Document 7726732

Download Report

Transcript Document 7726732

ประวัตลิ ัทธิเศรษฐกิจและเศรษฐกิจไทย
(A History Economic Though Dogmatic and
Economy Thai)
นัทธปราชญ์ นันทิวฒ
ั น์กลุ
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
1
กติกามารยาท
 มีเวลาให้ รักษา
 รั บผิดชอบต่ องาน
 เรี ยนก็เหมือนเรี ยน อย่ าเรี ยนเหมือนเล่ น
 จริ งจังและใสใจ
 สุ จิ บุ ลิ เป็ นวิธีเรี ยนที่เป็ นเล่ นกว่ าวิธีทงั ้ บวง
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2
คาอธิบายรายวิชา
 ศึกษาวิวัฒนาการของแนวคิดเศรษฐศาสตร์ โดย
เน้ นแนวคิดเศรษฐศาสตร์ สานักพาณิชย์ นิยม
คลาสสิก นีโอ-คลาสสิก เคนส์ และสังคมนิยม
ตลอดจนศึกษาโครงสร้ างเศรษฐกิจไทย
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
3
จุดประสงค์รายวิชา






เพื่อศึกษาวิวัฒนาการของแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ สานัก
พาณิชย์ นิยม คลาสสิก นีโอ-คลาสสิก เคนส์ และสังคมนิยม
สามารถเปรียบเทียบแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ สานักต่ างๆ
มีความเข้ าใจในแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ของแต่ ละสานัก
ศึกษาวิวัฒนาการเศรษฐกิจประเทศไทย
ศึกษาโครงสร้ างเศรษฐกิจประเทศไทย
ศึกษากลไกการบริหารนโยบายเศรษฐกิจ
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
4
เนื ้อหาวิชา
ส่ วน 2 เศรษฐกิจประเทศไทย
ส่ วน 1 ประวัติลทั ธิเศรษฐกิจ






ความเป็ นมาของประวัตลิ ัทธิ
เศรษฐกิจ
ลัทธิเศรษฐกิจยุคก่ อนสานัก
คลาสสิก
ลัทธิเศรษฐกิจสานักคลาสสิก
ลัทธิเศรษฐกิจสานักเคนส์
ลัทธิเศรษฐกิจสานักคาร์ ล มาร์ กซ์
การพัฒนาลัทธิเศรษฐกิจ
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี






การศึกษาประวัตศิ าสตร์ เศรษฐกิจ
ประเทศไทย
ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐกิจประเทศไทย
โครงสร้ างเศรษฐกิจประเทศไทย
การพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทย
การวิเคราะห์ เศรษฐกิจประเทศไทย
แนวโน้ มเศรษฐกิจประเทศไทยระยะ
แผนฯ 10
5
เกณฑ์ การวัดผลประเมินผล
เกณฑ์ ผ่าน
40 %
 ตัดเกรดโดยใช้
t-score
 การเก็บคะแนน
 สอบกลางภาค
35 %
 สอบปลายภาค
35 %
 สอบย่ อย
10 %
 รายงานกลุ่ม
10 %
 รายงานเดี่ยว
10 %

สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
6
รายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยว
 งานเดี่ยว
อ่ านหนังสือนอกเวลาแล้ ว สรุ ป
อธิบาย และอภิปราย
 โต้ วาที กลุ่มละ 5 คน
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
7
หนังสือประกอบการสอน
 อัมพร
วิจติ รพันธ์ และวิรัช ธเนศรวร. 2539.
ประวัตลิ ัทธิเศรษฐกิจ. สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัย
รามคาแหง.
 อสัมภินพงศ์ ฉัตราคม. 2541. ประวัตศ
ิ าสตร์
เศรษฐกิจ. สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

. 2542. ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐกิจไทย.
สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
8
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
9
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
10
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
11
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
12
กาเนิดประวัติลทั ธิเศรษฐกิจ
ยุคหิน (Paleolithic Age) ระหว่ าง 3 ล้ านปี ถึง 10,000 ปี ก่ อนคริสตกาล
ทุกทวีปของโลกมีปรากฏหลักฐานการเกิดขึน้ เป็ นชุมชน มีการพัฒนา
เครื่องมือเพื่อหาอาหาร เช่ น เครื่องมือหินกะเทาะ
 ยุคหินใหม่ (Neolithic) อยู่ในราว 10,000 ปี ก่ อนคริ สตกาล มีการอยู่
ร่ วมกันเป็ นชุมชนโดยไม่ มีการเคลื่อนย้ ายเพื่อแสวงหาพืน้ ที่ท่ อี ุดม
สมบูรณ์ เกิดระบบเศรษฐกิจขึน้ เพราะมนุษย์ ร้ ูจักวิธีการเพาะปลูก
 ยุคโลหะ (Copper Age) อยู่ในราว 4,000 ปี ก่ อนคริ สตกาล มี
พัฒนาการของมนุษยชาติท่ รี วดเร็วที่สุด เพราะเกิดสิ่งประดิษฐ์
เครื่องมือเครื่องใช้ ท่ เี ป็ นทองแดงและสาริด รู้จักการสะสมโลหะมีค่า
ได้ แก่ เพชร พร่ อย ทองคา เกิดระบบการปกครองแบบกษัตริย์
ปกครอง มีระบบชนชัน้ นักรบ ขุนนาง พระ พ่ อค้ า ช่ างฝี มือ ชาวนา
และชนชัน้ ทาส

สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
13
ยุคอารยธรรม (Civilization)
ลุ่มนา้ สาคัญ 4 แม่ นา้
- แม่ นา้ ไทกรี ส-ยูเฟรตีส อารยธรรมเมโสโปเตเมีย กลุ่มชนที่
อาศัยรวมกันในแถบนีม้ ีชาวสุเมเรี ยน ชาวอัคคาเดียน ชาวอมอไรต์ ชาว
คาลเดียน และชาวอัสซีเรี ยน
- แม่ นา้ ไนล์ อารยธรรมอียปิ ต์ หรื อประเทศอียิปต์ ในปั จจุบัน
- แม่ นา้ ฮวงโห อารยธรรมจีน หรื อประเทศจีนในปั จจุบัน
- แม่ นา้ สินธุ แถบทวีปเอเชียใต้ ในปั จจุบัน ชนชาติผ้ ูสร้ างอารย
ธรรมอินเดียมีสองพวกคือ พวกดราวิเดียน และพวกอินโดอารยัน
- อารยธรรมกรี ก บริเวณฝั่ งทะเลเมติเตอร์ เรเนียน
- อารยธรรมโรมัน บริเวณฝั่ งทะเลเมติเตอร์ เรเนียน
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
14
รากฐานของแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
มีสาเหตุ 4 ประการ
- ประการแรก ความพยายามดิน้ รนเพื่อความอยู่รอด มีชีวติ ที่ยืนยาวและ
เอาชนะธรรมชาติ ทาให้ มีการพัฒนาเทคโนโลยีและวิทยาการ
- ประการที่สอง การรวมกลุ่มหรื อการอยู่รวมกันเป็ นสังคม มีการสร้ างระบบ
กฎเกณฑ์ เพื่อให้ มีการใช้ ทรั พยากรอย่ างเป็ นระเบียบ
- ประการที่สาม การเมือง การปกครอง ผู้ปกครองมีการขยายอานาจ จึงต้ อง
แสวงหาความมั่งคั่ง และเตรี ยมเข้ าสู่ภาวะสงคราม
- ประการที่ส่ ี ความเชื่อในศาสนาหรื อเทพเจ้ า ประชาชนอยู่ในฐานะผู้ส่งเสริม
สนับสนุนและทานุบารุ งศาสนาหรื อเทพเจ้ า
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
15
พัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร์ ?
ระยะแรกระยะแผงตัว (ก่ อน คศ. – ศตวรรษที่ 14 เนือ้ หาเศรษฐศาสตร์ ผสม
บนกับการเมืองการปกครอง ศาสนา และวิถีชีวติ ความเป็ นอยู่
 ระยะสอง ก่ อตัวระยะแรก (ศตวรรษที่ 14 – 16) ปรั ชญาของ เพลโต (Barber,
William J . 1971) ได้ อธิบายในประเด็นเรื่ องความยุตธิ รรมของชัน้ ชนในสังคม
การค้ ากาไรเกินควร (Abnormal Profit) ราคายุตธิ รรม (Just Price)
นอกจากนีย้ ังกล่ าวถึงเรื่ องความมีศีลธรรม และจริยธรรมในสังคมการ
ปกครอง ปรั ชญาของ อริสโตเติล (Barber, William J . 1971) กล่ าวถึงการ
สะสมความมั่งคั่ง และมูลค่ าของสินค้ า ปรั ชญาของอริสโตเติล เป็ นรากฐาน
ของกลุ่มสานักพาณิชย์ นิยม (Mercantilism)
 ระยะที่สาม ก่ อตัวสู่ขัน
้ การพัฒนา (ศตวรรษที่ 16 – 18) ปรั ชญาของสานัก
พาณิชย์ นิยม และเป็ นยุคแห่ งการล่ าอาณานิคม เพื่อสร้ างความมั่งคั่งให้ แก่
ประเทศ

สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
16
พัฒนาการของวิชาเศรษฐศาสตร์ ?
ระยะที่ส่ ี กาเนินวิชาเศรษฐศาสตร์ (ศตวรรษที่ 18 – 19) สานักคลาสสิก
(Classical) โดย อดัม สมิท (Adam Smith) เขียนหนังสือเรื่ อง The Wealth of
Nation และเป็ นระยะที่มีการพัฒนาทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ อย่ างมาก เกิด
สานักมาร์ กซิสต์ (Marxism) นีโอ-คลาสสิก (Neo-Classical) และแนวคิด
ออสเตรี ยน (Austrian)
 ระยะสุดท้ าย การเปลี่ยนแปลงวิชาเศรษฐศาสตร์ (ศตวรรษที่ 20) เคนส์
(Keynes) เป็ นผู้เปลี่ยนวิชาเศรษฐศาสตร์ จากเศรษฐศาสตร์ การเมือง และ
ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี เป็ นเศรษฐศาสตร์ จุลภาคและเศรษฐศาสตร์ มหภาค
และแตกสาขาเศรษฐศาสตร์ ออกเป็ นหลายสาขา อาทิ เศรษฐศาสตร์ การเงิน
และธนาคาร เศรษฐศาสตร์ ทรั พยากรมนุษย์ เศรษฐศาสตร์ ระหว่ างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ การพัฒนา เศรษฐศาสตร์ อุตสาหกรรม ระบบเศรษฐกิจแบบ
ผสม และสังคมนิยม

สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
17
Adam Smith
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
David Ricardo
April 18, 1772 –
September 11, 1823
18
Milton Friedman
1912สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Alfred Marshall
1842-1924
19
Marx, Karl
(1818-1883)
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Engel, George
(1836-1887)
20
John Maynard Keynes
June 5, 1883-April 21, 1946
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
21
The Cambridge
Keynesians
Franco Modigliani
1918
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
22
วิวฒ
ั นาการสาขาเศรษฐศาสตร์
ก่ อน
ศตวรร ศตวรรษที่ ศตวรรษ
ษที่ 15
15
ที่ 16
สถานะในปั จจุบัน
ศตวรรษที่
17
ศตวรรษที่
18
ศตวรรษ
ที่ 19
ศตวรรษ
ที่ 20
แนวคิดเศรษฐกิจ
การเมือง
Neo-Mercantilism
แนวคิดเศรษฐกิจการเมือง
Mercantilism
Classical
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Neo-Classical
Libertarian
Neo-Marxism
Keynesia- Post-Keynesianism
nism Neo-Keynesianism
Neo-Classical
Austrian
Marxism
23
ความหมายของประวัติลทั ธิเศรษฐกิจ
 ประวัติ หรื อ ประวัตศ
ิ าสตร์
(History) หมายถึง การศึกษา
ความเป็ นมาของสถาบันทางสังคม การเมือง กฎหมาย
เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ เป็ นต้ น
 เศรษฐกิจ (Economy) หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตัง้ แต่ ผ้ ูบริโภค ผู้ผลิต และรัฐบาล
 ลัทธิ (Doctrines) หมายถึง ระบบ , หลักการ , แนวคิด ,
ความเชื่อ หรือ ความนิยม
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
24
ความหมายของประวัติลทั ธิเศรษฐกิจ
ประวัตศิ าสตร์
(History)
ลัทธิ
(Doctrines)
เศรษฐกิจ
(Economy)
ประวัตลิ ัทธิเศรษฐกิจ
(History of Economic Doctrines)
หมายถึง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับประวัตศิ าสตร์ แนวคิด / ความเชื่อ /
ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้ องกับเศรษฐกิจหรือก็คือทฤษฎีทาง
เศรษฐศาสตร์
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
25
ความสาคัญของประวัตลิ ทั ธิเศรษฐกิจ





ทาให้ ผ้ ูศกึ ษาสาขาเศรษฐศาสตร์ มีทัศนคติท่ กี ว้ างในการศึกษาสาขา
เศรษฐศาสตร์ มากขึน้
ทาให้ ผ้ ูศกึ ษาเข้ าใจว่ าแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ มีการเคลื่อนไหว
หรื อเปลี่ยนแปลง (พลวัตทิ ฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ )
ทาให้ ผ้ ูศกึ ษาเข้ าใจว่ าทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เป็ นทฤษฎีท่ เี กี่ยวข้ องกับ
พฤติกรรมของมนุษย์
ทาให้ ผ้ ูศกึ ษาสามารถพัฒนาแนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ใหม่ ๆ ได้
ทาให้ ผ้ ูศกึ ษาสามารถประยุกต์ ใช้ แนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ ในการ
วิเคราะห์ เหตุการณ์ หรื อสถานการณ์ หรื อพฤติกรรมทางเศรษฐกิจได้
สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
26
แนวทางการศึกษาประวัตลิ ทั ธิเศรษฐกิจ
ศึกษาตามวิธีการศึกษาเศรษฐศาสตร์ การเมือง ได้ แก่ ลัทธิเสรีนิยม
(Liberalism) หรือ ทุนนิยม (Capitalism) ลัทธิสังคมนิยม (Socialism)
หรือ ลัทธิเผด็จการ (Fascism) และลัทธิผสม (Mixism)
 ศึกษาตามสานักคิด (School) ได้ แก่ สานักคลาสสิก สานักคลาสสิก
ใหม่ สานักเคนส์ สานักเคนส์ ใหม่ สานักการเงินนิยม สานักสังคม
นิยมของมาร์ ก
 ศึกษาตามบุคคล หรื อ ก็คือตามนักคิดทางเศรษฐศาสตร์ อาทิ อดัม
สมิธ, มัลทัส, เดวิด ริคาร์ โด, เคนส์ , มาร์ ก, เอง เกล
 ศึกษาตามทฤษฎี อาทิ ทฤษฎีมูลค่ า ทฤษฎีการเงิน ทฤษฎีการ
ผลิต ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน ทฤษฎีราคา ทฤษฎีค่าเช่ า

สาขาเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
27