอาชีพ
- ผู้รับข้ อมูลอาจเป็ นรายบุคคล กลุ่มย่ อย จนถึงกลุ่มใหญ่
- มีวตั ถุประสงค์ ทวั่ ไปเพือ่ เน้ นความรู้ และทัศนคติ
- เป็ นลักษณะการสื่อสารแบบทางเดียว
- ใช้ มากในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ งานด้ านธุรกิจ
- อาจต้ องใช้ อุปกรณ์ ต่อพ่ วงอืน่ ๆ เพือ่ เสนอข้ อมูลทีม่ คี วามซับซ้ อน หรือเพือ่ ต้ องการให้ ผ้ชู มได้ ชื่นชม และคล้ อยตาม
- เน้ นโครงสร้ างและรู ปแบบการให้ ข้อมูลเป็ นต้ น ไม่ ตรวจสอบความรู้ ของผู้รับข้ อมูล
- โปรแกรมส่ วนมากจะควบคุมด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ หรือผู้นาเสนอ
สื่ อมัลติมเี ดียเพือ่ การนาเสนอ
การนาเสนอ หรื อเรี ยกตาม พั ท์ า าอังกฤ ว่าการพรี เซ้นท์ (Presentation) เป็ นการ
บรรยาย หรื อนาเสนอข้อมูลให้แก่ผู ้ ังโดยอาจมีอุปกร ์ประกอบการบรรยายหรื อไม่กไ็ ด้ อดีต
การเตรี ยมงานนาเสนอแต่สักชิ้นต้องเตรี ยมตัวกันมากพอสมควร ตัวอย่างง่ายๆ ได้แก่ การ
บรรยายหน้าชั้นเรี ยนของอาจารย์ผสู ้ อน การเตรี ยมอุปกร ์สาหรับการนาเสนอค่อนข้างยุง่ ยาก
เริ่ มจากการเตรี ยมเนื้อหา นา าพมาประกอบ นาข้อมูลที่มีเขียนลงบนแผ่นสไลด์ (หรื อเขียนบน
แผ่นใส) และบางครั้งอาจมีการอัดเสี ยงประกอบการบรรยายร่ วมด้วย
การใช้ นวัตกรรมแบบห้ องเรียนทางไกล
• ในการจั ด การศึก ษาพื น้ ฐานทั่ ว ไป ก็คื อ การเรี ย นรู้ ในสถานศึก ษาที่เ ป็ น
ห้ องเรี ยน ของโรงเรี ยน หรื อสถานศึกษาต่ างๆ แต่ สภาพการจัดการศึก ษา
ในบางพืน้ ที่ ไม่ สามารถที่จะจัดตัง้ สถานศึกษากระจายไปทั่วทุกพืน้ ที่ได้ ทา
ให้ มีผ้ ูท่ ีพลาดโอกาสทางการศึกษาเกิดขึน้ หน่ วยงานทางการศึกษาหน่ วย
หนึ่ง(กศน.) ได้ ถูกจัดตัง้ ขึน้ เพื่อดาเนินกิจกรรมทางการศึกษาให้ กับบุคลผู้
พลาดโอกาสเหล่ านี ้ ด้ วยระบบการศึกษาที่เอือ้ ต่ อสภาพความเป็ นอยู่ของ
ผู้เรี ยนมากที่สุด หนึ่งในวิธีการจัดการเรี ยนรู้ ที่ประสบความสาเร็ จที่สุดใน
สมัยนั น้ ก็คือ การเรี ยนทางไปรษณีย์ ซึ่งเป็ นช่ องทางสาคัญสาหรั บผู้ท่ ีอยู่
ไกลสถานที่เรี ยน หรื อไม่ สามารถเข้ าเรี ยนในชัน้ เรี ยนได้ และนี่ ก็คืออี ก
รู ปแบบหนึ่ งของการศึกษาที่เราเรี ยกว่ า การศึกษาทางไกล(Distance
Learning)
ความหมายของการศึกษาทางไกล
มีผใู้ ห้คานิยามของการเรี ยนทางไกล (Distance learning) หรื อการ ึก าทางไกล
(distance education) ไว้หลายท่านด้วยกันดังนี้
เบิร์ก และ รี วนิ (E.R.Burge and CC Frewin ,1985 : 4515) ได้ให้ความหมายของ
การ เรี ยนการสอนทางไกลว่า หมายถึงกิจกรรมการเรี ยนที่สถาบันการ ึก าได้จดั ทาเพื่อให้ผเู้ รี ยนซึ่ง
