ส่วนที่ 2 ระบบบัญชีกับการควบคุมภายใน
Download
Report
Transcript ส่วนที่ 2 ระบบบัญชีกับการควบคุมภายใน
ส่วนที่ 2
ระบบบัญชีกบั การควบคุมภายใน
ความหมายของการควบคุมภายใน
“การควบคุมภายใน”
หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผ้ ูบริหารทุกระดับและ
พนักงานทุกคนในองค์กรกาหนดขึ้นเพื่อให้ องค์กรบรรลุเป้ าหมาย
ความหมายของการควบคุมภายใน
“เป้าหมายขององค์กรทีส่ าคัญ” มีอยู่ 4 ประการ คือ
1. เพื่ อดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น และข้ อมู ล ให้ อยู่ ใ นสถานที่ ท่ี
ปลอดภั ย จากการทุ จ ริ ต ของผู้ บริ ห าร พนั ก งาน หรื อ
บุคคลภายนอก
2. เพื่ อให้ ม่ันใจว่ าการจดบันทึกรายการทางการบัญชี มีความ
ถูกต้ อง เชื่อถือได้ และนาเสนอได้ ทนั เวลา
ความหมายของการควบคุมภายใน
“เป้าหมายขององค์กรทีส่ าคัญ” มีอยู่ 4 ประการ คือ
3. เพื่อสนับสนุนให้ มีการปฏิบัติงานตามนโยบาย และข้ อบังคับ
ของกิจการหรือข้ อกาหนดของกฎหมายอย่างต่อเนื่อง
4. เพื่ อส่ ง เสริ มให้ มี ก ารปฏิ บั ติ ง านในองค์ ก รอย่ างมี
ประสิทธิภาพ
ข้อจากัดของการควบคุมภายใน
“การควบคุมภายใน” ประกอบด้ วยข้ อจากัด 5 ประการ คือ
1. ความบกพร่อง – ความผิดพลาดโดยไม่เจตนา
2. การเจตนาทุจริต
3. ผู้บริหารสั่งให้ ทา
4. ต้ น ทุ น ของการเพิ่ ม มาตรการเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ
ควบคุมภายในมากกว่าผลประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้ รับ
5. การเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี ห รื อ การเปลี่ ย นแปลงใน
กฎหมายอย่างรวดเร็ว
ข้อจากัดของการควบคุมภายใน
1. ความบกพร่อง – ความผิดพลาดโดยไม่เจตนา
เป็ นความบกพร่ องหรือความผิดพลาดในการทางานของ
พนักงานที่เกิดขึ้นได้ ตลอดเวลาของการปฏิบัติงาน อาจเกิดขึ้นใน
ลั ก ษณะของการตั ด สิ น ใจผิ ด พลาด หรื อ การละเลยไม่ ส นใจ
ปฏิบัตงิ านที่ได้ รับมอบหมาย
ข้อจากัดของการควบคุมภายใน
2. การเจตนา
เป็ นการกระทาที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของพนักงานของ
กิจการร่ วมกันแสวงหาผลประโยชน์ให้ ตนเอง โดยการละเลยไม่
ปฏิบัตติ ามข้ อกาหนด หรือนโยบายของกิจการที่กาหนดไว้
ข้อจากัดของการควบคุมภายใน
3. ผูบ้ ริหารสังให้
่ ทา
เป็ นการกระทาที่เกิดจากผู้บริหารบางรายต้ องการแสวงหา
ผลประโยชน์ ให้ ตนเอง เครื อ ญาติ หรื อ บุค คลใกล้ ชิด ทาให้ ไม่
ปฏิบัติตามกฎข้ อบังคับ หรือคาสั่งให้ ผ้ ูใต้ บังคับบัญชากระทาตาม
ข้อจากัดของการควบคุมภายใน
4. ต้นทุนของการเพิ่มมาตรการเพื่อเพิ่มประสิทธิ ภ าพการ
ควบคุมภายในมากกว่าผลประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รบั
