รายได้ - ค่าใช้จ่าย

Download Report

Transcript รายได้ - ค่าใช้จ่าย

การบัญชีการเงิน
ดวงสมร อรพินท์ และเพือ
่ น
การบัญชีการเงิน. พิมพ์ครัง้ ที่ 3.
สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ISBN: 974-13-3309-9
เนื้อหา





แนวคิดพื้นฐานทางการบัญชี
งบการเงิน
กระบวนการบันทึกบัญชี
การปรับปรุ งรายการ
วงจรบัญชีกิจการซื้อขายสิ นค้า
2
แนวคิดพื้นฐานทางการบัญชี
ความหมายของการบัญชี


การจดบันทึกรายการหรื อเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเงินไว้ในรู ปเงินตรา
การจัดหมวดหมู่หรื อจาแนกประเภทของรายการเหล่านั้น การสรุ ปผลรวมทั้ง
การตีความหมายของผลเหล่านั้น (American Institute of
Certified Public Accountants, AICPA)
กระบวนการระบุ วัดค่ า บันทึก และติดต่อสื่ อสารเหตุการณ์ ที่เกิดขึ้นทาง
เศรษฐกิจของกิจการ เพื่อตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้ขอ้ มูลทางการเงิน
(แม่บทการบัญชีของสมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีอนุญาตแห่งประเทศ
ไทย)
3
กระบวนการทางบัญชี
4
ประเภทของธุรกิจ
ลักษณะโดยทัว่ ไปของการดาเนินธุรกิจมี 3 ประเภท
 กิจการให้บริ การ (Service Firm)
 กิจการซื้ อขายสิ นค้า (Merchadising Firm)
 กิจการผลิต (Manufacturing Firm)
5
กระบวนการทางธุรกิจ

รู ป1-2
6
ความต้องการข้อมูล

ผูใ้ ช้ภายในกิจการ




ผูจ้ ดั การ
เจ้าของ
พนักงาน
ผูใ้ ช้ภายนอกกิจการ




ผูล้ งทุน
ผูข้ ายสิ นค้า
ผูต้ รวจสอบบัญชี
หนังสื อพิมพ์



ผูใ้ ห้กู้
คู่แข่ง
หน่วยงานราชการ
7
เทคโนโลยีดา้ นคอมพิวเตอร์กบั การบัญชี



รวบรวมข้อมูลตัวเลขทางบัญชีที่มีจานวนมหาศาลให้สะดวก รวดเร็ ว และง่าย
ขึ้น
ประมวลผลให้รวดเร็ วขึ้น ถูกต้อง แม่นยา และลดข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจาก
การทางานด้วยมือ
ผูใ้ ช้ขอ้ มูลทางการเงินได้รับข้อมูลเกี่ยวข้องกับธุรกิจได้สะดวกขึ้น และมีการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลเหล่านั้นให้ดว้ ย
8
โปรแกรมสาเร็ จรู ปสาหรับธุรกิจ

สหรัฐอเมริกา
SAP
Oracle
JDEdwards
Peoplesoft
Siebel
Baan
SSA
Other

ไทย
SAP R/3
Oracle
Peoplesoft
Siebel
JDEdward
MFG/PRO
AutoFlight
Easy Acc
ACCPAC
Express
QuickBooks
Exact System
Formula
9
รู ปแบบของธุรกิจในประเทศไทย







กิจการเจ้าของคนเดียว (Single Proprietorship or Sole
Proprietorship)
ห้างหุน้ ส่ วน (Partnership)
บริ ษทั จากัด (Corporation or Company Limited)
สหกรณ์ (Cooperation)
รัฐวิสาหกิจ (State Enterprises)
นิติบุคคลต่างประเทศ (Foreign Enterprises)
กิจการร่ วมค้าตามประมวลรัษฎากร (Joint Venture)
10
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน




ความเข้าใจได้ (Understandability)
ความเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ (Relevance)
ความเชื่อถือได้ (Reliability)
การเปรี ยบเทียบกันได้ (Comparability)
11
งบการเงิน



