2.Hinduism - ศูนย์พุทธศาสนศึกษา ม.เกษตร

Download Report

Transcript 2.Hinduism - ศูนย์พุทธศาสนศึกษา ม.เกษตร

ศาสนา พราหมณ์-ฮินดู
ประวัติความเป็ นมา
• เป็ นศาสนาที่เก่าแก่ และมีถิ่นกาเนิดที่ประเทศอินเดีย ได้ เรี ยกว่าศาสนาพราหมณ์ ฮินดู แต่บางคนก็เรี ยกสั ้นๆ ว่าศาสนาฮินดู ตามชื่อศาสนิกชนที่นบั ถือ ซึง่ เรี ยกว่าชาว
ฮินดูหรื อฮินดูชน
• ในยุคพระเวท พวกอารยันซึง่ เป็ นพวกผิวขาวได้ เดินทางมาจากตอนใต้ ของรัสเซียเข้ า
มาขับไล่พวก ดราวิเดียน ซึง่ เป็ นพวกผิวดา ชนพื ้นเมืองเดิมของอินเดี ย พวกดราวิ
เดียนบางพวกได้ พากันหนีไปอยู่ที่ ศรี ลงั กาและ บางพวกก็ได้ สืบเชื ้อสายผสมผสาน
เผ่าพันธุ์กบั พวกอารยันกลายเป็ นคนอินเดียในปั จจุบนั คนอารยันนับถื อพระอาทิตย์
ส่วนพวกชนพื ้นเมืองเดิมบูชาและนับถือไฟ จึงได้ พยายามเผยแผ่ความเชื่อ ของตน
โดยชี ้ให้ เห็นว่า ดวงไฟที่ยิ่งใหญ่นนั่ คือดวงอาทิตย์ จึงควรนับถื อพระอาทิตย์ซงึ่ เป็ น
ที่มาของไฟทั ้งปวงในโลกมนุษย์ ทาให้ แนวความคิดทางศาสนาของชนพื ้นเมื องเดิม
กับพวกอารยัน ผสมผสานเข้ าด้ วยกันจนเกิดเป็ นศาสนาพราหมณ์ขึ ้น
เทพเจ้าในศาสนาฮินดู
• ศาสนาฮินดูเป็ นเทวนิยม (Theism) ที่เชื่อว่าพระเจ้ าทรงสร้ างจักรวาล มี เทพเจ้ า
หลายองค์ในศาสนาฮินดู ที่สาคัญ คือ ตรี มูรติ ได้ แก่ พระพรหม พระวิ ษณุ และ
พระศิวะ เทพเจ้ าที่ 3 องค์นี ้เป็ น 3 ลักษณะที่แสดงออกของสิ่งสูงสุดหนึ่ง ที่เรี ยกว่า
พรหมัน (Brahman)
พระพรหม
1.พระพรหม (Brahma) ท าหน้ า ที่
เป็ นพระผู้ สร้ าง มี ช ายาชื่ อ พระ
สรั สวดี พาหนะประจ าพระองค์ คื อ
หงส์
ภาพ พระพรหม จาก http://www.rmutphysics.com
พระวิษณุ
• พระวิษณุ (Visnu)หรื อพระนารายณ์
ท าหน้ าที่ เ ป็ นพระผู้ พิ ทั ก ษ์ รั ก ษามี
ชายาชื่ อ พระลั ก ษมี มี ค รุ ฑเป็ น
พาหนะ
ภาพ พระวิษณุ จาก
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=doctorwar&month=122009&date=05&group=1&gblog=29
พระศิวะ
• พระศิวะ (Siva) หรื อพระอิศวร
ทาหน้ า ที่ เ ป็ นพระผู้ท าลาย มี
ชายาชื่ อ พระอุ ม า มี โ คสี ข าว
เป็ นพาหนะ
ภาพพระศิวะ จาก http://www.hinduthailand.com/
นิ กายในศาสนาฮินดู
• ศาสนาฮินดู ที่สืบเนื่องจากศาสนาพราหมณ์นบั เป็ นศาสนาที่เก่าแก่มากที่สดุ ได้ แบ่ง
ออกเป็ นหลายนิกายที่สาคัญ เช่น
๑. นิกายไวศณพ (Vishnav) เป็ นนิกายที่นบั ถื อ
พระวิษณุเจ้ าเป็ นเทพองค์ สูงสุด เชื่อ ว่า วิษณุสิบ