ในกรณีท่ตี ้ นทุนที่จะต้ องจ่ายไปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ
การควบคุมภายในมีมากกว่าผลประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้ รับอาจทา
ให้ ผ้ ู บ ริ หารอาจตัดสินใจไม่ เ ลือ กมาตรการชนิดนั้ นเข้ ามาใช้ ใ น
กิจการ
ข้อจากัดของการควบคุมภายใน
5. การเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีหรือการเปลีย่ นแปลงใน
กฎหมายอย่างรวดเร็ว
ทาให้ พนักงานปฏิบัติงานไม่ถูกต้ อง เพราะยังไม่ ได้ รับการ
อธิบ ายหรื อ การอบรมในวิ ธีก ารใหม่ อ ย่ า งเพี ย งพอ มี ผ ลท าให้
ระบบการควบคุมภายในกิจการมีประสิทธิภาพไม่ ดีเท่าที่ควรจะ
เป็ น
ความสาคัญของการควบคุมภายใน
“การควบคุมภายในมีความสาคัญอย่างไร”
เนื่ อ งจากระบบบั ญ ชี จ ะจั ด การข้ อ มู ล ให้ กับ ผู้ ใ ช้ ร ะบบข้ อ มู ล
ทางการบัญชี ผู้ใช้ ท่อี ยู่ภายในและภายนอกกิจการ จะเชื่อในความถูกต้ อง
ของรายงานและการแสดงผลของระบบ
ด้ วยเหตุน้ ี กิจการจะยอมรั บ “นโยบาย” และ “กระบวนการ
หรือระบบการควบคุ ม ” เพื่ อรั กษาความถูกต้ องของข้ อมูล และความ
เชื่อถือได้ ในการปฏิบัติงานของระบบ
“นโยบาย” และ “กระบวนการ” ถือเป็ นส่วนหนึง่ ของโครงสร้าง
การควบคุมภายใน
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน
“การควบคุมภายใน” แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. การควบคุมทางการบัญชี (Accounting Controls)
2. การควบคุมด้ านบริหาร (Administrative Controls)
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน
1. การควบคุมทางการบัญชี (Accounting Controls)
หมายถึง นโยบายและวิธกี ารที่ผ้ ูบริหารกาหนดขึ้นเพื่อสนอง
วัตถุประสงค์ 2 ข้ อ คือ
1)
การป้ องกันทรัพย์สนิ
2) การประกันความถูกต้ องและเชื่อถือได้ ของข้ อมูลทางการ
บัญชี
การควบคุมทางการบัญชี มีผลกระทบต่อความถูกต้ องของ
ข้ อมูลทางการบัญชี ซึ่งจะส่งผลกระทบต่องบการเงิน
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน
2. การควบคุมทางด้านบริหาร (Administrative Controls)
หมายถึง นโยบายและวิธกี ารที่ผ้ ูบริหารกาหนดขึ้นเพื่อสนอง
วัตถุประสงค์ 2 ข้ อ คือ
1)
ส่งเสริมการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ
2) สนับสนุนให้ ปฏิบัติตามนโยบายการบริหาร
การควบคุมทางด้ านบริหาร จะส่งผลให้ ข้อมูลทางการบัญชีมี
ความถูกต้ องมากขึ้น
ความผิดพลาดทางการบัญชี
“ความผิดพลาดทางการบัญชี” แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ
1. ความผิดพลาดที่ไม่ได้ ต้งั ใจ หรือ ขาดความรู้
2. ความผิดพลาดที่จงใจ
ความผิดพลาดทางการบัญชี
