- คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Download Report

Transcript - คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อวสานของครูสอน
วิจารณ์ พานิช
นิสติ วิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕
บรรยาย ณ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
ศตวรรษที่ ๒๑ ต่างจากศตวรรษที่ ๒๐
•
•
•
•
•
•
•
•
เปลี่ยนแปลงเร็ว ไม่คาดฝั น
ความรู้งอกเร็ว เก่าเร็ว
ความซับซ้ อน
การแข่งขัน และร่วมมือ
โลกาภิวตั น์
ข่าวสารท่วมท้ น ปนมายา
คนเปลี่ยน
ความสัมพันธ์เป็ นแนวราบมากขึ ้น
ความจริงของศตวรรษที่ ๒๑
•
•
•
•
•
•
•
สังคม/โลก เปลี่ยน
เด็กเปลี่ยน
ทักษะที่ต้องการในการดารงชีวิตเปลี่ยน
คุณลักษณะของบัณฑิตเปลี่ยน
การเรียนรูต้ ้องเปลี่ยน
สอนไม่ได้ผล ต้องเรียน
ครู/อาจารย์ ต้องไม่เน้ นสอน เน้ นออกแบบการเรียนรู้
เน้ นสร้างแรงบันดาลใจ เน้ นเป็ นโค้ช ไม่ใช่ผสู้ อน
การเรี ยนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑
• ต้ องเลย การเรี ยน ความรู้ (knowledge) สูก่ ารฝึ ก ทักษะ
(skills)
• การเรี ยนวิทยาศาสตร์ ต้ องเลย fact สู่ การคิด และเจตคติ
เชิงวิทยาศาสตร์ scientific thinking / attitude
• เลย “รู้” สู่ “ชอบ” “เห็นคุณค่ า” (appreciate)
• ไม่เน้ น สอน แต่ เน้ น เรียน
การเรี ยนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑
• “ครูเครื่ อง” สอน/ถ่ายทอด เนื ้อ ค. ... สิ่งที่ตายตัว
• ครูคน โค้ ชการคิด การประยุกต์ ค. เพื่อ “รู้จริ ง” (mastery)
... ส่วนที่ดิ ้นได้
• การเรี ยนรู้เป็ นเรื่ องของ นร./นิสิต
• เรี ยนหลายมิติ/บูรณาการ ในเวลาเดียวกัน
เรี ยน AL เพื่อพัฒนา 5 ด้ าน
เรียนแบบ Active/Engaged Learning
ซับซ้ อนกว่ านี้ โยงชีวติ จริงให้ มากทีส่ ุ ด
Contributor
Service
Learning
บริ การ
สังคม
เรี ยน
ประยุกต์ ค.
กาย
ปั ญญา
จิตวิญญาณ
อารมณ์
วิจยั
สังคม
Creator
Level
Objectives
Outcome
Informative
• Information
• Skills
Experts
Formative
• Socialization
• Values
Professionals
Transformative
• Leadership
attributes
Change agents
Table III-1. Levels of learning
2. เรียนรู้งอกงามจากภายใน
3. เปลี่ยนสมอง
Maslow's hierarchy of needs
บันได ๖ ขัน้ ของการพัฒนาคุณธรรม
•
•
•
•
•
ขัน้ ที่ ๑ ปฏิบัตเิ พราะความกลัว ไม่ อยากเดือดร้ อน
ขัน้ ที่ ๒ ปฏิบัตเิ พราะอยากได้ รางวัล
ขัน้ ที่ ๓ ปฏิบัตเิ พราะอยากเอาใจคนบางคน
ขัน้ ที่ ๔ ปฏิบัตเิ พราะต้ องปฏิบัตติ ามกฎ
ขัน้ ที่ ๕ ปฏิบัตเิ พราะต้ องการให้ ตนดูดี ให้ ได้ ช่ ือว่ าเป็ นคนดี ให้ ได้ ช่ ือ
ว่ ามีนา้ ใจ
• ขัน้ ที่ ๖ ปฏิบัตติ ามหลักการ หรื ออุดมการณ์ ของตน ไม่ ต้องการให้ มี
คนยกย่ องชมเชยหรื อให้ รางวัล
Lawrence Kohlberg's stages of moral development
การเรี ยนรู้