ไม่ได้เลือกเข้าเรี ยน หรื อไม่สามารถจะเข้าเรี ยนในชั้นเรี ยนที่มีการสอนตามปกติได้กิจกรรมการเรี ยน
ที่จดั ให้มีน้ ีจะมีการผสมผสานวิธีการที่สมั พันธ์กบั ทรัพยากร การกาหนดให้มีระบบการจัดส่ งสื่ อการ
สอน และมีการวางแผนการดาเนินการ รู ปแบบของทรัพยากรประกอบด้วย เอกสาร สิ่ งพิมพ์
โสตทั นูปกร ์ สื่ อคอมพิวเตอร์ ซึ่ งผูเ้ รี ยนอาจเลือกใช้สื่อเฉพาะตนหรื อเฉพาะกลุ่มได้ ส่ วนระบบ
การจัด ส่ งสื่ อนั้นก็มีการใช้เทคโนโลยีนานาชนิด สาหรับระบบบริ หารก็มีการจัดตั้งสถาบันการ ึก า
ทางไกล ขึ้น เพื่อรับผิดชอบจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
ต่อ
โฮล์มเบิร์ก (Borje Holmber, 1989: 127 อ้ างถึงใน ทิพย์ เกสร บุญ
อาไพ. 2540 : 38) ได้ ให้ ความหมายของการศึกษาทางไกล ว่ าหมายถึงการศึกษา
ทีผ่ ้ เู รียนและผู้สอนไม่ ได้ มาเรียนหรือ สอนกันซึ่ง ๆ หน้ า แต่ เป็ นการจัดโดยใช้
ระบบการสื่ อสารแบบสองทาง ถึงแม้ ว่าผู้เรียนและผู้สอนจะไม่ อยู่ในห้ องเดียวกัน
ก็ตาม การเรียนการสอนทางไกลเป็ นวิธีการสอนอันเนื่องมาจากการแยกอยู่ห่าง
กันของผู้เรียนและผู้สอน การปฏิสัมพันธ์ ดาเนินการผ่ านสื่ อสิ่ งพิมพ์
คอมพิวเตอร์ และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ต่าง ๆ
ลักษณะเฉพาะที่สาคัญ
• การเรี ยนรู ้แบบทางไกล เป็ นการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ผเู ้ รี ยนจะเรี ยนรู ้จากสื่ อ
ต่างๆ ด้วยวิธีการต่างๆ ที่หลากหลาย อีกทั้งยังเป็ นรู ปแบบการจัด
การ ึก าที่ลดข้อจากัดทางการ ึก า โดยเฉพาะมุ่งเน้นความเท่าเทียม
กันของการ ึก าในทุกส าพพื้นที่ ทุกชุมชน เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้
เรี ยนรู ้จากผูส้ อนที่มีทกั ะความรู ้ในหลักสูตร ซึ่งในบางพื้นที่ ที่ห่างไกล
จากสังคมเมืองจะขาดบุคลากรผูเ้ ชี่ยวชา
• ความหมายของ E-Learning โดยทั่วไป คาว่า E-Learning จะครอบคลุม
ความหมายที่กว้ างมาก กล่าวคือ จะหมายถึง การเรี ยนในลักษณะใดก็ได้ ซึง่
ใช้ การถ่ายทอดเนื ้อหาผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่วา่ จะเป็ น
คอมพิวเตอร์ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรื อ ทาง
สัญญาณโทรทัศน์ หรื อสัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได้ ซึง่ เนื ้อหา
สารสนเทศ อาจอยูใ่ นรูปแบบการเรี ยนที่เราคุ้นเคยกันมาพอสมควร เช่น
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ
(Web Based Instruction) การเรี ยนออนไลน์ (On-line Learning) การเรี ยน
ทางไกลผ่านดาวเทียม หรื ออาจอยูใ่ นลักษณะที่ยงั ไม่คอ่ ยเป็ นทีแ่ พร่หลายนัก
เช่น การเรี ยนจาก วีดิทศั น์ตามอัธยาศัย (Video On-Demand) เป็ นต้ น