1. ความผิดพลาดทีไ่ ม่ได้ต้ งั ใจ หรือ ขาดความรู ้
เป็ นความผิดพลาดจากความไม่ ร ะมั ดระวั งของพนั ก งาน
ในขณะปฏิบัตหิ น้ าที่ หรือจากการขาดความรู้
ความผิดพลาดทางการบัญชี
2. ความผิดพลาดทีจ่ งใจ สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
1) การฉ้ อโกง (Fraud)
คือ การตั้งใจหลอกลวงเพื่อให้ บุคคลอื่นได้ รับความเสียหาย
2) การทุจริต (Corruption)
คือ การเบียดบังทรัพย์สนิ ของผู้อ่นื มาเป็ นของตน
ความผิดพลาดทางการบัญชี
ความเสีย่ งทีเ่ ป็ นปั ญหาและอุปสรรค
1. ความขัดแย้ งในหมู่ผ้ ูบริหาร
เกิดจากการขาดภาวการณ์เป็ นผู้นาหรือไม่เหมาะสม
2. ความผันผวนทางเศรษฐกิจ
อัตราดอกเบี้ยที่ข้ ึนลงอย่ างรวดเร็ว ก่อให้ เกิดความเสี่ยงต่ อ
การดาเนินงานของกิจการ
ความผิดพลาดทางการบัญชี
ความเสีย่ งทีเ่ ป็ นปั ญหาและอุปสรรค
3. ปัญหาแรงงานสัมพันธ์
เกิดจากการรวมตัวกันของคนงาน การนัดหยุ ดงาน ส่งผล
กระทบต่อระบบการผลิตของกิจการ
4. กฎหมาย ระเบียบข้ อบังคับที่มกี ารเปลี่ยนแปลง
การออกกฎหมายที่ผิ ด พลาดมาบั ง คั บ ใช้ ห รื อ ข้ อ ก าหนด
ระเบียบปฏิบัติทางราชการ ซึ่งให้ คุณหรือโทษต่อกิจการ
ความผิดพลาดทางการบัญชี
ความเสีย่ งทีเ่ ป็ นปั ญหาและอุปสรรค
5. เทคโนโลยีใหม่ ๆ
เกิ ด ขึ้ นในช่ ว งที่ เ ริ่ ม เปลี่ ย นแปลงใหม่ เช่ น การติ ด ตั้ ง
เครื่องจักรใหม่
6. ภัยธรรมชาติและอุปัทวเหตุท่รี ้ ายแรง
เช่ น แผ่ น ดิ น ไหว อัค คี ภั ย ก่ อ ให้ เ กิด ความเสีย หายอย่ า ง
รุนแรงต่อกิจการ
ความผิดพลาดทางการบัญชี
ความเสีย่ งทีเ่ ป็ นปั ญหาและอุปสรรค
7. การทุจริตภายในกิจการ
เป็ นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นเสมอ ซึ่ งหากไม่ สามารถแก้ ไขได้
กิจการจะเผชิญกับความเสี่ยงอย่างสูงสุด
8. การทุจริตจากกลุ่มมิจฉาชีพ
เป็ นความพยายามของบุคคลภายนอกที่มุ่งหมายกระทาการ
ทุจริต เพื่อให้ ทรัพย์สนิ ของกิจการเสียหายหรือสูญเสีย
องค์ประกอบการควบคุมภายใน
“การควบคุมภายใน” ประกอบด้ วยองค์ประกอบที่สาคัญ 3
ประการ คือ
1. สภาพแวดล้ อมของการควบคุมภายใน
2. ระบบบัญชีเพื่อการควบคุม
3. วิธกี ารควบคุมทางบัญชี
องค์ประกอบการควบคุมภายใน
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
หมายถึง การควบคุมเหตุการณ์รอบ ๆ หรือสิ่งที่ส่งผลต่อ
ระบบบั ญ ชี ข องกิ จ การ มี ปั จ จั ย หลายอย่ า งที่เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ
จัดการควบคุม ซึ่งปั จจัยเหล่ านี้จะตัดสินว่ ากระบวนการควบคุ ม
สามารถกระทาตามวัตถุประสงค์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่
สภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
ปั จจัยทีม่ ีผลต่อการควบคุมสภาพแวดล้อมมีดงั ต่อไปนี้