ปาง หรื อนารายณ์ ๑๐ ปางอวตารลงมาจุติ มีพระ
ลักษมีเป็ นมเหสี มีพญาครุ ฑเป็ นพาหนะ นิก ายนี ้มี
อิทธิพลมากในอินเดียภาคเหนือและภาคกลาง ของ
ประเทศ นิกายนี ้เกิดเมื่อ พ.ศ. ๑๓๐๐ สถาปนาโดย
ท่านนาถมุนี (Nathmuni)
ภาพ พระวิษณุ จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู
๒. นิกายไศวะ (Shiva) เป็ นนิกายที่เก่าที่สดุ นับ
ถือพระศิวะเป็ นเทพเจ้ าสูงสุด พระศิวะเป็ นเทพ
ทาลายและสร้ างสรรค์ด้วย สัญลักษณ์ อย่างหนึ่ง
แทนพระศิวะคือศิวลึงค์และโยนีก็ได้ รับ การบูชา
เช่น องค์ พระศิวะ นิกายนีถ้ ื อว่าพระศิว ะเท่านัน้
เป็ นเทพสูงสุดแม้ แต่พระพรหม, พระวิษณุก็เป็ น
รองเทพเจ้ าพระองค์นี ้ นิกายนีเ้ ชื่อว่า วิ ญญาณ
เป็ นวิถีทางแห่งการหลุดพ้ นมากกว่าความเชื่อใน
ลัทธิภกั ดี นิกายนี ้จะนับถือพระศิวะและพระนาง
อุมาหรื อกาลีไปพร้ อมกัน
ภาพพระศิวะ จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู
๓. นิกายศักติ (Shakti) เป็ นนิกายที่นบั ถือพระ
เทวีหรื อพระชายาของมหาเทพเช่น สรัสวดี พระ
ลักษมี พระอุมา เจ้ าแม่ทรุ คา และเจ้ าแม่กาลีซงึ่
เป็ นชายาของมหาเทพทังหลาย
้
เป็ นผู้ทรงกาลัง
หรื ออานาจของเทพสามีไว้ จึงเรี ยกว่า ศักติ
(Power) นิกายนี ้เป็ นที่นิยมในรัฐเบงกอล และ
รัฐอัสสัม เป็ นต้ น
ภาพ พระลักษมี จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู
๔. นิกายคณะพัทยะ (Ganabadya) นิกายนี ้นับ
ถื อ พระพิ ฆ เณศเป็ นเทพเจ้ าสู ง สุ ด ถื อ ว่ า พร ะ
พิ ฆ เนศเป็ นศู น ย์ ก ลางแห่ ง เทพเจ้ าทั ง้ หมดใ น
ศาสนา เชื่ อ ว่ า เมื่ อ ได้ บู ช าพระพิ ฆ เนศอย่ า ง
เคร่งครัด ก็เท่ากับได้ บชู าเทพอื่นๆ ครบทุกพระองค์
ภาพ พระพิฆเณศ จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู
๕. นิกายสรภัทธะ (Sarabhadh) เป็ น
นิกายขนาดเล็ก ในสมัยก่อนบูชาพระ
อาทิตย์ (สูรยะ) มีผ้ นู บั ถือมากในอดีต
ปั จจุบนั มีจานวนน้ อย นิกายนี ้มีพิธีอย่าง
หนึง่ คือ กายตรี หรื อ กายาตรี (Gayatri)
ถือว่ามีอานาจศักดิ์สิทธิ์ คือการกลับมา
ของพระอาทิตย์เป็ นฤๅษีวิศวามิตร
ภาพ สูรยะ จาก http://www.siamganesh.com
นิ กายในศาสนาฮินดู
๖. นิกายสมารธะ (Samardha) เป็ นนิกายที่ใหญ่พอสมควร นับถือทุกเทพเจ้ าทุก
พระองค์ในศาสนา ฮินดู ความเชื่อแบบนี ้เป็ นที่นิยมอย่างแพร่ หลาย เพราะสามารถ
บูชาเจ้ าได้ ตามต้ องการ
ยังมีนิกายอื่นๆอีกมากมาย และแยกย่อยออกไปอีก เช่นเดียวกับศาสนาพุทธ และ ศาสนา