• การเรี ยนรู้เป็ นผลของการกระทาและการคิดของ
นักเรี ยน
• เกิดจากการกระทาและการคิดของนักเรี ยนเอง
เท่านัน้
• ครูช่วยทาให้ เกิดการเรี ยนรู้ได้ โดยเข้ าไปจัดการสิ่งที่
นักเรี ยนทา (ปฏิบตั ิ และคิด) เพื่อการเรี ยนรู้
Herbert A. Simon
Constructionism
เหตุการณ์
สังเกต เก็บข้ อมูล
ความจาใช้ งาน
Working
Memory
ตระหนักรู้ และคิด
เรี ยนรู้
ลืม
จา
ความจาระยะยาว
รู้ข้อเท็จจริงและกระบวนการ
Ref.: Daniel T. Willingham. Why Don’t Students Like School?, 2009
Longterm
Memory
อุดมการณ์ของครูในศตวรรษที่ ๒๑
• ไม่ทาตนเป็ น “ผู้ร้ ู ” ไม่ตอบคาถามศิษย์ ที่ถามเนื ้อความรู้
• ทาตนเป็ น “ผู้ไม่ร้ ู” เน้ นตังค
้ าถาม ให้ ศิษย์ค้นคว้ า หรื อทดลอง
ปฏิบตั ิเพื่อหาคาตอบเอง
• ท้ าทาย กระตุ้น ให้ ศิษย์เกิดความใคร่ร้ ู และขวนขวายอดทนหา
คาตอบ/ทักษะ เอง
วิธีการที่แตกต่าง
ของการเรี ยนรู้
ในศตวรรษที่ ๒๑
• สอนน้ อย ศิษย์ได้ เรี ยนรู้มาก (Teach Less, Learn More)
• เรี ยนโดยลงมือทา (Active Learning) และทบทวนไตร่ตรอง (AAR /
Reflection) เรี ยน = ทางาน
• เรี ยนเป็ นทีม ช่วยเหลือกัน ไม่ทิ ้งกัน
• นร. เป็ นเจ้ าของการเรี ยน
• ครูเอาใจใส่เด็กเรี ยนอ่อน
• เน้ นสอบเพื่อแก้ ไข พัฒนา (Formative Assessment)
• เรี ยนให้ ใช้ ค.เป็ น, ฝึ กใช้ ค., รู้จริ ง (mastery)
• ใช้ วิธีเรี ยนหลายแบบ ผสมผสานกัน
ในศตวรรษ
ที่ ๒๑
คุณค่าของครู...สูงยิ่ง
• โดยใช้ เวลาทาหน้ าที่โค้ ช ให้ ศิษย์มีทกั ษะสาคัญ สาหรับการ
ดารงชีวิตในสังคมยุคใหม่
• ไม่ใช่เน้ นทาหน้ าที่่ถ่ายทอดความรู้
• เอาใจใส่ศิษย์ทกุ คน เป็ นรายคน ไม่ใช่ สนใจแต่เด็กเก่ง
• รวมตัวกันเรี ยนรู้ วิธีทาหน้ าที่ โค้ ช ศิษย์ ให้ พฒ
ั นาครบด้ าน
เรี ยนรู้ตลอดชีวิต … ชุมชนเรี ยนรู้ ครู เพือ่ ศิ ษย์ (PLC – Professional
Learning Community)
หรื อ
หรื อ
เรี ยนรู้ “พลังสาม”
จิตตปั ญญาศึกษา
http://www.gotoknow.org/posts?tag=The+Heart+of+Higher+Education
“…. if I can influence their heart, I can influence
their mind, then hands and feet follow”
PMAC 2014, 31 Jan 2014
ความล้ มเหลวและสาเร็จ
ของครูเรฟ
http://www.gotoknow.org/posts/188353
เป้าหมายของการเรี ยน ว. ใน กศ. พฐ.
A New Vision for Teaching Science. Scientific American
• มีความรู้ ใช้ และตีความ คาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ เกีย่ วกับ
โลกธรรมชาติ
• สามารถสร้ าง และประเมินหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ พร้ อมกับ
คาอธิบาย
• เข้ าใจธรรมชาติ และพัฒนาการของความรู้ทางวิทยาศาสตร์
• สามารถเข้ าร่วมกิจกรรม และการถกเถียงทางวิทยาศาสตร์
http://www.gotoknow.org/posts/560072
กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรี ยน ว.