1)
2)
3)
4)
5)
6)
7)
ปรัชญาของการบริหารและรูปแบบการปฏิบัติ
โครงสร้ างของกิจการ
คณะกรรมการการตรวจสอบ
วิธแี ต่งตั้งผู้มีอานาจและรับผิดชอบ
วิธกี ารควบคุม
นโยบายและการปฏิบัติด้านบุคคล
สภาวะแวดล้ อมภายนอก
สภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
1) ปรัชญาของการบริหารและรูปแบบการปฏิบตั ิ
เป้ าหมายของการจัดการเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจ มุ่งสู่
ความถู ก ต้ องของข้ อมู ล ทางการบั ญ ชี และเน้ นการ
ดาเนินงานตามงบประมาณและเป้ าหมายการปฏิบัติงาน
คุณลักษณะของปรัชญาในการจัดการและรูปแบบการปฏิบั ติ
มีอิทธิพลอย่ างมีนัยสาคัญต่ อความถู กต้ องของการบันทึก
ทางการบัญชี และประสิทธิภาพของกระบวนการควบคุม
สภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
2) โครงสร้างของกิจการ
โครงสร้ างของกิจการเป็ นการจัดกรอบงานทั้งหมด สาหรับ
การวางแผนและควบคุมการทางาน
สภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
3) คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee)
คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้ วย ผู้บริหารของกิจการ
หลายท่าน
คณะกรรมการตรวจสอบ ทาหน้ าที่ตามกฎในการตรวจสอบ
นโยบายและการปฏิบัติทางการบัญชี และทาหน้ าที่เ ตือ น
ผู้บริหารถึงปัญหาที่เกิดขึ้นก่อนที่จะกลายเป็ นเรื่องร้ ายแรง
สภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
4) วิธีการแต่งตั้งผูม้ ีอานาจและความรับผิดชอบ
การจัดการแบบรวมอานาจ
ผู้ บ ริ หารสูงสุด จะเป็ นผู้ ตัด สิน ใจหลั กต่ อสิ่งที่มีผลกระทบต่ อ
กิจการ
การจัดการแบบกระจายอานาจ
เป็ นการกระจายอานาจและความรับผิดชอบไปแต่งตั้งผู้ จัดการ
ระดับกลางถึงผู้จัดการระดับปฏิบัติงาน
สภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
5) วิธีการควบคุม
เป็ นวิ ธี ก ารควบคุ ม โดยฝ่ ายบริ ห าร เพื่ อติ ด ตามการ
ปฏิบัติงานของผู้บริหารระดับต่ากว่ าให้ ปฏิบั ติตามหน้ าที่ท่ี
ได้ รับมอบหมาย
สภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
6) นโยบายและแนวปฏิบตั ิดา้ นบุคคล
ประสิทธิผลของโครงสร้ างการควบคุมภายในขึ้นอยู่กับความ
ซื่อสัตย์และความสามารถของพนักงาน
นโยบายและแนวปฏิบัติด้านบุคคล ส่งผลกระทบดังนี้
ทาให้ แน่ใจว่ากิจการได้ จ้างบุคคลที่มีความสามารถ
ทาให้ เกิดข้ อผิดพลาดหรือทาผิดกฎระเบียบน้ อยลง
สภาพแวดล้อมของการควบคุมภายใน
7) สภาพแวดล้อมภายนอก
สภาพแวดล้ อมภายนอก โดยปกติไม่อยู่ภายใต้ การควบคุ ม
ของการบริหารแต่ มีอิทธิพลต่ อการบริหารว่ านาไปสู่ ความ
ถู ก ต้ อ งของข้ อ มู ล บั ญ ชี แ ละก าหนดนโยบายการควบคุ ม
