ลั กษณะของบัญชีรายได้ และ บัญชีค่าใช้ จ่าย ตามแม่บทการบัญชี ของสมาคมนักบัญชี และผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย ได้ให้ คานิ ยามของรายได้ ค่าใช้จา่ ยไว้วา่ รายได้ หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี ในรู ป กระแสเข้าหรื.

Download Report

Transcript ลั กษณะของบัญชีรายได้ และ บัญชีค่าใช้ จ่าย ตามแม่บทการบัญชี ของสมาคมนักบัญชี และผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย ได้ให้ คานิ ยามของรายได้ ค่าใช้จา่ ยไว้วา่ รายได้ หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี ในรู ป กระแสเข้าหรื.

ลั กษณะของบัญชีรายได้ และ บัญชีค่าใช้ จ่าย
ตามแม่บทการบัญชี ของสมาคมนักบัญชี และผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย ได้ให้
คานิ ยามของรายได้ ค่าใช้จา่ ยไว้วา่
รายได้ หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี ในรู ป
กระแสเข้าหรื อการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์ หรื อการลดลงของหนี้ สิน อันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของ
เพิ่มขึ้น ทัง้ นี้ ไม่รวมถึงเงินทุนทีไ่ ด้รับจากผูม้ สี ่วนร่ วมในส่วนของเจ้าของ
ค่ าใช้ จ่าย
หมายถึง การลดลงของประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี ในรู ป
กระแสออกหรื อการลดค่าของสินทรัพย์ หรื อการเพิ่มขึ้นของหนี้ สิน อันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของ
ลดลง ทัง้ นี้ ไม่รวมถึงการแบ่งปันส่วนทุนให้กบั ผูม้ สี ่วนร่ วมในส่วนของเจ้าของ
บัญชีรายได้
รายได้ (Revenue) หมายถึง ผลตอบแทนทีก่ ิจการได้รับจากการขายสินค้าหรื อบริ การ
ให้แกล่ กู ค้าซึ่งคานวณได้เป็ นจานวนทีแ่ น่ นอน รายได้ยงั รวมถึงกาไรทีไ่ ด้จากการขายหรื อ
แลกเปลี่ยนสินทรัพย์ ดอกเบี้ยรับทีไ่ ด้จากการให้กยู้ มื เงิน เงินปันผลรับจากการลงทุนซื้อหุ้นใน
ธุรกิจอื่น ฯลฯ รายได้อาจแบ่งเป็ น 2 ประเภท
1. รายได้ โดยตรง (Direct revenue) หรื อรายได้จากการดาเนิ นงาน (Operating revenue)
คือ รายได้ทเี่ กิดขึ้นตามวิถีทางการค้าโดยปกติของกิจการ เช่ น รายได้จากการขายสินค้า
ถ้าเป็ นธุรกิจทีซ่ ้ือขายสินค้าหรื อผลิตสินค้าสาเร็จรู ปเพื่อขาย รายได้จากค่าบริ การถ้า
เป็ นธุรกิจประเภทให้บริ การ รายได้จากดอกเบี้ยถ้าเป็ นธุรกิจธนาคารหรื อสถาบันทาง
กากรเงิน รายได้คา่ ธรรมเนี ยมวิชาชี พถ้าเป็ นธุรกิจของผูย้ ดึ วิชาชี พอิสระ เช่ น แพทย์
ทนายความ และผูส้ อบบัญชี เป็ นต้น
2. รายได้ อนื่ ๆ (Other revenue) คือ รายได้ทไี่ ม่ได้เกิดขึ้นตามวิถีทางการค้าโดยปกติของ
