หลักการพัฒนา ตามพระราชดำริ (ต่อ)

Download Report

Transcript หลักการพัฒนา ตามพระราชดำริ (ต่อ)

บัญชีกบั การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร
ตามพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
โดย นางสาวพีรรัตน์ อังกุรรัต
อดีตอธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ที่ปรึกษางานโครงการตามพระราชดาริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
หลักการพัฒนา ตามพระราชดาริ
1. เป้าหมายสู งสุ ด
เด็กและเยาวชนมีโภชนาการดี สุ ขภาพแข็งแรง ใฝ่ เรี ยนรู้ ซื่ อสัตย์ ประหยัด และ
อดทน มีความรู ้และทักษะทางวิชาการและการอาชีพ เพื่อเป็ นพื้นฐานของการ
ดารงชีวิต รักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ ภาคภูมิใจในวัฒนธรรมท้องถิ่น
และความเป็ นไทย และมีส่วนร่ วมในการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติได้
2. “คน” เป็ นศูนย์ กลางการพัฒนา
3. ใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน (School Based)
4. การพัฒนาอย่ างองค์ รวม (Holistic Approach)
หลักการพัฒนา ตามพระราชดาริ (ต่อ)
5. ความสมดุลในการพัฒนาทั้ง 6 องค์ ประกอบ
6. แต่ ละองค์ ประกอบ ประกอบด้ วยโครงการต่ าง ๆ โดยมีหน่ วยงาน
มืออาชีพร่ วมกับโรงเรียนและหน่ วยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้ อง จัดทาเป็ น
กระบวนการทางาน ให้ องค์ ประกอบนั้น ๆ ประสบผลสาเร็จ
7. การบริหารแบบมีส่วนร่ วม ด้ วยการบูรณาการ (Integration)
การดาเนินงานของหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้ อง ทุกภาคส่ วน
8. สสท. เป็ นหน่ วยงาน ดาเนินการบูรณาการ และประสานงาน
ตามพระราชดาริ
บัญชี เป็ นเครื่องมือหนึ่ง
ในการพัฒนากลุ่มเป้าหมายตามพระราชดาริ
กตส. ได้เข้ามาสนองงานตามพระราชดาริ เมื่อเดือนตุลาคม 2540
 ร่วมปฏิบตั งิ านในการวางระบบบัญชี และให้ความรูก้ ารบัญชีที่เหมาะสมแก่
ครูและนักเรียนในองค์ประกอบด้านการส่งเสริมการอาชีพ ด้วยโครงการส่งเสริม
สหกรณ์ (เริม่ ปี พ.ศ.2534)
 ต่อมาทรงให้ขยายไปสูอ่ งค์ประกอบด้านโภชนาการและสุขภาพอนามัย ด้วย
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน (เริม่ ปี พ.ศ.2523) โดยการพัฒนาโรงเรียน
ให้สามารถจัดการเรียนการสอน การทาบัญชีฟาร์ม
 หลังจากนั้น ทรงมีพระราชดาริให้นกั เรียน เรียนรูก้ ารทาบัญชีรบั – จ่าย
ส่วนตัว พร้อมทั้งการส่งเสริมให้ครัวเรือนในชุมชน ทาบัญชีครัวเรือนและบัญชี
ประกอบการงานอาชีพของตนเองได้ ด้วยการเรียนรูจ้ ากบุตรหลาน และจาก
โรงเรียน
บัญชี เป็ นเครื่องมือหนึ่ง
ในการพัฒนากลุ่มเป้าหมายตามพระราชดาริ
“บัญชี” ทาไม?
• บัญชีช่วยพัฒนาอุปนิสัยของคน ให้ ร้ ู จักค่ าของเงิน ใช้ เงินอย่ างคุ้มค่ า ให้ ร้ ู จัก
การออม มีความซื่อสั ตย์ มีวนิ ัยทางการเงิน มีความละเอียดถี่ถ้วน มีความเพียร
