แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ

Download Report

Transcript แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ

การที่ประเทศหนึ่ งได้เคลื่อนย้ายทุนจากประเทศของตน
ไปลงทุนในอีกประเทศหนึ่ ง โดยคาดว่าจะได้รบั
ผลตอบแทนที่สูงกว่าในประเทศของตน
Investment) หมายถึง การ
เคลื่อนย้ายทุนจากประเทศหนึ่ งไปยังอีกประเทศหนึ่ ง โดยเจ้าของทุนยังมี
อานาจในการดูแลกิจการที่ตนเองเป็ นเจ้าของ
 การลงทุนโดยตรง (Direct
Investment or
portfolio Investment) หมายถึง การลงทุนในรูปการซื้อขาย
ตราสารทุน ตราสารหนี้ ทัง้ ในรูปพันธบัตร ตัวเงิ
๋ น ในต่างประเทศ รวมทัง้ การกู ้
เงินจากต่างประเทศทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดยผูล้ งทุนจะไม่มีอานาจใน
การบริหารจัดการหรือควบคุมดูแลกิจการนั้นๆ
 การลงทุนโดยอ้อม (Indirect
 การลงทุนใหม่ (Greenfield
investment) ที่
นาเข้าจากต่างประเทศ
 การลงทุนที่เป็ นผลกาไรซึ่งนากลับมาลงทุนต่อ (Re-
invested earnings) เป็ นการนากาไรจากผล
ประกอบการมาลงทุนเพิ่มในประเทศผูร้ บั การลงทุน (host
country)
 การลงทุนโดยการกูย้ มื เงินจากบริษทั ในเครือ (Intra-
company loans) เป็ นการกูย้ มื เงินจากบริษทั แม่ใน
ประเทศผูล้ งทุนให้แก่บริษทั ในเครือในประเทศ
 การลงทุนโดยการควบรวมกิจการและการเข้าไปถือสิทธิ
(Mergers and acquisitions) เป็ นการควบ
รวมกิจการของบริษทั ต่างประเทศ
 การลงทุนรูปแบบอืน
่ (Non-equity
FDI)
forms of
1.
การลงทุนในลักษณะของการได้รบั สัมปทาน หรือได้รบั การอนุ ญาต
ให้ใช้ทรัพย์สนิ ทางปัญญา (Licensing)
2.
การอนุ ญาตให้กจิ การท้องถิ่นดาเนิ นธุรกิจในฐานะผูแ้ ทนจาหน่ าย
(Franchising)
 นโยบายการลงทุนที่ผูล้ งทุนหรือเจ้าของทุนในประเทศหนึ่ งไปลงทุน
หรือประกอบกิจการลงทุนในอีกประเทศหนึ่ ง
1.
ผูล้ งทุนหรือบริษทั อเมริกนั มาตัง้ โรงงานผลิตเครือ่ งใช้ไฟฟ้ าใน
ประเทศไทย
2.
กรณี คนไทยหรือบริษทั ไทยไปลงทุนผลิตอาหารสัตว์ในประเทศ
อินโดนี เซีย
 การชักจูงและเร่งรัดให้มีการลงทุนเกิดขึ้น แต่ในปัจจุบนั
ประเทศกาลังพัฒนาทัง้ หลายต่างก็พยายามส่งเสริมให้เกิดการ
ลงทุนในประเทศของตนให้มากที่สุด จนในที่สุดก็เกิดการ
แข่งขันในการให้สทิ ธิและประโยชน์ต่างๆ ที่แต่ละประเทศเห็น
ว่า เป็ นจุดดึงดูดให้นกั ลงทุนตัดสินใจลงทุนในประเทศของตน
 มาตรการทางกฎหมาย
ได้แก่ วิธีการที่รฐั อาศัยอานาจนิ ติ