•
ความหมายของ E-Learning เฉพาะเจาะจง ส่ วนให ่เมื่อกล่าวถึง E-Learning
ในปั จจุบันจะหมายเฉพาะถึง การเรี ยนเนือ้ หาหรื อสารสนเทศสาหรั บ การ
สอนหรื อการอบรม ซึ่งใช้ นาเสนอด้ วยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกั บการ
ใช้ ภาพเคลื่อนไหววีดิทัศน์ และเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยีของเว็บ (Web
Technology) ในการถ่ ายทอดเนือ้ หา รวมทัง้ การใช้ เทคโนโลยีระบบการ
จัดการคอร์ ส (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอน
ด้ านต่ าง ๆ เช่ น การจัดให้ มีเครื่ องมือการสื่อสารต่ าง ๆ เช่ น e-mail, web
board สาหรั บตัง้ คาถาม หรื อแลกเปลี่ยนแนวคิดระหว่ างผู้เรี ยนด้ วยกัน
หรื อกับวิทยากร การจัดให้ มีแบบทดสอบ หลังจากเรี ยนจบ เพื่อวัด ผลการ
เรี ยน รวมทัง้ การจัดให้ มีระบบบันทึก ติดตาม ตรวจสอบ และประเมิ นผล
การเรี ยน โดยผู้เรี ยนที่เรี ยนจาก E-Learning นี ้ ส่ วนใหญ่ แล้ วจะศึ กษา
เนือ้ หาในลักษณะออนไลน์ ซึ่งหมายถึงจากเครื่ องที่มีการเชื่อมต่ อกับระบบ
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ลักษณะสาคัญของ E-Learning ที่ดีประกอบไปด้ วยลักษณะสาคัญ
• 1. Anywhere, Anytime คือ ผู้เรี ยนสามารถจะเป็ นใครก็ได้ ไม่ จากัดเฉพาะนักศึกษา
หรื อบุคลากร สามารถเรี ยนจากสถานที่ใดก็ได้ และสามารถเรี ยนเวลาใดก็ได้ ตาม
ความต้ องการของผู้เรี ยน
2. Multimedia เป็ นการนาเสนอในรู ปแบบสื่อประสม บนเทคโนโลยีเว็บ
ประกอบด้ วยข้ อความ รู ปภาพภาพเคลื่อนไหว และเสียง ตลอดจนวีดิทัศน์ เพื่อให้
กระตุ้นให้ ผ้ ูเรี ยนเกิดความคงทนในการเรี ยนรู้ ได้ ดีขึน้
3. Non-linear ผู้เรี ยนมีอิสระในการเรี ยน สามารถเข้ าถึงเนือ้ หาตามความต้ องการ
โดย E-Learning จะต้ องจัดหาการเชื่อมโยงที่ยืดหยุ่นแก่ ผ้ ูเรี ยน
4. Interaction มีการเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ูเรี ยนโต้ ตอบ (มีปฏิสัมพันธ์ ) กับเนือ้ หาหรื อกับ
ผู้อ่ ืนได้
5. Immediate Response มีการออกแบบให้ มีการทดสอบ การวัดผลและการ
ประเมินผล ซึ่งให้ ผลป้อนกลับโดยทันทีแก่ ผ้ ูเรี ยนไม่ ว่าจะอยู่ในลักษณะของ
แบบทดสอบก่ อนเรี ยน (Pre-test) หรื อแบบทดสอบหลังเรี ยน (Posttest)
การใช้ E-Learning ในการจัดการศึกษา
• สถาบันการ ึก าทุกระดับทัว่ โลกพยายามที่จะใช้ประโยชน์จาก
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และให้ความสาคั กับการเรี ยนแบบ ELearning มากขึ้น เช่นเดียวกับประเท ไทย สถาบันการ ึก ามหาวิทยาลัย
หลายแห่งในประเท ไทย ได้ให้ความสาคั ในการใช้ E-Learning รวมทั้งมี