วัตถุประสงค์เพื่อจัดทาข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินการ และ
การเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ เพื่อประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงินใน
การนาไปใช้ตดั สิ นใจเชิงเศรษฐกิจ
งบการเงินไม่จาเป็ นต้องแสดงข้อมูลเป็ นตัวเลขเท่านั้น
มักจะแสดงข้อมูลเปรี ยบเทียบระหว่างรอบระยะเวลาที่ต่างกัน
12
องค์ประกอบงบการเงิน





งบดุล (Balance Sheet)
งบกาไรขาดทุน (Income Statement)
งบกาไรสะสม (Retained Earning Statement)
งบกระแสเงินสด (Statement of Cash Flows)
หมายเหตุประกอบงบการเงิน (Notes to Financial
Statements)
13
การจาแนกรายการในงบการเงิน





สิ นทรัพย์
หนี้สิน
ส่ วนทุน
รายได้
ค่าใช้จ่าย
14
สิ นทรัพย์ (Asset)

สิ นทรัพย์หมุนเวียน (Current Asset)





เงินสด และเงินฝากธนาคาร
เงินลงทุนระยะสั้น
ลูกหนี้การค้า
สิ นค้าคงเหลือ
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non-Current Asset)




เงินลงทุนระยะยาว
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
สิ นทรัพย์อื่น ๆ
15
หนี้สิน (Liability)

หนี้สินหมุนเวียน (Current Liability)






เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื จากธนาคาร
เจ้าหนี้การค้า
ตัว๋ เงินจ่าย
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
รายได้รับล่วงหน้า
หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non-Current Liability)


หุน้ กู้
เงินกู้
16
ส่ วนของเจ้าของ (Owner’s Equities)



ทุนเรื อนหุน้ (Share Capital)
ส่ วนเกินทุน (Premium on Share Capital)
กาไรสะสม (Retain Earnings)
17
รายได้ (Revenues)


รายได้ทางตรง (Direct Revenues)
รายได้ทางอ้อม (Indirect Revenues) หรื อรายได้อื่น(Other
Revenues)
18
ค่าใช้จ่าย (Expenses)


ต้นทุนขาย (Cost of Goods Sold)
ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน (Operating Expenses)


ค่าใช้จ่ายในการขาย (Selling Expenses)
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร (Administrative Expenses)
19
ตัวอย่างงบดุล

