ภาพนิ่ง 1 - โครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้ ระยะที่ 2

Download Report

Transcript ภาพนิ่ง 1 - โครงการยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคใต้ ระยะที่ 2

การจัดทาหลักสูตรท้ องถิน่
ภายใต้ พ.ร.บ. การศึกษาแห่ งชาติ ๒๕๔๒
ไตรรงค์ เจนการ
081-7058686
กลุ่มส่ งเสริม สนับสนุนสถานศึกษา ครูผู้สอนให้ มคี วามเข้ มแข็งทางวิชาการ
ใช้ กับโรงเรี ยนในพืน้ ที่โครงการพัฒนาดอยตุง จังหวัดเชียงราย
หลักสู ตร คือ อะไร
• กลุ่มรายวิชา ที่จัดไว้ อย่ างมีระบบหรือลาดับวิชา
สาหรับการจบการศึกษาในระดับหนึ่งๆ
• ชุดการเรียนและประสบการณ์ สาหรับเด็ก
ที่โรงเรียนวางแผนไว้ เพื่อให้ เด็กบรรลุถึง
จุดหมายของการศึกษา
หลักสู ตร คือ อะไร
• แผนการเรียนรู้ ที่ประกอบด้ วยจุดประสงค์ จุดหมาย
เฉพาะ การเลือกและการจัดเนือ้ หา วิธีการจัดการเรี ยน
การสอน และการประเมินผล
• ประสบการณ์ ทุกอย่ างทีจ่ ัดให้ กับเด็ก โดยอยู่ใน
ความดูแลและการสอนของครู
• กิจกรรมการเรียนการสอนชนิดต่ างๆ ที่
เตรียมการไว้ และจัดให้ แก่ เด็กนักเรียนโดยโรงเรียน
หรื อระบบโรงเรี ยน
องค์ ประกอบของหลักสู ตร
•
•
•
•
•
หลักการ
จุดมุ่งหมาย
โครงสร้ าง
แนวดาเนินการ
หลักเกณฑ์ การใช้ หลักสู ตร
• เวลาเรียน
•
•
•
•
หน่ วยการเรียน
วิชาบังคับ/วิชาเลือกเสรี
การวัดและประเมินผล
เกณฑ์ การจบหลักสู ตร
• กลุ่มวิชา / รายวิชา - คาอธิบายรายวิชา
องค์ ประกอบทีส่ าคัญของหลักสู ตรโรงเรียน
๑. ส่ วนนา
-
ความนา
วิสัยทัศน์ โรงเรียน
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. โครงสร้ างหลักสู ตรสถานศึกษา
๓. คาอธิบายรายวิชา
๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๕. เกณฑ์ การจบการศึกษา
ภาพที่ต้องการ
หลักสูตร
กลุ่มรายวิชา
รายวิชาเดียว
• หลักสูตร : กลุ่มรายวิชา
ที่จัดไว้ อย่ างมีระบบ หรือลาดับวิชาสาหรับ
การจัดการศึกษาให้ กับนักเรียน
รายวิชา ๑
รายวิชา ๒
หลักสู ตร......
