การถอดบทเรียน/ถอดรหัสหรือวิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจาก
Download
Report
Transcript การถอดบทเรียน/ถอดรหัสหรือวิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจาก
การพัฒนาสถานศึกษาการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ และบริหารจัดการ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
โดย...วิลาวัลย์ จุดโต
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง.........
เป็ นพระบรมราโชวาททีพ่ ระบาทสมเด็จพระ
เจ้ าอยู่หัวพระราชทานให้ คนไทยตั้งแต่ ปี 2517 นาน
กว่ า 30 ปี มาแล้ ว ซึ่งแนวทางในการดาเนินชีวติ
และแนวทางการพัฒนาทีต่ ้งั อยู่บนพืน้ ฐานทางสาย
กลาง
ปี 2540 เกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ประเทศ
ไทยจึงได้ บทเรียนจากการพัฒนาทีไ่ ม่ สมดุลส่ งผล
กระทบต่ อความเป็ นอยู่ของประชาชนในวงกว้ าง
รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 วรรค 1 กาหนดให้ รัฐบาล
ต้ องบริหารราชการแผ่ นดิน ให้ เป็ นไปเพือ่ การพัฒนา
สั งคม เศรษฐกิจ และความมัน่ คงของประเทศอย่ างยั่งยืน
โดยต้ องส่ งเสริมการดาเนินการตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึงผลประโยชน์ ของ
ประเทศชาติโดยรวมเป็ นสาคัญ
มาตรา 83 รัฐต้ องส่ งเสริมและสนับสนุนให้ มีการ
ดาเนินการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร
หลักคิดที่ค่ ูกับหลักปฏิบัตใิ นการดาเนินชีวิต
โดยใช้ ทางสายกลาง
ใช้ ในทุกมิตขิ องชีวิตตัง้ แต่ ต่ นื นอนจนกระทั่ง
เข้ านอน
องค์ ประกอบหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 ห่วง (พอประมาณ มีเหตุผล และการมีภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี)
ความพอประมาณ กับปัจจัยภายในคือเหมาะกับสภาพตนเองและ
ปัจจัยภายนอกคือพอควรกับภูมิสงั คม
ความมีเหตุผล รู ้สาเหตุ (ทาไม เมื่อไร เท่าไร) พร้อมทั้งรู ้ปัจจัยที่
เกี่ยวข้อง ได้แก่ วิชาการ กฎหมาย ความเชื่อและประเพณี
การมีภูมิคุ้มกันในตัวทีด่ ี คือรู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
พร้อมเตรี ยมรับการเปลี่ยนแปลง การวางแผนอย่างรอบคอบ
2 เงือ่ นไข (เงือ่ นไขความรู้ และเงือ่ นคุณธรรม)
เงือ่ นไขความรู้ รู้ในเรื่ องที่จะทา รอบรู้
รอบคอบ ระมัดระวัง
เงือ่ นไขคุณธรรม คือการกระทาที่จะทาให้งาน
สาเร็ จ โดยไม่ทาให้ตนเองหรื อผูอ้ ื่นเดือดร้อน
แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปปรับใช้ ในโรงเรียน
1.ด้ านการบริหารจัดการ
1.1 กาหนดเป็ นนโยบาย
- วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ แผนปฏิบัติ
- งานวิชาการ งบประมาณ บุคคล บริหารทัว่ ไป
ชุมชนสั มพันธ์
- นาหลักการทรงงาน มาปรับใช้ ในการบริหาร
สถานศึกษา
- เน้ นการบริหารทรัพยากรตามหลัก ปศพ.
การมีส่วนร่ วม รู้ รักสามัคคี ไม่ ประมาท
2.ด้ านหลักสู ตรและการจัดการเรียนรู้
สอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ตามมาตรฐาน
ส 3.1 เพือ่ ให้ นักเรียนมีความรู้ ความเข้ าใจทีถ่ ูกต้ องและ
สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ ใช้ ได้ จัดทารายวิชาเพิม่ เติม /หลักสู ตรท้ องถิ่นที่
สอดคล้ องกับสภาพ และความต้ องการ โดยใช้ หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์ เพือ่ กาหนด
รายวิชา
การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
ชั้นป.1 – 3 เป็ นความพอเพียงระดับตนเองและ
ครอบครัว
ชั้นป.4 – 6 เป็ นความพอเพียงระดับโรงเรี ยน
ชั้น ม.1 – 3 เป็ นความพอเพียงระดับชุมชน/
จังหวัด
ชั้น ม.4 – 6 เป็ นความพอเพียงระดับประเทศ
ภายใต้ยคุ โลกาภิวฒั น์
การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จัดทาได้ 2 ลักษณะคือ
1.สอดแทรกหรือบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงลงในแผนการจัดการเรียนรู้ ปกติ ในทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้
2.จัดทาหน่ วยการเรียนรู้ ใหม่ หรือรายวิชาเพิม่ เติมใหม่
3.บูรณาการแบบสหวิชา
3.ด้ านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
3.1การแนะแนวและระบบดูแลช่ วยเหลือ
นักเรียน
3.2 กิจกรรมนักเรียน
3.3 กิจกรรมเพือ่ สั งคมและสาธารณประโยชน์
4.ด้ านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา
4.1พัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เช่น มีโครงการในแผนปฏิบตั ิการประจาปี ลลล
4.2 การติดตามและขยายผล เช่น การนิเทศ
ภายใน พัฒนาต่อยอด ลลล
5.ผลลัพธ์ /ภาพความสาเร็จ
5.1 สถานศึกษา
5.2 ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
5.3 บุคลากรของสถานศึกษา
5.4 นักเรี ยน
การถอดบทเรียน/ถอดรหัสหรือวิเคราะห์ หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากกิจกรรม/โครงการ
ในสถานศึกษาในแผนปฏิบัติการฯ, แผนการจัดการ
เรียนรู้ ,กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน, ฯลฯ
ก่ อนจะเกิด 3 ห่ วงได้ จะต้ องมี 2 เงือ่ นไขก่ อน
เงื่อนไขคุณธรรมกากับความรู ้
เงื่อนไขความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง
3 ห่ วง
ความพอประมาณ เช่น ความพอเหมาะ พอควรกับ
ศักยภาพของครู นักเรี ยน ลลล
ความมีเหตุผล เช่นทาไมจึงทา ทาทาไม เทียบได้กบั
วัตถุประสงค์ของโครงการและกิจกรรม
การมีภูมิคุ้มกันในตัวทีด่ ี คือการรู้เท่าทันและพร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลง การวางแผนเป็ นขั้นเป็ นตอน ความรอบคอบ
ระมัดระวัง การคาดเดาสิ่ งที่จะเกิดขึ้นและเตรี ยมพร้อมไว้
ล่วงหน้าเพื่อแก้ปัญหา
นาสู่ สมดุล 4 มิติ
1.มิตดิ ้ านเศรษฐกิจหรือวัตถุ
2.มิติด้านสั งคม
3.มิติด้านวัฒนธรรม
4.มิติด้านสิ่ งแวดล้ อม
และพร้ อมรับการเปลีย่ นแปลง
ตัวอย่ างการถอดบทเรียน
หรื อวิเคราะห์ หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงกับพฤติกรรมใน
ชีวิตประจาวันหรื อกิจกรรมและ
โครงการในโรงเรียน
สวัสดีค่ะ