รู ป
20
ตัวอย่างงบกาไรขาดทุน

รู ป
21
ความสัมพันธ์ระหว่างงบการเงิน

รู ป
22
กระบวนการบันทึกบัญชี


กระบวนการบันทึกบัญชี คือ ขั้นตอนในการบันทึกรายการทางบัญชี การผ่าน
รายการบัญชี การสรุ ปข้อมูลที่ได้ จนถึงการจัดทางบการเงิน
รายการค้า (Transactions) หรื อรายการทางบัญชี คือเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นจากการดาเนินงานที่มีผลต่อฐานะการเงินของกิจการ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในสิ นทรัพย์ หนี้สิน หรื อส่ วนทุน
23
การวิเคราะห์รายการค้า
24
ร า ย ก า ร ค้ า ที่ 1 บ ริ ษั ท ได ร้ ั บ เงิ น ส ด จ าก ก ารจา ห น่ าย หุ ้น ส ามั ญ จา น วน 2 0 0 ,0 0 0 บ าท ดั งนั ้ น ราย ก ารค า้ นี้ ทา ให ้ส ิ น ท รั พ ย์ ค ื อ เงิ น ส ด เพิ่ ม ขึ้ น 2 0 0 ,0 0 0
บ าท แ ล ะส่ ว น ทุ น ซ ึ่ ง กิ จ ก ารใน รู ป แ บ บ บ ริ ษั ท เรี ย ก ว่ า ส่ ว น ข อ งผู ถ้ ื อ หุ ้น คื อ ทุ น หุ ้น ส ามั ญ เพิ่ ม ขึ้ น 2 0 0 ,0 0 0 บ าท
D R (+ )
ส ิ น ท ร ัพ ย์
เงิ น ส ด
=
=
=
( ห นี้ ส ิ น
C R (-)
+
ส ่ ว น ข อ ง ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น )
ทุ น หุ ้ น ส า ม ัญ
2 5 x1
ม .ค . 2
+ 2 0 0 ,0 0 0
=
- 2 0 0 ,0 0 0
ร า ย ก า ร ค้ า ที่ 2 บ ริ ษั ท ซ ื้ อ อุ ป ก รณ์ สา นั ก งาน เป็ น เงิ น ส ด จา น วน 1 2 0 ,0 0 0 บ าท บ ริ ษั ท มี ส ิ น ท รั พ ย์ ค ื อ อุ ป ก รณ์ สา นั ก งาน เพิ่ ม ขึ้ น แ ต่ ส ิ น ท รั พ ย์ อ ี ก ช นิ ด
ห นึ่ ง คื อ เงิ น ส ด ล ด ล งใน จา น วน ที่ เท่ ากั น คื อ 1 2 0 ,0 0 0 บ าท
D R (+ )
ส ิ น ท ร ัพ ย์
เงิ น ส ด
+ อุ ป ก ร ณ์ สา น ัก ง า น =
=
=
( ห นี้ ส ิ น
C R (-)
+
ส ่ ว น ข อ ง ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น )
ทุ น หุ ้ น ส า ม ัญ
2 5 x1
ม .ค . 2
ม .ค . 5
+ 2 0 0 ,0 0 0
-1 2 0 ,0 0 0 + 1 2 0 ,0 0 0
รวม
8 0 ,0 0 0 + 1 2 0 ,0 0 0
- 2 0 0 ,0 0 0
=
- 2 0 0 ,0 0 0
25
รายการค้าที่ 3 บริษัทให ้บริการท่องเทีย
่ ว ทาให ้รายได ้จากการท่องเทีย
่ วจานวน 20,000 บาท รายได ้ดังกล่าวทาให ้ส่วนของผู ้ถือหุ ้นเพิม
่ ขึน
้ บริษัทได ้ส่งใบ
หนีใ้ ห ้แก่ลก
ู ค ้าจึงยังไม่ได ้รับชาระเงินทาให ้ลูกหนีก
้ ารค ้าซึง่ เป็ นสินทรัพย์
เพิม
่ ขึน