บัญญัตอิ อกกฎหมายให้สทิ ธิพเิ ศษให้หลักประกัน การ
คุม้ ครอง ตลอดจนการผ่อนผันและยกเว้นหลักกฎหมายอืน่ ๆ
วิธกี ารเหล่านี้ รวมเรียกว่า การให้สง่ิ จูงใจทางกฎหมาย
(Legal Incentives) หรือตามกฎหมายไทย
เรียกว่า สิทธิและประโยชน์
 มาตรการที่มิใช่กฎหมาย
ได้แก่ การปรับปรุงภาวะเศรษฐกิจ
การเมือง และสิง่ อานวยความสะดวกพื้นฐาน เช่น การ
คมนาคม การขนส่ง สือ่ สาร ท่าเรือ ให้เหมาะสมเป็ นที่ดึงดูด
ต่อผูล้ งทุน
 ความสามารถในการชาระคืนหนี้ เงิน และดอกเบี้ยได้ตรงตาม
กาหนดเวลา
 ระดับเครดิต จะถูกกาหนดขึ้นโดยอาศัยปัจจัยหลัก 2 ประการ คือ
ปัจจัยทางเศรษฐกิจ คือความสามารถทางการเงินในการชาระคืน
หนี้ เงินต้น และดอกเบี้ย
ปัจจัยทางการเมือง คือความเต็มใจในการชาระคืนหนี้ เมือ่ ถึง
กาหนดชาระคืน
 ระบบการเมือง ซึ่งได้แก่โครงสร้างและความเป็ นมาของระบบ
การเมือง ผูน้ าของสถาบันการเมือง
 สภาพแวดล้อมของสังคม เช่น อัตราการเจริญเติบโตของประชากร
การกระจายการอยู่อาศัยของประชากรในแต่ละถิ่น ความกลมเกลียว
ของประชากร
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เช่น ความมัน่ คงของประเทศจากการ
รุกราน ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ
 ความเสีย่ งทางเศรษฐกิจนั้นจะหมายถึงการศึกษาความสามารถของประเทศ
ในการใช้หนี้ ที่มีอยู่ และที่จะก่อขึ้นใหม่
ภาระหนี้ ซึ่งดูได้จากสัดส่วนของหนี้ ต่างประเทศ และการชาระหนี้ ในแต่ละปี
เปรียบเทียบกับดุลการเงิน ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติภายในประเทศ
(GDP) และรายได้จากการส่งออก
สภาพคล่องระหว่างประเทศ เช่น เงินสดสารองระหว่างประเทศ ปริมาณนาเข้า
สินค้า ความสามารถในการหาเงินกู ้ ระบบธนาคารและการเงิน
ภายในประเทศ
 ความสามารถในการปรับปรุงดุลการเงิน
 โครงสร้างของเศรษฐกิจ ที่จะมีผลต่อความสามารถในการชาระหนี้
 การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ อัตราการเจริญเติบโตของการลงทุน
อัตราการเจริญเติบโตของการผลิตที่แท้จริงในแต่ละภาคของ
เศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาคการส่งออก
 การบริหารเศรษฐกิจ เนื่ องจากการบริหารมีผลกระทบต่อปัจจัย
เศรษฐกิจต่างๆ
 การจ้างงาน
 การแย่งแหล่งเงินทุนจากนักลงทุนท้องถิ่น
 การแข่งขันกับนักลงทุนในท้องถิ่น
 การถ่ายทอดเทคโนโลยี
 ปัญหาดุลการค้า และดุลการชาระเงิน การลงทุนจากต่างชาติ
 ภาวการณ์ผนั ผวนทางเศรษฐกิจและการเมือง