กิจการ ซึ่งนาน ๆ จึงจะเกิดขึ้นครั้งหนึ่ ง เช่ น กาไรจากการขายหรื อแลกเปลี่ยน
สินทรัพย์ รายได้จากการให้กยู้ มื เงิน เป็ นต้น
หลั กการเกิดขึน้ ของรายได้
โดยทัว่ ไปหลักการเกิดขึ้นของรายได้ ตามหลักการบัญชี ทรี่ ับรองทัว่ ไป ตามปกติรายได้จะ
เกิดขึ้นเมือ่ กระบวนในการกอ่ ให้เกิดรายได้ได้สิ้นสุดลงและได้มกี ารแลกเปลีย่ นเกิดขึ้นแล้ว ในการ
ขายสินค้าและให้บริ การ รายได้เกิดขึ้นเมือ่ กิจการได้มกี ารส่งมอบสินค้าหรื อบริ การให้กบั ลูกค้าตาม
ข้อสัญญาทีต่ กลงกับลูกค้าเรี ยบร้อยแล้ว ดังนั้นรายได้ทธี่ ุรกิจได้รับไม่จาเป็ นต้องเป็ นเงินสดเสมอ
ไป อาจได้มาในรู ปของสินทรัพย์อนื่ เช่ น ลูกหนี้ ตัว๋ เงินรับ เป็ นต้น
รายได้มผี ลทาให้สินทรัพย์ของกิจการเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันส่วนของเจ้าของคือทุนก็เพิ่มขึ้นด้วย
เช่ น นายผลมาจ้างให้นายนิ ธิซ่อมรถจักรยานยนต์ตกลงกันในราคา 5,000 บาท วันมารับรถทีซ่ ่อม
เสร็จแล้วคืนไป นายผลจ่ายเงินสดเพียง 3,000 บาท ทีเ่ หลือชาระในเดือนถัดไป นัน่ คืน
สินทรัพย์ คือ เงินสด เพิ่มขึ้น
3,000 บาท
ลูกหนี้ เพิ่มขึ้น
2,000 บาท
ทุน คือ รายได้จากการซ่อมรถ เพิ่มขึ้น
5,000 บาท
ในเดือนถัดมานายผลนาเงินสดมาชาระหนี้ 2,000 บาท เงินสดทีไ่ ด้รับนี้ ถือเป็ นการรับชาระ
หนี้ จากลูกหนี้ จะไม่ถือเป็ นรายได้ของกิจการแต่อย่างใด เพราะเมือ่ เดือนกอ่ นกิจการตั้งจานวนเงินที่
ยังไม่ได้รับชาระไว้ในบัญชี ลกู หนี้ การค้าแล้ว ดังนั้นในเดือนต่อมาเมือ่ มีการรับชาระหนี้
สินทรัพย์ คือ เงินสด เพิ่มขึ้น
ลูกหนี้ ลดลง
2,000 บาท
2,000 บาท
บัญชีค่าใช้ จ่าย
ค่ าใช้ จ่าย (Expense) หมายถึง ต้นทุนของสิ นค้าหรื อบริ การทีธ่ ุรกิจได้จา่ ยไปเพื่อกอ่ ให้เกิด
รายได้ ในการวัดผลการดาเนิ นงานของกิจการจะต้องมีการจับคูห่ รื อเปรี ยบเทียบความสาเร็ จ คือ
รายการทีเ่ ป็ นค่าใช้จา่ ยใช้หลักเกณฑ์ความเกีย่ วข้องโดยตรงระหว่างต้นทุนทีเ่ กิดขึ้นกับรายได้ที่
ได้มา จากรายการหรื อเหตุการณ์ทางบัญชี เดียวกัน เรี ยกว่า การจับคูร่ ายได้และค่าใช้จา่ ย (Matching
Concept of Revenue and Expense) เช่ น กิจการจะต้องรับรู ้คา่ น้ าค่าไฟฟ้ าเป็ นค่าใช้จา่ ยในงวดบัญชี
เดียวกันทีก่ ิจการใช้น้ าและไฟฟ้ ากอ่ ให้เกิดรายได้เข้ากิจการ เป็ นต้น
ค่าใช้จา่ ยของกิจการบางรายการไม่จาเป็ นต้องจ่ายเป็ นเงิ นสด เช่ น ค่าเผือ่ หนี้ สงสัยจะสูญ
ค่าเสื่อมราคาสิ นทรัพย์ และการจ่ายเงิ นสดทุกรายการไม่จาเป็ นต้องเป็ นค่าใช้จา่ ยเสมอไป เช่ น การ