ภายในและวิธกี ารอย่างชัดเจนได้
องค์ประกอบการควบคุมภายใน
2. ระบบบัญชีเพือ่ การควบคุม ประกอบด้ วย
1) การวิเคราะห์รายการ
2) ผังบัญชี
3) เอกสารลงรายการขั้นต้ นที่เป็ นมาตรฐาน
4) งบทดลอง
5) บัญชีคุมยอดและบัญชีย่อย
ระบบบัญชีเพือ่ การควบคุม
1) การวิเคราะห์รายการ
เมื่อรายการทางบัญชีเกิดขึ้น จะต้ องมีการวิเคราะห์ รายการ
และบั น ทึ ก ไว้ ในบั ญ ชี 2 ด้ า น คื อ ทางด้ านเดบิ ต และ
ทางด้ านเครดิต
ถ้ ามีการลงบัญชีหนึ่งผิด ผลรวมตัวเลขด้ านเดบิตและเครดิต
ในบั ญ ชี ท้ัง 2 จะไม่ ส มดุ ล ท าให้ ทราบว่ า มี ข้ อ ผิ ด พลาด
เกิดขึ้น
ระบบบัญชีเพือ่ การควบคุม
2) ผังบัญชี
ผังบัญชีเป็ นรายชื่อและเลขที่บัญชีท่ใี ช้ ในกิจการ
ชื่อและเลขที่บัญชีท่กี าหนดไว้ ในผังบัญชีเพื่อลงรายการ ทา
ให้ ลดโอกาสที่จ ะท าผิ ด พลาดได้ น้ อ ยลง และเกิ ด ความ
สะดวกในการบันทึกบัญชี
ระบบบัญชีเพือ่ การควบคุม
3) เอกสารลงรายการขั้นต้นทีเ่ ป็ นมาตรฐาน
เป็ นเอกสารหรื อ ใบส าคั ญ ที่นั ก บั ญ ชี ท าขึ้ น เพื่ อ วิ เ คราะห์
รายการค้ าและบันทึกในสมุดรายวัน
เมื่ อสิ้ นง วดบั ญ ชี จะมี ก ารปรั บปรุ ง ตามว งจรบั ญ ชี
ข้ อผิ ด พลาดจะเกิ ด ขึ้ นน้ อยมากถ้ ามี ก ารใช้ เอกสาร
ประกอบการบันทึกบัญชี
ระบบบัญชีเพือ่ การควบคุม
4) งบทดลอง
การจัดเตรียมงบทดลองเป็ นขั้นหนึ่งในวงจรบัญชี
การเตรี ยมงบทดลอง ทาให้ มีโอกาสตรวจสอบว่ าระบบได้
บันทึกรายการผิดพลาดหรือไม่ เนื่องจากผลรวมด้ านเดบิต
ต้ องเท่ากับผลรวมด้ านเครดิตในงบทดลอง
ระบบบัญชีเพือ่ การควบคุม
5) บัญชีคุมยอดและบัญชีย่อย
บัญชีคุมยอดจะสรุปยอดคงเหลือของบัญชีย่อย
บัญชีย่อยจะแสดงรายละเอียดของบัญชีลูกหนี้ เจ้ าหนี้ ตลอดจน
สินทรัพย์ว่าแต่ละบัญชีมีรายการใดบ้ าง เกิดขึ้นเมื่อใด
เมื่อ สิ้น งวดบั ญ ชี จ ะเปรี ย บเทีย บยอดคงเหลื อ ของบั ญ ชี ย่ อ ยทุ ก
บัญชีในสมุดบัญชีย่อยกับยอดคงเหลือในบัญชีคุมยอดประเภท
เดียวกันในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปว่ าเท่ากันหรือไม่ ถ้ าไม่
เท่ากันแสดงว่ายังมีท่ผี ดิ พลาดอยู่
องค์ประกอบการควบคุมภายใน
3. วิธีการควบคุมทางบัญชี
เป็ นส่วนประกอบหนึ่งของโครงสร้ างการควบคุมภายใน ซึ่ ง
มีวัตถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้
1) รักษาความปลอดภัยให้ กบั ทรัพย์สนิ
2) ประกันความถูกต้ องและเชื่อถือได้ ของข้ อมูลทางบัญชี
วิธีการควบคุมทางบัญชี
กิจการสามารถกาหนดวิธีการควบคุมทางบัญชีได้ 5 วิธี คือ
1) การกาหนดวิธกี ารในการบันทึกรายการทางบัญชี
2) การรักษาความปลอดภัยสาหรับทรัพย์สน
ิ และการบันทึก
3) การแบ่งแยกหน้ าที่
4) การจัดทาเอกสารและการบันทึกที่ถูกต้ อง