รายวิชา ๓
รายวิชา ๔
รายวิชา ๕
รายวิชาเดียว
•
•
•
•
จุดประสงค์
การเลือกและการจัดเนือ้ หา
วิธีการจัดการเรียนการสอน
และการประเมินผล
องค์ ความรู้ ทจี่ ะนาไปสู่ รายวิชา/หลักสู ตร
การพัฒนาหลักสูตรระดับท้ องถิ่น
พ.ร.บ. การศึกษาแห่ งชาติ ๒๕๔๒ (มาตรา ๒๗)
• ให้ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐานกาหนดหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพือ่ ความเป็ นไทย ความเป็ น
พลเมืองดีของชาติ การดารงชีวติ และการประกอบอาชีพ
ตลอดจนเพือ่ การศึกษาต่ อ
• ให้ สถานศึกษามีหน้ าทีจ่ ัดทาสาระของหลักสู ตรเกีย่ วกับสภาพ
ปัญหาในชุมชนและสั งคม ภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ เพือ่ เป็ นสมาชิกทีด่ ขี องครอบครัว ชุมชน สั งคม
และ ประเทศชาติ
ภูมปิ ัญญา (Wisdom)
หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ
ความสามารถทางพฤติกรรมและ
ความสามารถในการแก้ ไขปัญหาของ
มนุษย์
กลุ่มงานภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น สานักพัฒนาเกษตรกร กรมส่ งเสริมการเกษตร โทร. 0-2579-7543, 0-2940-6025
ภูมิปัญญาท้ องถิน่
เป็ นความรู้ ทเี่ กิดจากประสบการณ์ ในชีวติ ของคน ผ่ าน
กระบวนการศึกษา สั งเกต คิดวิเคราะห์ จนเกิดปัญญาและตกผลึก
เป็ นองค์ ความรู้ ทปี่ ระกอบกันขึน้ มาจากความรู้ เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง
จัดว่ าเป็ นพืน้ ฐานขององค์ ความรู้ สมัยใหม่ ทจี่ ะช่ วยในการเรียนรู้
การแก้ ปัญหาจัดการและการปรับตัวในการดาเนินชีวติ ของคนเรา
ภูมิปัญญาท้ องถิน่ เป็ นความรู้ ทมี่ ีอยู่ทวั่ ไปในสั งคม ชุมชนและใน
ตัวผู้รู้ เอง จึงควรมีการสื บค้ น รวบรวม ศึกษา ถ่ ายทอด พัฒนาและ
นาไปใช้ ประโยชน์ ได้ อย่ างกว้ างขวาง
กลุ่มงานภูมปิ ัญญาท้ องถิ่น สานักพัฒนาเกษตรกร กรมส่ งเสริมการเกษตร โทร. 0-2579-7543, 0-2940-6025
ลักษณะสาระการเรียนรู้ ท้องถิน่
ฟื้ นฟู
เรียนเพือ่ รู้
มรดก
อนุรักษ์
เรียนเพือ่ ทาเป็ น/ทาได้
มรดก/ อาชีพ
ประยุกต์ และพัฒนา
ทาได้ –ขายเป็ น
อาชีพแบบใหม่
ลักษณะประเภทเนือ้ หาวิชา
( Hilda Taba 1962)
•ข้ อเท็จจริงและกระบวนการ
(Specific Facts and Processes)
•แนวคิดพืน้ ฐาน (Basic Ideas)
•มโนทัศน์ /ความคิดรวบยอด (Concepts)
•ระบบความคิด (System of Thought)
หลักเกณฑ์ การเลือกเนือ้ หาวิชา
(ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์ ๒๕๓๙)
• สาคัญต่ อการเรียนรู้ (Significance)
• ถูกต้ องทันสมัย (Validity)
• น่ าสนใจ (Interest)
• เป็ นสิ่ งทีเ่ รียนรู้ได้ (Learn ability)
• สอดคล้ องตรงกับจุดประสงค์
(Appropriateness to Objectives)
• ประโยชน์ แก่ ผู้เรียน (Usefulness)
• สามารถจัดให้ กบั ผู้เรียนได้ (Feasibility)
แนวทางการจัดลาดับเนือ้ หาวิชา
• จัดลาดับจากเนือ้ หาที่ง่ายไปหายาก
– สิ่ งมีชีวติ /ไม่ มีชีวติ --สั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยและโลก
• จัดลาดับความจาเป็ นที่ต้องเรียนก่ อนหลัง
– การบวก-ลบ ---การคูณ/ หาร
• จัดลาดับตามกาลเวลา
– เรียงลาดับเหตุการณ์ วชิ าประวัตศิ าสตร์
• จัดตามหัวข้ อข้ อหรือเรื่อง
– การเขียนเรื่อง การเรียนวรรณคดี
• จัดลาดับจากส่ วนย่ อยไปหาส่ วนรวม
– รู้ เรื่องราวรอบตัว บ้ าน ชุ มชน ประเทศ โลก
• จัดลาดับจากส่ วนรวมไล่ ลงไปหาส่ วนย่ อย
– เรียนโลก ทวีป ประเทศ จังหวัด อาเภอ
จุดเริ่มต้ น
ลาดับขั้นตอน
•
•
•
•
•
•
•
•
•
รวบรวมเนือ้ หาสาระองค์ ความรู้
จาแนกเนือ้ หาสาระเป็ นตอน/ กลุ่ม จัดเรียงลาดับเนือ้ หา
กาหนดพฤติกรรมการเรียนรู้ (สติปัญญา จิตพิสัย ทักษะพิสัย)
จัดทาตารางความสั มพันธ์ พฤติกรรมการเรียนรู้ กบั เนือ้ หาสาระ
กาหนดจานวนรายวิชา พร้ อมกับกาหนดเวลาเรียน (ในแต่รายวิชา กีช่ ม.)