จ่ายเงิ นสดซื้อสิ นทรัพย์ไว้ใช้ในการดาเนิ นงาน หรื อการจ่ายเงิ นสดชาระหนี้ เป็ นต้น
สรุ ปได้วา่ ค่าใช้จา่ ยจะต้องมีผลทาให้สินทรัพย์ของกิจการลดลง ในขณะเดียวกันส่วนของเจ้าของก็
ลดลงด้วย ดังนั้นบัญชี คา่ ใช้จา่ ยจึงมียอดเพิ่มขึ้นทางด้านเดบิตและลดลงทางด้านเครดิต เช่ น
กิจการจ่ายเงินเดือนเป็ นเงินสด
8,000 บาท
ค่าใช้จา่ ย คือ เงินเดือน เพิ่มขึ้น
8,000 บาท
สินทรัพย์
คือ เงินสด ลดลง
8,000 บาท
กิจการคิดค่าเสื่อมราคาเครื่ องตกแต่งสานักงาน
1,000 บาท
ค่าใช้จา่ ย คือ ค่าเสื่อมราคาเครื่ องตกแต่งสานักงานเพิ่มขึ้น
สินทรัพย์ คือ เครื่ องตกแต่งสานักงานลดลง
1,000 บาท
1,000 บาท
ค่าใช้จา่ ยของกิจการแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
1. ค่ าใช้ จ่ายของกิจการทีซ่ ื้อขายสิ นค้ า ได้แก่ ต้นทุนขาย (Cost of sales หรื อ Cost of
goods sold) ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการขาย (Selling expense) ค่าใช้จา่ ยในการบริ หาร
(Administrative expense) และ ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ (Other expense)
2. ค่ าใช้ จ่ายของกิจการซื้อขายบริการ ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยในการดาเนิ นงานทั้งหมดของ
กิจการ (Operating expense) และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องในการดาเนิ นงาน (NonOperating expense)
บัญชีเบิกใช้ ส่วนตัว
กิจการเจ้าของคนเดียวเจ้าของกิจการอาจจะเบิกเงิ นสดหรื อสิ นทรัพย์ของกิจการไปใช้
ส่วนตัว หรื อให้กิจการจ่ายค่าใช้จา่ ยส่วนตัวแทนไปกอ่ น รายการเหล่านี้ ทาให้สินทรัพย์ของกิจการ
ลดลงและส่วนของเจ้าของก็ลดลงในจานวนทีเ่ ท่ากันด้วย แต่ไม่ถือเป็ นค่าใช้จา่ ยของกิจการ ทัง้ นี้
เพราะการเบิกใช้ส่วนตัวจะไม่เป็ นการจ่ายเงิ น เพื่อกอ่ ให้เกิดรายได้ ดังนั้นเมือ่ มีการเบิกใช้ส่วนตัวจึง
มีการบันทึกเดบิตเบิกใช้ส่วนตัวและเครดิตบัญชี เงิ นสด หรื อเบิกสิ นทรัพย์อนื่ กรณี เบิกใช้สินทรัพย์
อืน่ ไปใช้ส่วนตัวให้บนั ทึกด้วยราคาทุนทีซ่ ้ือมา
การแสดงรายการเบิกใช้ ส่วนตัวในงบดุล
ส่ วนของเจ้ าของ
ทุน
xxx
หัก เบิกใช้ส่วนตัว
xxx
xxx
บวก กาไรสุทธิ
xxx
xxx
การปิ ดบัญชีในวันสิ้นงวดบัญชี
ในการวัดผลการดาเนิ นงานของกิจการในแต่ละงวดบัญชี
จะต้ องนาบัญชีประเภทรายได้
และบัญชีประเภทค่ าใช้ จ่ายทุกบัญชีทเี่ กิดขึน้ ตลอดงวดบัญชีมาเปรียบเทียบเพือ่ พิจารณาว่ ากิจการมี
ผลการดาเนินงานประจางวดเป็ นอย่ างไร มีกาไรหรือขาดทุนเท่าใด ซึ่งในการเปรี ยบเทียบรายการ
ดังกล่าว กิจการต้องมีการโอนยอดดุลของบัญชี รายได้และบัญชี คา่ ใช้จา่ ยทุกบัญชี มาแสดงอยูใ่ น