้ ในจานวนทีเ่ ท่ากัน
DR(+)
สินทรัพย์
เงินสด + ลูกหนีก
้ ารค ้า + อุปกรณ์สานักงาน
=
=
=
CR(-)
้ ิน +
( หนีส
ส่วนของผูถ
้ ือหุน
้ )
ทุนหุน
้ สาม ัญ + กาไรสะสม*
25x1
ม.ค. 2
ม.ค. 5
ม.ค. 8
รวม
+200,000
-120,000
80,000
- 200,000
+120,000
+20,000
+20,000
+120,000
- 20,000 รายได ้ท่องเทีย
่ ว
=
- 200,000 + - 20,000
* กาไรสะสมเป็ นส่วนหนึง่ ของส่วนของผู ้ถือหุ ้น แสดงถึงรายได ้และค่าใ้ช้จ่
้้ า่ ยซึง่ มีผลทาให ้ส่วนทุนเพิม
่ ขึน
้ หรือลดลง
26
ึ่ นสนทรั
ิ พย์เพิมขึ
ึ่ นหนีส
ิ มขึ
รายการค้าที 4 บริษัทกูยืมเงินระยะยาวจากธนาคาร
้
ทาใหเงินสดซ
้
งเป็
่ น้ 100,000 บาท และเจาหนี
้ เ้ งินกูซ้ งเป็
้ นเพิ
่ นในจ
้
านวนที่
เท่ากัน
DR(+)
ิ พย์
สนทรั
เงินสด + ลูกหนีก
้ ารคา้ + อุปกรณ์สานักงาน
=
=
=
CR(-)
ิ +
่
( หนีส้ น
สวนของผู
ถือหุ
้
น
้ )
ทุนหุนสาม
้
ญ
ั + กาไรสะสม
25x1
ม.ค. 2
ม.ค. 5
ม.ค. 8
ม.ค. 10
รวม
+200,000
-120,000
- 200,000
+120,000
+20,000
- 20,000 รายไดท่้ องเทียว
่
+100,000
180,000
-100,000
+20,000
+120,000
=
-100,000 + - 200,000 + - 20,000
27
ิ
พย์ทเี่ ป็ นเงินสดลดลง 6,000 บาท และเกิดค่าใช ้
รายการค้าที่ 5 บริษัทจ่ายเงินเดือนพนักงานจานวน 6,000 บาท ทาใหส้ นทรั
ึ่ าใหก้ าไรสะสมของบริษัทลดลงในจานวนทีเ่ ท่ากัน
จ่ายคือเงินเดือนพนักงานซงท
DR(+)
ิ
พย์
สนทรั
้ ารคา้ + อุปกรณ์สานักงาน
เงินสด + ลูกหนีก
=
=
=
CR(-)
ิ
้ น
้ )
น
้
สว่ นของผูถือหุ
+
( หนีส
ัญ + กาไรสะสม
้
ทุนหุนสาม
25x1
ม.ค. 2
ม.ค. 5
ม.ค. 8
ม.ค. 10
ม.ค. 16
รวม
+200,000
-120,000
- 200,000
+120,000
+20,000
่ ว
้ องเทีย
- 20,000 รายไดท่
+100,000
-6,000
174,000
-100,000
+6,000 เงินเดือนพนักงาน
+20,000
+120,000
=
- 100,000 + - 200,000
+ - 14,000
28
รายการค้าที่ 6 บริษัทซอื้ วัสดุสานักงานจานวน 7,000 บาท ทาให ้สนิ ทรัพย์ทเี่ ป็ นวัสดุสานักงานเพิม่ ขึน้ 7,000 บาท แต่บริษัทจ่ายเงินสดเพียง 2,000 บาท
และค ้างชาระในสว่ นทีเ่ หลือ ทาให ้สนิ ทรัพย์ทเี่ ป็ นเงินสดลดลง 2,000 บาท หนีส
้ นิ ทีเ่ ป็ นเจ ้าหนีอ
้ น
ื่ เพิม่ ขึน้ 5,000 บาท
DR(+)
สนิ ทรัพย์
เงินสด + ลูกหนีก
้ ารค ้า + อุปกรณ์สานักงาน
=
=
=
CR(-)
ิ +
้ น
( หนีส
สว่ นของผูถ
้ อื หุน
้ )
ทุนหุน
้ สาม ัญ + กาไรสะสม
25x1