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1-2 (1961-1971) มุ่งเน้นที่จะ
เร่งรัด

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยการพัฒนาอุตสาหกรรมและส่งเสริมการลงทุน
ภาคเอกชนเป็ นพิเศษ

ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การคมนาคมขนส่ง
การพลังงาน และการชลประทาน ฯลฯ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3-4 (1972-1981)
เน้นส่งเสริมการส่งออก เงินลงทุนจากต่างประเทศขยายตัวเพิม่ ขึ้น

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 (1982-1986)
เน้นการพัฒนาเชิงรุก เร่งพัฒนาพื้นที่ชายฝัง่ ทะเลภาคตะวันออกให้เป็ นที่ตง้ั
อุตสาหกรรมหนัก อุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมเพือ่ การส่งออก

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 (1987-1991) เป็ นช่วงที่
เศรษฐกิจขยายตัวสูงเป็นประวัตกิ ารณ์ ทัง้ นี้ เป็นผลจากปัจจัยที่เอื้ออานวยทัง้ ภายใน
และภายนอกประเทศ3 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศเพิม่ สูงขึ้นมาก

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7-8 (1992-2001) ในช่วงแผนฯ 7
(1992-1996) ยังคงเป็ นช่วงที่เศรษฐกิจ และการส่งออกขยายตัวสูงอย่างต่อเนื่ อง
โดยเฉพาะในช่วงปี 1994-1995 จากนโยบายเร่งรัดส่งเสริมการส่งออกอย่าง
ต่อเนื่ อง ทาให้การวางแผนฯ 8 ได้เน้นการให้ความสาคัญกับการพัฒนาคนเป็ น
หลัก

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (2002-2006) ยุทธศาสตร์ใน
แผนฯ 9 ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจที่สาคัญ คือ การปรับโครงสร้างทาง
เศรษฐกิจให้เข้าสูส่ มดุลและยัง่ ยืน

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 เป็ นยุทธศาสตร์การพัฒนา
ประเทศที่ยงั คงยึดแนวปฏิบตั ติ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีคนเป็ น
ศูนย์กลางการพัฒนา กาหนดวิสยั ทัศน์และเป้ าประสงค์หลักให้ม่งุ สู่ “สังคมอยู่เย็น
เป็ นสุขร่วมกัน” เพือ่ สร้างความแข็งแกร่งของโครงสร้างต่างๆภายในประเทศ
สามารถแข่งขันได้ภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ปรับโครงสร้างการผลิตและกระตุน้ ให้เกิดการลงทุน
 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาการค้าให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็ นธรรม และสร้าง
ประสิทธิภาพกลไกการตลาด เพือ่ เสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร
 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาระบบตลาดและขยายช่องทางการค้า
 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 เพิม่ ขีดความสามารถในการปรับตัวและการแข่งขันของ
ผูป้ ระกอบการทุก
 ระดับ โดยเฉพาะ SMEs

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 สนับสนุ นให้องค์ประกอบทางการค้าเอื้อต่อความสามารถในการ
แข่งขัน
 ยุทธศาสตร์ท่ี 6 เสริมสร้างพาณิ ชย์ภมู ิปญ
ั ญา
 ยุทธศาสตร์ท่ี 7 ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการค้าภูมิภาคและค้าชายแดน
 ยุทธศาสตร์ท่ี 8 พัฒนาการค้าระหว่างประเทศของไทยให้กา้ วหน้า
 ยุทธศาสตร์ท่ี 9 สร้างภูมิคมุ ้ กันด้านการค้าจากผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม และ
วิกฤตภาวะโลกร้อน
 ยุทธศาสตร์ท่ี 10 รองรับและใช้ประโยชน์การเข้าสูก่ ารเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC)
เพือ่ เพิม่ การส่งออก (Export expansion)
 เพือ่ หาแหล่งเงินทุน และแหล่งออกไปลงทุน (Investment inflow
and outflow)
 เพือ่ หาแหล่งวัตถุดิบ เพือ่ ลดต้นทุน (Resource-seeking)
 เพือ่ หาแนวทางพัฒนาบุคลากร และเทคโนโลยี (Human Resource
& Technology Development)
 หาแนวทางการใช้ประโยชน์จากความตกลงต่าง ๆ ให้ได้มากที่สดุ ทัง้ WTO,
ASEAN, FTA และการเจรจาอนุ ภมู ิภาคต่างๆ โดยเฉพาะเวที
ASEAN

1.
การเจรจาระดับพหุภาคี เช่น WTO – เน้นการสร้างกฎเกณฑ์ทางการค้าที่เป็ น
ธรรม
2.
การเจรจาระดับภูมิภาค เช่น อาเซียน – เน้นการขยายตลาดส่งออก หาวัตถุดิบ
และสร้างอานาจการต่อรอง (Bargaining Power) กับภูมิภาคอืน่ ๆ
3.
การเจรจาระดับทวิภาคี เช่น FTA – เน้นการรักษาส่วนแบ่งในตลาดเดิม และ
ขยายตลาดส่งออกไปยังตลาดใหม่ ๆ เช่น รัสเซีย แอฟริกาใต้