บัญชี เดียวกัน ซึ่งเรี ยกว่า การบันทึกรายการปิ ดบัญชี (Closing entry) ซึ่งกิจการจะทาการปิ ดบัญชี
ในวันสิ้นงวดบัญชี วิธีการปิ ดบัญชี เป็ นการโอนปิ ดบัญชี ประเภทรายได้ ซึ่งโดยปกติมยี อดดุล
ทางด้านเครดิต ไปยังบัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ยทางด้านเครดิต เมือ่ ได้มกี ารโอนปิ ดบัญชี รายได้
แล้ว ดังนั้น บัญชี รายได้จงึ มียอดดุลเป็ นศูนย์ ส่วนบัญชี ประเภทค่าใช้จา่ ยก็จดั ทาเช่ นเดียวกัน คือ
โอนปิ ดบัญชี คา่ ใช้จา่ ยทีม่ ยี อดดุลทางด้านเดบิตไปยังบัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ยทางด้านเดบิต
เพื่อให้มยี อดดุลเป็ นศูนย์
โดยการปิ ดบัญชี ตอ้ งทาการบันทึกในสมุดรายวันทัว่ ไปแล้วผ่านรายการไปยังบัญชี แยกประเภทที่
เกีย่ วข้อง ซึ่งมีวธิ ี การจัดทาตามลาดับขั้นตอน ดังนี้
1. โอนปิ ดบัญชี ประเภทรายได้ทกุ บัญชี ไปบัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ย
2. โอนปิ ดบัญชี ประเภทค่าใช้จา่ ยทุกบัญชี ไปบัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ย
3. โอนปิ ดบัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ย ไปบัญชี กาไรสะสม กรณี เป็ นบริ ษทั ปิ ดไป
บัญชี ทนุ กรณี เป็ นกิจการเจ้าของคนเดียว
4. โอนปิ ดบัญชี เงิ นปันผลจ่าย (ถ้ามี) ไปบัญชี กาไรสะสม กรณี เป็ นบริ ษทั และโอนปิ ด
บัญชี ถอนใช้ส่วนตัวไปบัญชี ทนุ กรณี เป็ นกิจการเจ้าของคนเดียว
การปิ ดบัญชีรายได้ บัญชี รายได้จะมียอดดุลปกติทาด้านเครดิต ดังนั้นจึงโอนปิ ดบัญชี รายได้ไป
ทางด้านเดบิตและเครดิตบัญชี กาไรขาดทุนในจานวนทีเ่ ท่ากัน ซึ่งจะมีผลทาให้รายได้มยี อดดุล
เท่ากับศูนย์
การปิ ดบัญชีค่าใช้ จ่าย บัญชี คา่ ใช้จา่ ยจะมียอดดุลปกติทางด้านเดบิต ดังนั้น จึงโอนปิ ดบัญชี
ค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ ไปทางด้านเครดิตและเดบิตบัญชี กาไรขาดทุนด้วยผลรวมของค่าใช้จา่ ยต่าง ๆ ซึ่งจะ
มีผลทาให้บญั ชี คา่ ใช้จา่ ยมียอดดุลเท่ากับศูนย์เช่ นเดียวกับรายได้
การปิ ดบัญชีสรุปยอดรายได้ ค่าใช้ จ่าย เมือ่ บัญชี รายได้และค่าใช้จา่ ยถูกโอนปิ ดไปบัญชี สรุ ปยอด
รายได้คา่ ใช้จา่ ยทีเ่ ปิ ดขึ้นชัว่ คราวแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือผ่านรายการไปยังบัญชี แยกประเภทที่
เกีย่ วข้อง ถ้ายอดรายได้สูงกว่าค่าใช้จา่ ยแสดงว่ามีกาไร ดังนั้น บัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ยจะมี
ยอดดุลทางด้านเครดิต ในทางตรงกันข้าม ถ้ายอดค่าใช้จา่ ยสูงกว่ารายได้แสดงว่ามีขาดทุน ดังนั้น
บัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ยจะมียอดดุลทางด้านเดบิต จากนั้นก็ปิดบัญชีสรุปยอดรายได้ ค่าใช้ จ่าย
ไปบัญชีทนุ ในกรณีทกี่ ิจการมีกาไรจะมีบญั ชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ยยอดดุลด้านเครดิต การปิ ด
บัญชี จะโอนเดบิตบัญชีสรุปยอดรายได้ ค่าใช้ จ่ายไปบัญชีทนุ ด้ านเครดิต แต่ถา้ กิจการ ขาดทุน บัญชี
สรุปยอดรายได้ ค่าใช้ จ่ายมียอดดุล ด้ านเดบิต การปิ ดบัญชี จะโอนเครดิตบัญชี สรุ ปยอดรายได้
ค่าใช้จา่ ยไปบัญชี ทนุ ด้านเดบิต ซึ่งจะทาให้ บญ
ั ชีสรุปยอดรายได้ ค่าใช้ จ่ายมียอดเป็ นศู นย์
การหายอดดุล ของบัญชีทยี่ ังไม่ ได้ ปิด
เมือ่ กิจการได้ทาการปิ ดบัญชี เพื่อหาผลการดาเนิ นงานของงวดหนึ่ ง ๆ แล้ว ดังนั้นบัญชี
รายได้และค่าใช้จา่ ยทั้งหมดได้ถกู ปิ ดและมียอดดุลเป็ นศูนย์ เพราะได้โอนไปยังบัญชี สรุ ปยอด
รายได้คา่ ใช้จา่ ยหมดแล้ว และจากนั้นบัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ย ก็ถกู ปิ ดไปบัญชี กาไรสะสม
หรื อบัญชี ทนุ ส่วนบัญชี ประเภทสิ นทรัพย์ หนี้ สิน และส่วนของเจ้าของ เป็ นบัญชี ทมี่ ยี อดดุล
คงเหลือไม่ได้ทาการปิ ดไปบัญชี อนื่
กิจการต้องทาการหายอดดุลของบัญชี ทยี่ งั ไม่ได้ปิดดังกล่าว ซึ่งสามารถจัดทาได้ตามขั้นตอนดังนี้
1. รวมยอดเงิ นทางด้านเดบิตและทางด้านเครดิต จากนั้นให้หาผลต่างของยอดรวมทั้งสอง
ด้าน เพื่อหาว่ามียอดดุลเดบิต หรื อยอดดุลเครดิต ถ้าในบัญชี ใดมีรายการเพียงรายการ
เดียว ก็ไม่ตอ้ งหายอดรวมให้หายอดดุลคงเหลือได้เลย
2. หากวันสิ้นงวดรายการใดมียอดดุลคงเหลือไม่วา่ จะเป็ นด้านเดบิตหรื อด้านเครดิต ให้
เขียน วัน เดือน ปี ของสิ้นงวดบัญชี น้ นั ทางด้านตรงกันข้ามกับด้านยอดดุลคงเหลือนั้น
ส่วนในช่ องรายการหรื ออธิ บาย ให้เขียนคาว่า “ยอดดุลยกไป ” และใส่เครื่ องหมาย “ / “
(Check mark) ในช่ องหน้าหรื อเลขทีเ่ พื่อให้ทราบว่ารายการนั้นมิได้ผา่ นมาจากสมุด
รายวันทัว่ ไปและมิได้เกี่ยวข้องกับบัญชี อื่น และให้เขียนยอดดุลในช่ องจานวนเงิ น
3. รวมยอดจานวนเงิ นทั้งด้านเดบิตและด้านเครดิต ต้องมีจานวนเท่ากัน
4. ต่อมาทาการเขียน วัน เดือน ปี ของวันขึ้นต้นงวดบัญชี ใหม่ ในด้านตรงกันข้ามกับยอด
ดุลยกไป ส่วนในช่ องรายการหรื ออธิ บาย ให้เขียนคาว่า “ยอดดุลยกมา ” และใส่
เครื่ องหมาย “ / “ (Check mark) ในช่ องหน้าหรื อเลขที่ และให้เขียนจานวนเงิ น
คงเหลือในช่ องจานวนเงิ น
การหายอดดุลของบัญชี ทยี่ งั ไม่ได้ปิด ของ บริ ษทั อุบลรัตน์ จากัด ในวันสิ้นปี
เงินสด
เลขที่
25x1
ม.ค.ธ.ค.31
25x2
ม.ค.1
11
25x1
ธ.ค.31
*
166,600
ยอดดุลยกไป