5) การตรวจสอบการปฏิบัติงาน
วิธีการควบคุมทางบัญชี
1) การกาหนดวิธีการในการบันทึกรายการทางบัญชี
เป็ นการกาหนดกระบวนการสาหรับอนุ มัติรายการที่เกิดขึ้น
และวิ ธี ก ารประมวลผล โดยวิ ธี ก ารประมวลผลรายการ
แตกต่างกันไปสาหรับรายการทางบัญชีแต่ละประเภท
พนักงานจะต้ องบันทึกรายการทันที และตรวจสอบว่ าการ
บันทึกนั้นถู กต้ อง การใช้ ยอดคุ มและการหายอดคงเหลือ
ด้ านเดบิตและเครดิต จะช่วยให้ ค้นพบข้ อผิดพลาดได้
วิธีการควบคุมทางบัญชี
1) การกาหนดวิธีการในการบันทึกรายการทางบัญชี
การอนุมัติรายการมี 2 วิธี คือ
1) การอนุมัติท่วั ไป
จะก าหนดว่ า พนั ก งานคนใดจะเป็ นผู้ ส ร้ างรายการ บั น ทึ ก และ
ประมวลผลรายการ ซึ่งสามารถทางานต่อไปโดยไม่ต้องขออนุมตั ิ
2) การอนุมัติพิเศษ
ใช้ กบ
ั รายการที่มวี งเงินจานวนมากหรือมีโอกาสทุจริตสูง
พนักงานจะเริ่มสร้ างรายการชนิดนี้จะต้ องปรึกษาผู้บริหารและได้ รับการ
ตรวจสอบที่พิเศษ
วิธีการควบคุมทางบัญชี
2) การรักษาความปลอดภัยสาหรับทรัพย์สินและข้อมู ล
ฝ่ ายบริ ห ารจะก าหนดวิ ธี ก ารรั ก ษาความปลอดภั ย ของ
ทรัพย์สนิ เพื่อป้ องกันการทุจริตในทรัพย์สนิ และข้ อมูล และ
กาหนดหน้ าที่ความรับผิดชอบให้ แก่พนักงาน ดังนี้
วิธกี ารรักษาความปลอดภัยของทรัพย์สน
ิ และข้ อมูล
กาหนดหน้ าที่ความรับผิดชอบให้ แก่พนักงาน
วิธีการควบคุมทางบัญชี
3) การแบ่งแยกหน้าที่
ฝ่ ายบริ ห ารจะก าหนดความรั บ ผิ ด ชอบให้ พ นั ก งานแต่ ล ะ
ตาแหน่งมีหน้ าที่ต่างกัน
การแบ่งแยกหน้ าที่บุคคลที่เกี่ยวข้ องกับทรัพย์สน
ิ คือ
หน้ าที่อนุมัติรายการทรัพย์สน
ิ
หน้ าที่บันทึกทรัพย์สน
ิ
หน้ าที่ดูแลทรัพย์สน
ิ
จะต้ องเป็ นคนละคนกัน
วิธีการควบคุมทางบัญชี
4) การจัดทาเอกสารและการบันทึกทีถ่ ูกต้อง
ช่วยให้ แน่ใจว่ามีการบันทึกรายการถูกต้ อง
การควบคุมเอกสารทาได้ ดังนี้
การใช้ แบบฟอร์มเอกสาร
พนักงานแต่ ละคนจะถูกกาหนดให้ รับผิดชอบฟอร์ มเอกสารแต่ ละ
ชนิดแยกอิสระจากกัน
หมายเลขกากับเอกสาร
สามารถตรวจสอบปริมาณแบบฟอร์มเอกสารที่มีอยู่จากหมายเลขว่ า
ไม่มีการสูญหายไป
วิธีการควบคุมทางบัญชี
5) การตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน
จะต้ อ งมี ก ารตรวจสอบอย่ า งอิส ระในการปฏิบั ติ ง านของ
พนั ก งาน และความถู ก ต้ อ งของการบั น ทึก บั ญชี รายการ
เบื้องต้ น การสอบทานการเปรียบเทียบทรัพย์สนิ ที่มีอยู่
การตรวจสอบที่เ ป็ นอิ ส ระจะท าโดยบุ ค คลที่ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ นผู้
ปฏิบัติรายการโดยตรง อาจจะเป็ นพนักงานคนอื่น เช่น
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตหรือผู้สอบบัญชีอสิ ระ
ผู้ตรวจสอบภายใน