พยายาม
• บัญชีช่วยพัฒนาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย และอืน่ ๆ
• บัญชีช่วยให้ คนรู้ จักการวิเคราะห์ การเงินการบัญชีของตนเอง ครอบครัว และ
พัฒนาอาชีพด้ วยการทาบัญชีรับ – จ่ าย ส่ วนตัว บัญชีครัวเรือนและบัญชี
ประกอบการอาชีพ ทีจ่ ะช่ วยให้ การพัฒนาตนเอง ครอบครัว และอาชีพให้ เจริญ
อย่างยัง่ ยืน
ผลการพัฒนาการจัดการเรียนรูก้ ารทาบัญชี
ในโรงเรียน ตามพระราชดาริที่ผ่านมา
400 โรงเรียน ได้ จัดการเรียนการสอน การทาบัญชีกจิ กรรมสหกรณ์ ปรากฏผล : • โรงเรียนร้ อยละ 80 สามารถสอนสาระการเรียนรู้ การจัดทาเอกสารประกอบ การบันทึก
การทาบัญชี การทาบัญชีรับ – จ่ าย การทาบัญชีย่อย และนาข้ อมูลทางบัญชีไปใช้ ในการประชุ มได้
• โรงเรียนร้ อยละ 44.53 สามารถสอนการจัดทางบการเงิน (บัญชีกาไร – ขาดทุน และงบดุล) ได้
- โรงเรียนร้ อยละ 91.50 หรือ 366 โรงเรียน ได้ จัดการเรียนการสอนการทาบัญชีฟาร์ ม
ปรากฏผล :• โรงเรียนร้ อยละ 48.36 สามารถสอนการทาบัญชีฟาร์ มได้ ทุกกิจกรรมการเกษตร
• โรงเรียนร้ อยละ 6.28 ทาการสอนการทาบัญชีฟาร์ มได้ เพียงบางกิจกรรม
• โรงเรียนร้ อยละ 45.36 ยังไม่ ได้ สอนการทาบัญชีฟาร์ ม
ผลที่คาดหวัง (Targets) ในการจัดการเรียนรูก้ ารทาบัญชี
ในโรงเรียนตามพระราชดาริ : 1. การพัฒนาศักยภาพของครู ครู สามารถทาการสอนการทาบัญชีกิจกรรมสหกรณ์นกั เรี ยน
และการทาบัญชีฟาร์มแก่นกั เรี ยนได้ทุกสาระการเรี ยนรู ้ อย่างมีประสิ ทธิภาพ และมีคุณภาพ
อย่างต่อเนื่อง
2. การพัฒนาคุณภาพของนักเรียน
• นักเรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจ ทฤษฎีการบัญชีอย่างง่าย
• นักเรี ยนสามารถคิดตามจนสามารถตระหนักรู้ถึงความสาคัญของการบัญชี
ประโยชน์ของการทาบัญชี
• นักเรี ยนสามารถเชื่อมโยงความรู ้การบัญชีเข้ากับภาคปฏิบตั ิ
• นักเรี ยนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ได้แก่ ความซื่อสัตย์ มีวนิ ยั ทางการเงิน
มีการประหยัดการออม เป็ นคนมีน้ าใจช่วยให้เพื่อนทาบัญชีได้ ฯลฯ
3. ผลกระทบ (Impact) เกิดผลกระทบที่ดี ในการส่ งเสริ มการทาบัญชีครัวเรื อนและบัญชี
ประกอบการอาชีพ ทั้งครัวเรื อนของนักเรี ยน และประชาชนในชุมชน
แนวทางพัฒนาที่จะบรรลุผลที่คาดหวัง
• ยกระดับความสามารถของครูสอนการทาบัญชีให้ สูงขึน้
• สร้ างทัศนคติทดี่ ีในการเรียนทาบัญชี
• การวัดผล ประเมินผลที่นักเรียนได้ รับในระดับผลผลิต (Output)
ข้อเสนอแนะ
กตส. ควรตั้งคณะทางานกาหนดผลงานหลักที่ต้องประเมิน กาหนดตัวชี้วัด วิ ธีการประเมิน
ก าหนดเกณฑ์ ก ารประเมิน และท าการประเมิน แล้ วรายงานผลการประเมิน ต่ อ ผู้ บ ริ หาร
เพื่ อ การพั ฒ นาการเรี ย นรู้ การท าบั ญ ชี ใ นโรงเรี ย น ให้ ทราบว่ า มี จุ ด อ่ อ นตรงไหน ?
ทีค่ วรติดตาม และทาการนิเทศ ช่ วยให้ ทาการปรับปรุ งแก้ ไขได้ อย่ างถูกจุด และทันเวลา