คริ สต์ ที่มีนิกายน้ อย-ใหญ่ แตกแขนงออกมาอีกนับไม่ถ้วน
หลักคาสอน
• หลักอาศรม ๔
หลักอาศรม ๔ หมายถึง ขันตอนของชี
้
วิต หรื อ ทางปฏิบตั ิเพื่อยกระดับชีวิตให้
สูงขึ ้น มี 4 ประการ คือ
พรหมจารีี เป็ นขันตอนของเด็
้
กชายตระกูล พราหมณ์ ทกุ คน จะต้ องรับการคล้ อง
ด้ าย ศักดิ์สิทธิ์ จากอาจารย์ พิธีคล้ องด้ ายศักดิ์สิทธิ์ เรี ยกว่า "ยัชโญปวีต" เมื่อได้ รับ
การคล้ องแล้ ว เท่ากับประกาศตนเป็ นพรหมจารี ถือว่าเป็ น พราหมณ์ โดยสมบูรณ์
จากนัน้ จะต้ องศึกษา อยู่ในสานักของอาจารย์จนสาเร็จการศึกษา
คฤหัสถ์ หรื อผู้ครองเรื อน เมื่อสาเร็ จการศึกษา แล้ ว จะกลับบ้ านเรื อนของตน เพื่อ
แต่งงาน และมีบตุ ร
หลักคาสอน
วานปรั สถี์ เป็ นช่ ว งเวลาที่ พ พราหมณ์ ปฏิ บั ติ ต น เพื่ อ สั ง คมและ
ประเทศ เมื่อครอบครัวเป็ นปึ กแผ่น และบุตรได้ ออกเรื อนเป็ นที่เรี ย บร้ อยแล้ ว
พราหมณ์ ผ้ เู ป็ นหัวหน้ าครอบครัวจะออกป่ า เพื่อแสวงหาความวิเวกและฝึ กจิต
ของตน ซึ่งอาจ กระทาเป็ นครัง้ คราวแล้ วกลับสู่เรื อนก็ได้ ซึ่งคล้ ายกับชาวไทย
ในพุทธศาสนา ซึง่ เมื่อแก่เฒ่าลง ก็จะหันหน้ าเข้ าหาวัด
สันยาสี เป็ นระยะเวลาที่พราหมณ์ ทาเพื่อมนุษยชาติทงปวง
ั้
เป็ นการสละชีวิต
คฤหัสถ์ ของ ผู้ครองเรื อน เพื่อเข้ าป่ าออกบวช และเพื่อจุดหมายสูงสุดของ
ชีวิต คือ โมกษะ
พิธีกรรม
• ภาษาสันสกฤตจะเรี ยกพิธีกรรมทางศาสนาว่า สังสการ ซึง่ หมายถึงพิธีที่ชาวฮินดู ต้ อง
ปฏิบตั ิ ในแต่ระยะของชีวิตโดยแบ่งเป็ นคร่าวๆดังนี ้
พิธีก่อนคลอด ๓ พิธี
๑. ครภาธานะ สังสการ
๒. ปุงสวนะ สังสการ
๓. สีมนั โตนนยนะ สังสการ
พิธีตงครรภ์
ั้
ถดั จากวันวิวาห์
พิธีเพื่อให้ ได้ บตุ รชาย
พิธีแยกผมหญิงในระยะตังครรภ์
้
แล้ ว
พิธีกรรม
พิธีหลังคลอดตอนยังเป็ นเด็ก ๖ พิธี
๑. ชาตกรมะ สังสการ
พิธีเกิด
๒. นามกรณะ สังสการ
พิธีตงชื
ั ้ ่อ
๓. นิษกรมณะ สังสการ
พิธีนาเด็กไปดูพระอาทิตย์ขึ ้นครัง้ แรก
๔. อันนปราศนะ สังสการ
พิธีป้อนข้ าวน ้า
๕. จุฑากรมะ สังสการ
พิธีโกนจุก
๖. กรณเวธะ สังสการ
พิธีเจาะหู
พิธีเกี่ยวกับการศึกษา ๓ พิธี
๑. อุปนยนะ สังสการ
๒. เวทารัมภะ สังสการ
๓. สมาวรตนะ สังสการ
พิธีเริ่ มการศึกษาให้ เป็ นทวิชาติ
พิธีเริ่ มการศึกษาพระเวท
พิธีต้อนรับกลับบ้ านหลังสาเร็จการศึกษา
พิธีกรรม
พิธีหลังสาเร็จการศึกษา ๔ พิธี
๑. วิวาหะ สังสการ
พิธีแต่งงาน
๒. วานปรัสถะ สังสการ
พิธีออกไปอยู่ป่า
๓. สันนยาสะ สังสการ