ม.ค. 2
ม.ค. 5
ม.ค. 8
ม.ค. 10
ม.ค. 16
ม.ค. 20
รวม
+200,000
-120,000
+100,000
-6,000
-2,000
172,000
- 200,000
+120,000
+20,000
- 20,000 รายได ้ท่องเทีย่ ว
-100,000
+ 6,000 เงินเดือนพนักงาน
+7,000
+20,000 +127,000
- 5,000
=
- 5,000 + - 100,000 + - 200,000 + - 14,000
29
ิ ทรั พ ย์เพิม
รายการค้าที่ 7 บริษั ทได ้รั บเงิน สดจากการให ้บริก ารท่อ งเที่ยวจานวน 30,000 บาท ทาให ้เงิน สดซ งึ่ เป็ นส น
่ ขึน
้ 30,000
บาท และกาไรสะสมเพิม
่ ขึน
้ จากรายได ้จากการท่อ งเที่ยวในจานวนที่เท่ากัน
DR(+)
ิ ทรั พ ย์
สน
เงิน สด + ลูก หนี้ ก ารค ้า + อุปกรณ์ สานั ก งาน
=
=
=
CR(-)
ิ
้ น
( หนีส
+
ส ่วนของผูถ
้ อ
ื หุน
้ )
ทุ น หุน
้ สาม ัญ + กาไรสะสม
25x1
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
รวม
2
5
8
10
16
20
21
+200,000
-120,000
- 200,000
+120,000
+20,000
+100,000
-6,000
-2,000
+30,000
202,000 +20,000
- 20,000 รายได ้ท่อ งเที่ยว
-100,000
+ 6,000 เงิน เดือ นพนั ก งาน
+7,000
- 5,000
- 30,000 รายได ้ท่อ งเที่ยว
+127,000
=
- 5,000 + - 100,000 + - 200,000 + - 44,000
30
ิ
รายการค้า ที่ 8 บริษั ทจ่ า ยชา ระหนี้ ค่ า วั ส ดุ สา นั ก งานจานวน 3,000 บาท ทา ให เ้ งิน สดซึ่ง เป็ นสิน ทรั พ ย์ล ดลงจานวน 3,000 บาทและเจ า้ หนี้ อ ื่น ซึ่ง เป็ นหนี้ ส น
ลดลงในจานวนที่เ ท่ า กั น
DR(+)
สิน ทรั พ ย์
เงิน สด + ลู ก หนี้ ก ารค า้ + อุ ป กรณ์ สา นั ก งาน
=
=
=
CR(-)
ิ
( หนี้ส น
+
ส่ว นของผู ้ถ ือ หุ ้น )
ทุ น หุ ้น สาม ญ
ั + กา ไรสะสม
25x1
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
ม.ค.
รวม
2
5
8
10
16
20
21
30
+200,000
-120,000
- 200,000
+20,000
+100,000
-6,000
-2,000
+30,000
-3,000
199,000
+120,000
- 20,000 รายได ท
้ ่ อ งเที่ย ว
-100,000
+ 6,000 เงิน เดือ นพนั ก งาน
+7,000
- 5,000
- 30,000 รายได ท
้ ่ อ งเที่ย ว
+3,000
+20,000
346,000
+127,000
=
=
- 2,000 +
- 100,000 + - 200,000 + - 44,000
-346,000
31
เดบิตและเครดิต
สมการบัญชี
สินทรัพย์
= หนีส้ ิน + ทุน + กาไรสะสม
กาไรสะสมปลายงวด = กาไร(ขาดทุน)สะสมต้นงวด + กาไร
(ขาดทุน) งวดนี้
กาไร (ขาดทุน)
= รายได้ - ค่าใช้ จ่าย
32
การเพิม่ ขึ้นลดลงและยอดดุลปกติของบัญชีต่างๆ