166,600
ยอดดุลยกมา

ลู กหนีก้ ารค้ า
25x1
ม.ค.ธ.ค.31
25x2
ม.ค.1
25x1 เป็ นดังนี้
166,600
166,600
166,600
เลขที่
12
25x1
ธ.ค.31
*
44,000
44,000
ยอดดุลยกมา

44,000
ยอดดุลยกไป

44,000
44,000
เจ้ าหนีก้ ารค้ า
25x1
ธ.ค.
31
ยอดดุลยกไป
เลขที่

32,000
32,000
21
25x1
ม.ค.ธ.ค.31
25x2
ม.ค.1
*
ยอดดุลยกมา
32,000
32,000

ดอกเบีย้ ค้ างจ่ าย
25x1
ธ.ค.
31
ยอดดุลยกไป
32,000
เลขที่
23
25x1
ธ.ค.31

390
25x2
ม.ค.1
ดอกเบี้ยจ่าย
รว. 9
390
ยอดดุลยกมา

390
ทุน -หุ้นสามัญ
25x1
ธ.ค.
31
ยอดดุลยกไป
เลขที่
25x1
ม.ค.31

100,000
25x2
ม.ค.1
25x1
ธ.ค.31
31
กาไรสะสม
เลขที่
เงินปันผลจ่าย
ยอดดุลยกไป
25x1
ม.ค.1
ธ.ค.31
รว.9