•
•
•
•
•
•
เป้าหมายที่เปลี่ยน
เรี ยนตังแต่
้ เด็ก สมองเด็กเรี ยนรู้เหตุผลได้ ขึ ้นกับพื ้นความรู้
อย่าเรี ยนแบบแยกย่อยวิชาเกินไป
เรี ยนจากการลงมือทา ทาจริ งๆ (authentic learning)
ครูชวนทา reflection 3 แบบ เพื่อ Mastery L
ครูสอดใส่ Embedded Formative Assessment &
Formative Feedback
คุณค่าของครูวิทย์
•
•
•
•
http://www.gotoknow.org/posts/558157
ตังค
้ าถาม น่าน่าสนใจ สนุก ไม่ใช่ให้ คาตอบ
ตังค
้ าถาม How & Why
ให้ นร. เชื่อมโยงสูช่ ีวิตจริ งีี ผ่านการลงมือทา และไตร่ตรอง
(reflection)
• ให้ ฝึกเชื่อมโยงปฏิบตั ิ สูท่ ฤษฎี
เรี ยนรู้ ๓ มิติ
• ทักษะ
• หลักการ
• สาระ
ทักษะวิทย์ & วิศว ๘
•
•
•
•
•
•
•
•
Ask Q (S), Define P (E)
Model : Develop & Use
Investigation
Analyse & Interprete Data
Use Math & Computational
Thinking
Explain (S) & Design Solution (E)
Argue with Evidence (s)
Info : Obtain, Evaluate,
Communicate
http://www.gotoknow.org/posts/483560
หลักการ ๗ ประการ
• Patterns
• Cause & Effect
• Scale, Proportion &
Quantity
• Systems & System Models
• Energy & Matter
• Structure & Function
• Stability & Change
http://www.gotoknow.org/posts/483560
สาระวิชา ๔ กลุม่
•
•
•
•
Physical Sciences
Life Sciences
Earth & Space Sciences
Engineering, Technology &
Application of Science
http://www.gotoknow.org/posts/483560
การจัดการเรี ยนรู้ในยุคปัจจุบนั
• หาทางให้ นักเรี ยน/นศ. เป็ นเจ้าของการเรี ยน (Student
Engagement)
• กระตุน้ ความสนใจใฝ่ รู้
• เรี ยนสนุก
• เรี ยนด้วยความอยากเรี ยน
• เรี ยนแล้วภูมิใจ เกิดความมัน่ ใจตนเอง เห็นคุณค่า/
โอกาส ทาประโยชน์แก่ส่วนรวม
• เห็นคุณค่าของตนเอง ของการเรี ยน ต่อชีวติ ในภายหน้า
เปลี่ยนห้ องสอน เป็ นห้ องเรี ยน
• เพราะเป้ าหมายของการศึกษาเปลี่ยนไป
• จากเน้นเรี ยนวิชา / ความรู้ สู่ เรี ยนให้ได้ทักษะ ... 21st Century Skills :
ทักษะจาเป็ น 3ร 1ว - แรงบันดาลใจ เรี ยนรู้ ร่ วมมือ วินยั ในตน
• จาก Teach to Test สู่ Holistic Learning เรี ยนให้ได้พฒั นาการ ๕ ด้าน
• การเรี ยนคือการปฏิบัติ ... การเรี ยนรู้เกิดจากการปฏิบตั ิ + คิด เท่านั้น ...
ไม่ใช่การรับถ่ายทอด
• ครู ตอ้ งเปลี่ยนบทบาท จากครู สอน ... สู่ ครู ฝึก
เปลี่ยน นร. จากผู้รับถ่ายทอด เป็ นผู้สร้ าง ค.
•
•
•
•
•
•
ร่วมจัดทา VDO เพื่อกลับทางห้ องเรี ยน
สร้ าง ค. ใน PBL
ตังค
้ าถามที่หลุดโลก สูโ่ จทย์ Project ที่ท้าทาย
เรี ยน โดยสร้ าง ค. ทาประโยชน์แก่ผ้ อู ื่น
เกิดทักษะในการเรี ยนรู้ (Learning Skills) และจิตสาธารณะ
ทางานเป็ นทีม เกิดทักษะการทางานเป็ นทีม ทักษะความร่วมมือ (Collaboration
Skills) สอนเพื่อน
• เป็ น co-educator
http://www.gotoknow.org/posts?tag=november
เปลี่ยนครู จากครูสอน เป็ นครูฝึก
• สร้ างแรงบันดาลใจ จุดไฟ
• ยัว่ ยุ ท้ าทาย บอกเป้าหมายที่ท้าทายของแต่ละคน
• ชื่นชม และแนะให้ แก้ จดุ อ่อน แนะให้ ฝึกเพิ่มเพื่อยกระดับตรงจุดที่
จาเพาะของแต่ละคน
• ครูไม่ใช่เจ้ าของชันเรี
้ ยน นักเรี ยนเป็ นเจ้ าของ ครูเป็ นผู้อานวยความ
สะดวก
• คอยสังเกตปั ญหา / ผลสัมฤทธิ์ ของ นร.แต่ละคน
• EFA + TFB
เปลี่ยนห้ องสอนเป็ นห้ องเรี ยน
•
•
•
•
•
จากห้ องสอน เป็ นห้ องเรี ยน
เรี ยนโดยการทางาน
ห้ องเรี ยน เป็ นห้ องทางาน (Studio) ทางานเป็ นทีม
ไม่จดั ห้ องแบบ Classroom แต่จดั เป็ น Studio
นร. เป็ นผู้ทากิจกรรม จัดห้ องให้ สะดวกต่อกิจกรรมกลุม่ ของ
นร. โดยครูเข้าถึงแต่ละกลุม่ /คน ได้สะดวก
เรี ยนได้ ดีที่สดุ โดยใช้ “ส้ นเท้ า”
• SOLE = Self-Organized Learning
Environment
• http://www.gotoknow.org/posts/560716