รู ป 3-2
33
ผังบัญชี (Chart of Accounts)




รายการของบัญชีต่าง ๆ ทั้งหมดที่กิจการจัดไว้เป็ นประเภทโดยให้ชื่อและ
เลขที่เรี ยงลาดับ
ตั้งชื่อบัญชีมีความหมายใกล้เคียงกับรายการที่เกิดขึ้น
แตกต่างกันในแต่ละกิจการ
ควรสารองเลขที่บญั ชีไว้สาหรับอนาคต
34
ตัวอย่างผังบัญชี (ภาษาไทย)

รู ป
35
ตัวอย่างผังบัญชี (ภาษาอังกฤษ)
Assets (สินทรัพย์)
 Cash & Cash at Bank (บัญชีเงินสดและเงินฝากธนาคาร)
 Trade Receivable (บัญชีลูกหนี้การค้า)
 Office Supplies (บัญชีวส
ั ดุสานักงาน)
 Land (บัญชีทด
ี่ น
ิ )
 Building/Plant (บัญชีอาคาร)
 Accumulated Depreciation-Plant (บัญชีคา
่ เสือ่ มราคาสะสม-อาคาร)
 Office Equipment (บัญชีอป
ุ กรณ์ สานักงาน)
 Accumulated Depreciation-Office Equipment (บัญชีคา
่ เสือ่ ม
ราคาสะสม-อุปกรณ์ สานักงาน)
36
ตัวอย่างผังบัญชี (ภาษาอังกฤษ)
Liabilities (หนี้สน
ิ )
 Trade Payable (บัญชีเจ้าหนี้การค้า)
 Other Payable (บัญชีเจ้าหนี้อน
ื่ )
 Accrued Payroll (บัญชีเงินเดือนค้างจ่าย)
 Accrued Utilities (บัญชีคา
่ สาธารณูปโภคค้างจ่าย)
 Loan Payable (บัญชีเจ้าหนี้เงินกู)้
37
ตัวอย่างผังบัญชี (ภาษาอังกฤษ)
Owner Equities (ส่วนของเจ้าของ)
 Common Stock (บัญชีทน
ุ หุน
้ สามัญ)
 Retained earnings (บัญชีกาไรสะสม)
 Income Summary (บัญชีสรุปยอดรายได้คา
่ ใช้จา่ ย)
38
ตัวอย่างผังบัญชี (ภาษาอังกฤษ)
Revenues (รายได้)
 Revenue from Travel (บัญชีรายได้จากการท่องเทีย
่ ว)
 Interest Income (บัญชีดอกเบีย
้ รับ)
39
ตัวอย่างผังบัญชี (ภาษาอังกฤษ)
Expenses (ค่าใช้จา่ ย)
 Payroll Expenses (บัญชีเงินเดือน)
 Utilities Expenses (บัญชีคา
่ สาธารณูปโภค)
 Supplies Expenses(บัญชีวส
ั ดุสานักงานใช้ไป)
 Depreciation-Plant (บัญชีคา
่ เสือ
่ มราคา-อาคาร)
 Depreciation-Office Equipment (บัญชีคา
่ เสือ
่ มราคา-อุปกรณ์
สานักงาน)
 Rent Expenses (บัญชีคา
่ เช่าสานักงาน)
 Other Expenses (บัญชีคา
่ ใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด)
 Interest Expenses (บัญชีดอกเบีย
้ จ่าย)
40
บัญชีแยกประเภท (General Ledger)

ประกอบด้วยบัญชีทุกบัญชีที่มีอยูใ่ นบัญชีประเภทสิ นทรัพย์ หนี้สิน ส่ วนทุน รายได้และ
ค่าใช้จ่าย เช่น บัญชีเงินสด บัญชีที่ดิน บัญชีเจ้าหนี้การค้า บัญชีทุนหุน้ สามัญ บัญชีรายได้
ค่าบริ การ บัญชีค่าสาธารณูปโภค เป็ นต้น
41
ตัวอย่างสมุดบัญชีแยกประเภท

รู ป
42
สมุดรายวัน (Journal)

สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)





สมุดรายวันซื้อ (Purchases Journal)
สมุดรายวันจ่าย (Cash Disbursements Journals)
สมุดรายวันขาย (Sales Journal)
สมุดรายวันรับ (Cash Receipts Journal)
สมุดรายวันทัว่ ไป (General Journal)
-บันทึกรายการขั้นต้นที่ไม่สามารนาไปบันทึกในสมุดรายวันเล่มอื่นได้
43
ตัวอย่างสมุดรายวันทัว่ ไป

รู ป
44
45
การผ่านรายการ (Posting)

การผ่านรายการคือการผ่านข้อมูลจากสมุดรายวันไปบัญชีที่เกี่ยวข้องเพื่อหา
ยอดคงเหลือของบัญชีน้ นั
46
47
48
49
การปรับปรุ งบัญชี (Adjustment)