ประเทศไทยประสบความสาเร็จพอสมควรในการส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศการ
ส่งออกและการนาเข้าของไทย (ในรูปเงินดอลลาร์สหรัฐ)
ปี 1995-2005 มูลค่าการส่งออก (Export) ขยายตัว 7 % ต่อปี ขณะที่มูลค่าการ
นาเข้า(Import) เพิม่ ขึ้น 5 %ต่อปี
ปี 2004-2005 ราคาน้ ามันในตลาดโลกที่เพิม่ ขึ้นอย่างรุนแรง ส่งผลให้ประเทศไทยขาด
ดุลการค้าเป็นครัง้ แรกนับจากวิกฤตเศรษฐกิจปี 1997
1.
การส่งออกที่พง่ึ พาการนาเข้าสูง (Import Content อยู่ในระดับที่สูง)
2.
ความสามารถในการเพิม่ มูลค่าของการส่งออกในห่วงโซ่อปุ ทาน (Supply Chain)
ยังอยู่ในระดับค่อนข้างตา่
3.
การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) ในสินค้าส่งออกยังอยู่ในระดับตา่
ประเทศไทยยังไม่มีจุดมุ่งเน้น (Focus) ของการส่งออก จึงเผชิญการแข่งขันใน
ระดับที่สูง ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นการแข่งขันด้านราคา (Price-Based Competition)

ปี 1990-1995 ญี่ปนุ่ จะเป็ นประเทศหลักในการลงทุน FDI

ปี 1995-2000 FDI กระจายจากหลายประเทศ เช่น อเมริกาและกลุม่ ประเทศ EU

ปี 2000-2004 สัดส่วนเงินลงทุนโดยตรงที่มาจากญี่ปนุ่ และอาเซียนรวมกันสูงถึง
กว่าร้อยละ 80 ของเงินทัง้ หมด ในขณะที่เงินลงทุนโดยตรงจากอเมริกา และ EU
มีสดั ส่วนลดลงอย่างรวดเร็ว
เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นนับตัง้ แต่เริ่มเข้าสูศ่ ตวรรษที่ 21 สะท้อนให้เห็นว่าโลก
กาลังเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่ อง และมี
ผลกระทบรุนแรงถึงขัน้ ที่อาจเรียกได้ว่าเป็ นวิกฤต โดยเริ่มตัง้ แต่วิกฤตเศรษฐกิจ
เอเชีย วิกฤตดอทคอม ฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ การพุง่ ทะยานของราคา
อาหาร วิกฤตการเงินสหรัฐฯ จนถึงวิกฤตการคลังในยุโรป
แนวโน้มการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ (Regional Integration)
2. แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงรสนิ ยมการบริโภค : Shelf Lifeสัน้ ลง
3. แนวโน้มการขาดแคลนทรัพยากร (Resource Scarcity) : ทรัพยากรพลังงาน
และทรัพยากรอาหาร
4. แนวโน้มการเคลื่อนย้ายของทรัพยากรมนุ ษย์ :การแข่งขันกันเพือ่ ดึงดูดแรงงาน
(Labour and Talents) โดยเฉพาะแรงงานที่มีคุณภาพ คือ เป็ นผูม้ ีความรู ้
ความเชี่ยวชาญ
1.
กลุม่ 1: สินค้าส่งออกที่ไทยมีความได้เปรียบสูงทัง้ ในตลาดโลก
และตลาดอาเซียน เช่นRubber และ Motor vehicles
กลุม่ 2 สินค้าส่งออกที่ไทยมีความได้เปรียบในตลาดโลกมากกว่า
ในตลาดอาเซียน เช่นElectronic machines,Electrical
equipment
กลุม่ 3 สินค้าส่งออกที่ไทยมีความได้เปรียบในตลาดอาเซียน
มากกว่าในตลาดโลก เช่น การส่งออกเครื่องดื่ม
กลุม่ 4 สินค้าส่งออกที่ไทยมีความได้เปรียบน้อยกว่าทัง้ ใน
ตลาดโลกและตลาดอาเซียน