กาหนดรหัสรายวิชา
เขียนคาอธิบายรายวิชา
จัดรายวิชาเข้ าโครงสร้ างหลักสู ตร
เขียนรายละเอียดตามองค์ ประกอบทีส่ าคัญของหลักสู ตร
(ถ้ าจะจัดเป็ นหลักสู ตร)
เนือ้ หาหรือองค์ ความรู้ในผลิตภัณฑ์ นีม้ ีอะไรบ้ างทีต่ ้ องรู้
ผู้ทสี่ ามารถสร้ างผลิตภัณฑ์ นีไ้ ด้ ต้องมีความสามารถอะไรบ้ าง
การจัดลาดับเนือ้ หาวิชาไปสู่ รายวิชา
เนือ้ หาสาระ
เรื่องที่ ๕
เรื่องที่ ๒
เรื่องที่ ๔
เรื่องที่ ๓
ในแต่ ละผลการเรียนรู้
จัดอยู่ในDomainใด
และระดับใด
ปัญญา
จิตพิสัย
ทักษะ/
กระบวนการ
กระบวนการทางปั ญญา
(Cognitive Process)
1
2
3
4
5
6
Remembering จา
Understanding เข้ าใจ
Applying
ประยุกต์ ใช้
Analyzing
วิเคราะห์
Evaluating
ประเมินค่ า
Creating
คิดสร้ างสรรค์
Remembering จา
Remembering
Recalling information
Recognising, listing, describing, retrieving, naming, finding
จาได้ ระบุ
เล่ าเหตุการณ์
บอกได้ ว่า
ระลึก เขียนรายการ ท่ องบทความ บทกวี สู ตรคูณ
Understanding เข้ าใจ
Understanding
Explaining ideas or concepts
Interpreting, summarising, paraphrasing, classifying, explaining
แปลความหมาย อธิบาย นาเสนอ
ถอดความ
ยกตัวอย่ าง วาดภาพประกอบ จัดกลุ่ม จัดประเภท
จัดหมวดหมู่ ย่ อความ ลงความเห็น สรุป สรุปอ้ างอิง
เติมคา ทานาย เปรียบเทียบ จับคู่ แสดงแผนผัง
Applying
ประยุกต์ ใช้
Applying
Using information in another familiar situation
Implementing, carrying out, using, executing
นาไปใช้ ดาเนินการ
เขียนสรุปรายงาน
เขียนเอกสาร
Analyzing
วิเคราะห์
Analyzing
Breaking information into parts to explore understandings and
relationships
Comparing, organising, deconstructing, interrogating, finding
จาแนก บอกความแตกต่ าง คัดเลือก บอกจุดเน้ นจุดสาคัญ
สรุปความ ปะติดปะต่ อเรื่องราว สร้ างตารางนาเสนอ
เขียนแผนภาพแสดงความสั มพันธ์ ของเรื่องราว
หาลักษณะสิ่ งทีเ่ หมือน เขียนชีวประวัตบิ ุคคลทีส่ นใจ
Evaluating
ประเมินค่ า
Evaluating
Justifying a decision or course of action
Checking, hypothesising, critiquing, experimenting, judging
ตรวจสอบหาความสอดคล้ อง หรือข้ อขัดแย้ งภายใน
กระบวนการหรือผลผลิต ค้ นหา ทดสอบ เขียนข้ อเสนอแนะ
เพือ่ ปรับปรุง เปลีย่ นแปลง
วิจารณ์ ความไม่ สอดคล้ องระหว่ างผลผลิตกับเกณฑ์ ค้ นหา
ความเหมาะสมของกระบวนการทีม่ ปี ัญหา ตัดสิ นวิธีการหรือ
ทางเลือกทีจ่ ะช่ วยแก้ ปัญหาได้ ดที สี่ ุ ด
Creating
คิดสร้ างสรรค์
Creating
Generating new ideas, products, or ways of viewing things
Designing, constructing, planning, producing, inventing.