งวดระยะเวลาบัญชีและปี การเงิน
หลักการเกิดขึ้นของรายได้และการจับคู่ระหว่างรายได้และค่าใช้จ่าย
เกณฑ์เงินสด VS. เกณฑ์คงค้าง
รายการปรับปรุ ง
50
งวดระยะเวลาบัญชีและปี การเงิน

รู ป
51
หลักการเกิดขึ้นของรายได้และการจับคู่ระหว่างรายได้และ
ค่าใช้จ่าย



หลักการเกิดขึ้นของรายได้ หมายถึงรายได้เกิดขึ้นเมื่อกิจการขาย/ส่ งมอบ
สิ นค้าหรื อบริ การแล้ว แต่ลูกค้ายังไม่ได้ชาระเงิน กิจการจะถือว่ารายได้เกิดขึ้น
แล้วและต้องบันทึกเป็ นรายได้ของเดือนนั้น ๆ
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นย่อมเป็ นความพยายามให้เกิดประโยชน์ หรื อรายได้ในงวด
เดียวกัน
เกณฑ์เงินสด-เกณฑ์คงค้าง
52
เกณฑ์เงินสด VS. เกณฑ์คงค้าง

รู ป
53
รายการปรับปรุ ง







ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย (Accrued Expenses)
รายได้คา้ งรับ (Accrued Revenues)
ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า (Prepaid Expenses)
รายได้รับล่วงหน้า (Unearned Revenue)
ค่าเสื่ อมราคา (Depreciation)
หนี้สงสัยจะสูญ (Bad Debts)
วัสดุสินเปลืองใช้ไป (Supplies Used)
54
ความสัมพันธ์ของรายการปรับปรุ งที่มีต่องบการเงิน
55
การปิ ดบัญชี (Closing Entries)



การวัดผลการดาเนินงานสาหรับงวดบัญชีใดงวดบัญชีหนึ่ง เป็ นการหาผลกาไร
หรื อขาดทุน โดยการโอนปิ ดบัญชีประเภทรายได้และค่าใช้จ่ายไปยังบัญชีที่
สรุ ปยอดรายได้ค่าใช้จ่าย ถ้าหาก
รายได้ > รายจ่าย = กาไร
รายได้ < รายจ่าย = ขาดทุน
บัญชีประเภทรายได้และค่าใช้จ่ายเมื่อปิ ดขึ้นปี การเงินใหม่แล้วจะมียอดยกมา
เท่ากับศูนย์
บัญชีประเภทสิ นทรัพย์ หนี้สิน และทุน เมื่อปิ ดขึ้นปี การเงินใหม่แล้วจะมีการ
พันยอดยกมาจากปี ก่อน
56
ขั้นตอนการปิ ดบัญชี

รู ป3-6
57
สรุ ปกระบวนการบันทึกบัญชี (Accounting Cycle)







วิเคราะห์รายการค้าจากเอกสารและหลักฐานทางการเงิน
บันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ ไป
ผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท
จัดทางบทดลอง
ปรับปรุ งบัญชี
ปิ ดบัญชี
จัดทางบการเงิน
58
วงจรบัญชีกิจการซื้อขายสิ นค้า

กิจการซื้อขายสิ นค้า (Merchandising Firm)



ผูค้ า้ ปลีก (Retailer)
ผูค้ ่าส่ ง (Wholesaler)
วงจรการดาเนินงาน
ฉ
เงินสด
จ
ลูกหนี้การค้า
เจ้าหนี้การค้า
ก
ค
ง
ข
สินค้า
ก)
ข)
ค)
ง)
จ)
ฉ)
ซื้ อสด
ซื้ อเชื่อ
ขายสด
ขายเชื่อ
รับชาระ
จ่ายชาระ
59
ศัพท์น่าสนใจ










Inventory
Sales Revenue
Cost of Good Sold
Gross Profit
Operation Expenses
Purchase Requisition
Purchase Order
Invoice
Delivery Order
Receipt









Credit Term
Cash Discount
Trade Discount
Credit Note
Debit Note
Purchase Discount
Sales Discount
Transportation-In
Transportation-Out
60