พิธีบวชเป็ นฤษี
๔. อันตเยษฏิ สังสการ
พิธีศพ
เทศกาลต่างๆ
เทศกาลที่ชาวฮินดูเฉลิมฉลองมีมากมายนับไม่ถ้วน แตกต่างกันไปตามสถานที่และภูมิภาค
ต่างๆของประเทศอินเดีย
๑. เทศกาลทีวาลี เป็ นเทศกาลเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของพืชพันธุ์ธญ
ั ญาหาร
๒. เทศกาลโหลี เป็ นเทศกาลเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของพืชธัญญาหาร เหมือน
เทศกาลทีปาวลี
๓.เทศกาลมหาศิวราตรี
๔.เทศกาลนวราตฃรี
๕.เทศกาลกุมภเมละ
ศาสนสถาน
หอพระอิศวรจาก http://www.krusupap\.com
หอพระอิศวรเป็ นโบราณสถานใน
ศาสนาพราหมณ์ลทั ธิไศวนิกาย บูชา
พระอิศวรหรื อพระศิวะเป็ นใหญ่ เหนือ
เทพองค์อื่น ๆ ในศาสนาฮินดู หอพระ
อิศวร เป็ นที่ประดิษฐานรูปเคารพพระ
อิศวร เป็ นเทพองค์หนึง่ ในจานวนเทพ
ที่เคารพสูงสุด 3 องค์ของศาสนา
พราหมณ์ ได้ แก่ พระพรหม พระ
อิศวร และพระนารายณ์
ศาสนสถาน
หอพระนารายณ์ จากhttp://www.krusupap.com
เป็ น โบราณสถานในศาสนาพราหมณ์
ลัท ธิ ไวษณพนิ กาย บูชาพระนารายณ์
เป็ นใหญ่เหนือเทพองค์อื่น ๆ เป็ นเทวส
ถานส าหรั บ ประกอบพิ ธี ก รรมของ
ศาสนาพราหมณ์ เพราะพราหมณ์ ที่
เข้ ามานครมีอยู่ 2 พวก พวกแรกนับถือ
พระอิ ศวรเป็ นใหญ่ กระท าพิ ธี ก รรมที่
หอพระอิ ศ วรหรื อ ฐานพระสยม พวก
หลั ง นั บ ถื อ พระนารายณ์ เป็ นใหญ่
กระทาพิธีกรรมที่หอพระนารายณ์
สรุป เรื่องราวในวันนี้
๑. ศาสนานี ้นับถือเทพเจ้ าหลายองค์ เรี ยกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้ าแต่ละองค์ในแต่ละยุค
สมัย มีบทบาท และตานานต่างกันไป ในแต่ละท้ องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกั บเทพเจ้ าองค์
หนึง่ ๆ แตกต่างกันไปด้ วย
๒. ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเป็ นศาสนาที่มีผ้ นู บั ถือมากเป็ นอันดับที่
๔ ของโลก มีจานวนประมาณ ๙๐๐ ล้ านคน
๓. พระพุทธศาสนาก็เกิดขึน้ ท่ามกลางสังคมพราหมณ์ แม้ แต่พระพุทธเจ้ าและ
พุท ธสาวกสมัย แรกๆ ก็ เ คยนับ ถื อ ลัท ธิ พ ราหมณ์ ห รื อ เคยเกี่ ย วข้ อ งกับ วรรณะ
พราหมณ์ ม าก่ อ น และในนิ ท านชาดก และเรื่ อ งราวเกี่ ย วกับ ศาสนาพุท ธและ
พระพุทธเจ้ า ก็มกั จะมีพราหมณ์ เข้ ามาเกี่ยวข้ อง จึงกล่าวได้ ว่า ศาสนาพุทธและ
พราหมณ์ จึงมีอิทธิพลต่อกันและกัน
ขอขอบคุณเพื่อนๆทุกคน
ที่อดทนฟั งเรา
และที่สาคัญที่สุด ขอขอบคุณ อ.ชัชวาลย์
ที่ทาให้งานวันนี้ สาเร็จลงได้ดว้ ยดี
ณัชพล, ชัยวัตร : 2553