11,000
57,230
เงินสด

100,000
ยอดดุลยกมา

100,000
32
ยอดดุลยกมา
สรุ ปยอดรายได้
ค่าใช้จ่าย

30,000
รว.9
38,230
68,230
ยอดดุลยกมา

68,230
25x2
ม.ค.1
57,230
งบทดลองหลั งปิ ดบัญชี
งบทดลองหลังปิ ดบัญชี เป็ นงบทีจ่ ดั ทาขึ้นภายหลังจากการทีก่ ิจการได้ทาการปิ ดบัญชี
รายได้และค่าใช้จา่ ยไปยังบัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ยและปิ ดบัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ย
ไปบัญชี กาไรสะสมหรื อทุนแล้ว การจัดทางบทดลองหลังปิ ดบัญชี น้ ี จัดทาขึ้นเพื่อให้กิจการ
ทราบว่ามีบญั ชี ใดบ้างทีม่ ยี อดคงเหลือยกไปงวดบัญชี ตอ่ ไปและมีจานวนเท่าใด ซึ่งงบทดลอง
หลังปิ ดบัญชี น้ ี จะแสดงเพียงแค่บญั ชี สินทรัพย์ หนี้ สินและส่วนของเจ้าของ เท่านั้น
บริษทั อุบลรัตน์ จากัด
งบทดลองหลั งปิ ดบัญชี
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1
ชื่อบัญชี
เงิ นสด
ลูกหนี้ การค้า
ค่าเผือ่ หนี้ สงสัยจะสูญ
วัสดุสิ้นเปลือง
ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า
อุปกรณ์สานักงาน
ค่าเสื่อมราคาสะสม -อุปกรณ์สานักงาน
เจ้าหนี้ การค้า
ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
เงิ นกู้
ทุนหุ ้นสามัญ
กาไรสะสม
เลขที่
11
12
12.1
13
14
15
15.1
21
22
23
24
31
32
เดบิต
166,600
44,000
เครดิต
880
500
9,000
35,000
12,000
32,000
600
390
52,000
100,000
57,230
255,100
255,100
การจัดทางบการเงิน
การจัดทางบการเงิ นเป็ นขั้นตอนสุดท้ายของวงจรบัญชี ซึ่งงบการเงิ นทีจ่ ดั ทาได้แก่ งบกาไร
ขาดทุน และงบดุล ข้อมูลจากการปิ ดบัญชี ในบัญชี สรุ ปยอดรายได้คา่ ใช้จา่ ย เป็ นข้อมูลทีน่ าไปแสดง
ในงบกาไรขาดทุน สาหรับข้อมูลในงบทดลองหลังปิ ดบัญชี ซึ่งแสดงยอดดุลคงเหลือของทุกบัญชี
จะนาไปแสดงในงบดุล
บริษทั อุบลรัตน์ จากัด
งบกาไรขาดทุน
ประจาปี สิ้นสุ ด วันที่ 31 ธันวาคม 25x1
เงิ นเดือนและค่าแรง
ค่าเช่ า
ค่าสาธารณูปโภค
วัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป
ค่าเบี้ยประกันภัย
ค่าเสื่อมราคา -อุปกรณ์สานักงาน
หนี้ สงสัยจะสูญ
ดอกเบี้ยจ่าย
กาไรสุ ทธิ
52,000 รายได้จากการให้บริ การ
28,000
7,800
3,700
3,000
6,000
880
390
38,230
140,000
หน่ วย : บาท
140,000
140,000
ณ วัน
บริษทั อุบลรัตน์ จากัด
งบดุล
ที่ 31 ธันวาคม 25x1
หน่ วย : บาท
สิ นทรัพย์
หนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถื อหุ้น
นทรัพย์ หมุนเวียน
หนีส้ ิ นหมุนเวียน
เงิ นสด
166,600
เจ้าหนี้ การค้า
32,000
ลูกหนี้ การค้า
44,000
ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย
600
หัก ค่าเผือ่ หนี้ สงสัยจะสูญ 880 43,120
ดอกเบี้ยค้างจ่าย
390
วัสดุสิ้นเปลือง
500
รวมหนี้ สินหมุนเวียน
32,990
ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า
9,000
เงินกู้ระยะยาว
52,000
รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน
219,220 รวมหนี้ สิน
84,990
ดิน อาคารและอุปกรณ์
ส่ วนของผู้ถื อหุ้น
อุปกรณ์สานักงาน
35,000
ทุนหุ ้นสามัญ
100,000
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม
12,000
กาไรสะสม
57,230
รวมทีด่ ิน อาคารและอุปกรณ์
23,000 รวมส่วนของผูถ้ ือหุ ้น
157,230
รวมสิ นทรัพย์
242,220 รวมหนีส้ ิ นและส่ วนของผู้ถื อหุ้น
242,220