สร้ างทางเลือก ตั้งสมมติฐาน ออกแบบ วางแผนการ
ดาเนินงาน เขียนบทละคร นาเสนอแนวคิดใหม่ ๆ
ประดิษฐ์ ชิ้นงานทีน่ ่ าสนใจ
Affective Domain
5. สร้ างลักษณะนิสัย
1. สร้ างข้ อสรุ ป
2. กิจนิสัย
4. จัดระบบ
1. สร้ างระบบคุณค่ า –เข้ ากลุ่มร่ วมสร้ าง
2.
จั
ด
ระบบค่
า
นิ
ย
ม
–สร้
า
งกฎเกณฑ์
,
3. เห็นคุณค่ า
1. เชื่อ/ยอมรับในคุณค่ า
2. ชื่นชม นิยมในคุณค่ า
2. ตอบสนอง 3. เชื่อมั่น แน่ วแน่ ศรัทธา(โต้ แย้ ง/ขัดขวาง)
1. ยอมรับ/ปฏิบัตติ าม
2. ปฏิบัตติ ามด้ วยความสมัครใจ
1. รับรู้ 3. เต็มใจพอใจต่ อการปฏิบัติ
1. รู้สึก/สานึกรู้
2. ตัง้ ใจรับรู้
3. เลือกรับรู้เฉพาะเจาะจง
ทางานอย่ างมีทกั ษะทีซ่ ับซ้ อนในรู ปแบบการกระทาอย่ าง
สร้ างสรรค์ แนวใหม่
ทางานอย่ างอัตโนมัติ มีประสิ ทธิภาพ ไม่ ลงั เล แสดงได้ อย่ าง
ถูกต้ อง รวดเร็ว มีพลัง
ทางานโดยใช้ ทกั ษะทีซ่ ับซ้ อน จนเกิดการเรียนรู้
กลายเป็ นนิสัย ทางานอย่ างมั่นใจ
ทางานโดยใช้ ทักษะทีซ่ ับซ้ อน
ทักษะ/
กระบวนการ
เลียนแบบ แต่ มีข้อผิดพลาด
พร้ อมทีจ่ ะลงมือกระทา
สามารถใช้ ประสาทสั มผัสเลือกในการกระทา
ตารางการจัดทารายวิชาเพิม่ เติม
ผลการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้
๑.
*
๒,
*
๓.
*
๔.
*
๕.
*
คาอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม
ท๑๔๒๐๑ วรรณกรรมท้ องถิ่น
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
เนือ้ หาสาระการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
๑. ............................................................................
๒ .............................................................................
๓. ............................................................................