แนวทางในการจัดตั้ง มหาวิทยาลัยออนไลน์ (Online University) หรื อการ
เรี ยนการสอนแบบทางไกลผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต และมหาวิทยาลัยบาง
แห่งได้เปิ ดรับสมัครนัก ึก า หลักสู ตร E-Learning ในหลายๆ สาขาวิชา และ
มีแนวโน้มที่นกั ึก าให้ความสนใจสมัครเรี ยนมากขึ้นเท่ากับว่าเป็ นการเพิม่
ขนาดของมหาวิทลัยได้เป็ นเท่าตัวโดยที่ทางมหาวิทยาลัยไม่ตอ้ งมีการลงทุน
เพิ่มในส่ วนของอาคารเรี ยน ห้องเรี ยน ซึ่งค่าใช้จ่ายที่สาคั จะเป็ นค่าใช้จ่ายใน
ด้านคอมพิวเตอร์และเครื อข่าย เท่านั้น
สรุป
การเรียนการสอนแบบ E-Learning เป็ นนวัตกรรมใหม่ ที่สถานศึกษา หน่ วยงาน
องค์ กรทุกระดับ สามารถนาไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ต่อการเรี ยนการสอน พัฒนา
แหล่ ง การเรี ย นรู้ ในการศึ ก ษาหาความรู้ เ พิ่ม เติม โดยการเรี ย นการสอนผ่ า น
เทคโนโลยีอนิ เทอร์ เน็ต ทาให้ ระบบศึกษาเปลีย่ นจากเดิม โดยเปิ ดโอกาสให้ เรียนรู้
ผ่ านมัลติมีเดียบนเว็บ ผู้ เรี ยนสามารถเข้ าถึงข้ อมู ลได้ ทั่วโลก ทาให้ การเรี ยนรู้
เกิดขึน้ ได้ ทุกที่ ทุกเวลา ทั้งที่บ้าน ที่ทางาน ผู้เรียนอิสระในการเรียน สามารถเป็ น
ผู้ควบคุมการเรียนของตนเอง ช่ วยส่ งเสริมการเรียนที่ผู้เรียนเป็ นศู นย์ กลาง ทาให้
เกิดกระบวนการเรียนการสอนทีม่ ีประสิ ทธภาพ
การประเมินนวัตกรรม
• การประเมินนวัตกรรม
•
การประเมินนวัตกรรมสามารถปฏิบตั ิได้ใน 2 ลักษณะคือ ทัง้ ก่ อนการ
เผยแพร่ นวัตกรรมไปสู่ผ้ ูใช้ และหลังการเผยแพร่ ท่ มี ีผ้ ูใช้ ไปแล้ วระยะหนึ่ง
ในการประเมินก่ อนการเผยแพร่ นัน้ สาลี ทองธิว (2526) ได้ ให้ ข้อคิดว่ าควร
ดาเนินการในรูปโครงการนาร่ อง เพื่อศึกษาว่ านวัตกรรมนัน้ จะนาไปสู่
จุดมุ่งหมาย
ที่ต้องการได้ หรื อไม่ ควรปรั บปรุ งแก้ ไขอย่ างไร มีแนวโน้ มอย่ างไร จะทาให้
เกิดความคุ้มค่ าหรื อเสียหายหรือไม่ ส่ วนการประเมินหลังจากการนาไปใช้
แล้ ว ก็สามารถตรวจสอบผลในเชิงปฏิบัตวิ ่ าเป็ นไปตามที่คาดหวังหรือไม่ การ
ประเมินทัง้ สองลักษณะมีเกณฑ์ ท่ ใี ช้ พจิ ารณา 2 เกณฑ์ คือ
• 1. เกณฑ์ ของผลที่ได้ รับ เพื่อพิจารณาว่ า นวัตกรรมนัน้ สามารถแก้ ปัญหาได้
เพียงใดโดยมีข้อพิจาณา คือ
1.1 ประชากรได้ รับผลนัน้ มีจานวนเท่ าใด
1.2 จะแก้ ปัญหานัน้ ได้ นานเพียงใด
1.3 จะแก้ ปัญหานัน้ ได้ มากเท่ าใด
1.4 จะก่ อให้ เกิดผลกระทบในทางลบหรือไม่ เพียงใด อย่ างไร
2. เกณฑ์ ของความเป็ นไปได้ เพื่อประเมินว่ านวัตกรรมนัน้ สามารถใช้ ได้ จริง
และมีผ้ ูสามารถนาไปใช้ ได้ มีข้อพิจารณา ดังนี ้
2.1 กลุ่มนีจ้ ะนานวัตกรรมไปใช้ มีผ้ ูเชี่ยวชาญ กาลังคน ความรู้ ความ