ฯลฯ
รวมทั้งหมด ......... ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
ตัวอย่ างที่ ๑ โครงสร้ างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา
เวลาเรียน
ระดับประถมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม
 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
o
ประวัติศาสตร์
o
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
o
หน้ าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการ
ดาเนินชีวติ ในสังคม
o
เศรษฐศาสตร์
o
ภูมิศาสตร์
สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาษาต่ างประเทศ
รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน)
ป. ๑
ป. ๒
ป. ๓
ป. ๔
ป. ๕
ป. ๖
๒๐๐
๒๐๐
๘๐
๑๒๐
๒๐๐
๒๐๐
๘๐
๑๒๐
๒๐๐
๒๐๐
๘๐
๑๒๐
๑๖๐
๑๖๐
๘๐
๑๒๐
๑๖๐
๑๖๐
๘๐
๑๒๐
๑๖๐
๑๖๐
๘๐
๑๒๐
(๔๐)
(๔๐)
(๔๐)
(๔๐)
(๔๐)
(๔๐)
(๘๐)
(๘๐)
(๘๐)
(๘๐)
(๘๐)
(๘๐)
๘๐
๘๐
๔๐
๔๐
๘๐
๘๐
๔๐
๔๐
๘๐
๘๐
๔๐
๔๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๐
๘๔๐
๘๔๐
๘๔๐
๘๔๐
๘๔๐
๘๔๐

ปี ละ ๔๐ ชั่วโมง
รายวิชา / กิจกรรม ทีส่ ถานศึกษา
จัดเพิม่ เติม ตามความพร้ อมและ
จุดเน้ น

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
o กิจกรรมแนะแนว
o กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ/ยุวกาชาด
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
- ชุมนุม
o กิจกรรมเพือ่ สังคมและ
สาธารณประโยชน์
รวมเวลา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
รวมเวลาทั้งหมด
ไม่ เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง
หมายเหตุ ให้ โรงเรี ยนระบุเวลาเรี ยนตามทีโ่ รงเรี ยนกาหนด
ไม่ เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม
 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
o
ประวัติศาสตร์
o ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
o
หน้ าทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และ
การดาเนินชีวติ ในสั งคม
o
ภูมิศาสตร์
o
เศรษฐศาสตร์
สุ ขศึกษาและพลศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพและ เทคโนโลยี
ภาษาต่ างประเทศ
รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน)
เวลาเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น
ม. ๑
ม. ๒
ม. ๓
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ม. ๔ – ๖
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๒๔๐ (๖ นก.)
๒๔๐ (๖ นก.)
๒๔๐ (๖ นก.)
๑๖๐ (๔ นก.)
๔๐ (๑ นก.)
๑๖๐ (๔ นก.)
๔๐ (๑ นก.)
๑๖๐ (๔ นก.)
๔๐ (๑ นก.)
๓๒๐ (๘ นก.)
๘๐ (๒ นก.)
๑๒๐ (๓นก.)
๑๒๐ (๓นก.)
๑๒๐ (๓นก.)
๒๔๐ (๖นก.)
๘๐ (๒นก.)
๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
๘๐ (๒นก.)
๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
๒๔๐ (๖ นก.)
๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.)
๑,๖๔๐ (๔๑ นก.)
 รายวิชาเพิม่ เติม
ปี ละไม่ เกิน ๒๐๐ ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ๑,๖๐๐ชั่วโมง
 กิจกรรมพัฒนาผ้ เู รี ยน
o กิจกรรมแนะแนว
o กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ ยุวกาชาดฯ
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๓๖๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๓๖๐
- ชุมนุม
o กิจกรรมเพือ่ สังคมและ
สาธารณประโยชน์
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
รวมเวลาเรียนทั้งหมด
ไม่ เกิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี
หมายเหตุ ให้ โรงเรียนระบุเวลาเรี ยนตามทีโ่ รงเรี ยนกาหนด
รวม ๓ ปี ไม่ น้อยกว่ า
๓,๖๐๐ ชั่วโมง
ไตรรงค์ เจนการ 081-7058686
(อาจารย์ ปู่)
[email protected]
กรุ งเทพ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๓