ชานาญประสบการณ์ ท่ จี าเป็ นและความเต็มใจที่จะรั บผิดชอบแค่ ไหน
2.2 ความคุ้มค่ ากับการลงทุน โดยเปรี ยบเทียบผลกับต้ นทุน
2.3 การยอมรั บของประชากรส่ วนใหญ่ ดูว่ามีประชากรมากน้ อย เท่ าใดที่
ให้ การยอมรั บ
2.4 นวัตกรรมนัน้ มีความกลมกลืนกับค่ านิยม ความเป็ นอยู่ ความเชื่อของ
ประชากรผู้ใช้ เพียงใด
2.5 กลุ่มผู้รับเห็นคุณประโยชน์ ของการใช้ นวัตกรรมนัน้ มากน้ อยเพียงใด
และนานเท่ าใดจึงจะเห็นผล
การปรับปรุงนวัตกรรม
• นวัตกรรม ความหมายและขอบข่ าย
• นวัตกรรม หมายถึง ความคิดและการกระทาใหม่ๆที่นามาใช้ในการ
ปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลง การดาเนิ นงานให้มีประสิ ทธิ าพสู งขึ้น (สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขันพื
้ ้นฐาน หนึ่งโรงเรี ยนหนึ่งนวัตกรรม:2549)
• นวัตกรรมทางการ ึก า หมายถึง แนวคิด ทฤ ฎี ระบบ กระบวนการ
เทคนิ ค วิธีการ แนวปฏิบตั ิ และสิ่ งประดิ ท์ ี่พฒั นาขึ้นใหม่เพื่อแก้ปั หา
และพัฒนาคุ าพการ ึก า(สานักงานค ะกรรมการการ ึก าขั้นพื้น าน
หนึ่ งโรงเรี ยนหนึ่ งนวัตกรรม:2549)
เป้าหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา
• 1. เพื่อแก้ ปัญหาการเรี ยนรู้ ที่เกิดขึ ้น
• 2. เพื่อทาให้ การเรี ยนรู้ บรรลุเป้าหมายทางการศึกษาที่วางไว้
• 3. เพื่อให้ การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพบรรลุเป้าหมายได้ ดีขึ ้น (รศ.
ดร.สาลี ทองทิว คาบรรยายการประชุมสัมมนาแนวทางการพัฒนา
นวัตกรรมในโรงเรี ยน เอเชียแอร์ พอร์ ท เซียรังสิต ปทุมธานี)
การจัดการนวัตกรรม
ความรู้คืออะไร
รู้ว่า รู้อะไร
ไม่รู้ว่า รู้อะไร
รู้ว่า ไม่รู้อะไร
ไม่รู้ว่า ไม่รู้อะไร
แผน ูมิแสดงความรู้ในบุคคล
•
•
•
•
•
แนวทางการจัดทานวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรม คือสิ่งที่เพิ่มพูนคุณภาพ อาทิ
- เพิ่มคุณภาพผลการเรียน
- ลดช่ องว่ างระหว่ างเด็กเก่ งและเด็กอ่ อน
- เด็กทุกคนได้ การเรียนดีท่ สี ุด (ดร.โกวิท ประวาลพฤกษ์
คาบรรยายการประชุมสัมมนาแนวทางการพัฒนา
นวัตกรรมในโรงเรียน เอเชีย แอร์ พอร์ ท เซียรังสิต
ปทุมธานี)
• ข้ อสั งเกตในการใช้ นวัตกรรม
• 1.ไม่ มีการกาหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
• 2. ใช้ นวัตกรรมที่นาเข้ ามาจากภายนอกโรงเรียนโดยไม่ มีการปรั บให้ เข้ า
กับบริบทของเรา
• 3.ไม่ เข้ าใจเป้าหมาย ลักษณะธรรมชาติของนวัตกรรม
• 4.เข้ าไม่ ถึงการดาเนินงานที่เป็ นหัวใจของนวัตกรรม (รศ.ดร.สาลี
ทองธิว คาบรรยายการประชุ มสั มมนาแนวทางการพัฒนานวัตกรรมใน
โรงเรียน เอเชี ย แอร์ พอร์ ท เซียรังสิ ต ปทุมธานี)