สภาวะโลกร้อน (Global Warming) : สัญญาณเตือนภัยจากธรรมชาติ ก่อนที่โลกจะถึงกาลอวสาน

Download Report

Transcript สภาวะโลกร้อน (Global Warming) : สัญญาณเตือนภัยจากธรรมชาติ ก่อนที่โลกจะถึงกาลอวสาน

สภาวะโลกร้ อน
(Global Warming) :
สัญญาณเตือนภัยจากธรรมชาติ
ก่ อนที่โลกจะถึงกาลอวสาน
ปรากฏการณ์ สภาวะโลกร้ อนในธรรมชาติ
ภูมอิ ากาศของโลกเกิดจาก
การไหลวนของพลังงานจาก
ดวงอาทิตย์ พลังงานนีส้ ่ วน
ใหญ่ เข้ ามาสู่โลกในรู ป
แสงแดด ประมาณ ร้ อยละ
30 ของพลังงานที่เดินทางมา
สู่โลกได้ สะท้ อนกลับไปสู่
ห้ วงอวกาศ แต่ อีกร้ อยละ 70
ได้ ถกู ดูดซับโดยผ่ านชัน้
บรรยากาศลงมาให้ ความ
อบอุ่นกับพืน้ ผิวโลก
ก๊ าชเรือนกระจก


เป็ นสิ่งขวางกัน้ แสงอินฟราเรดในบรรยากาศที่โลกสะท้ อนกลับ จาก
พืน้ ผิวสู่บรรยากาศได้ เหมือนกับแสงสว่ าง
ปรากฏการณ์ ท่ ีความร้ อนถูกกักเก็บไว้ ในชัน้ บรรยากาศนี ้ เป็ นที่ร้ ู จัก
กันว่ า "ปรากฏการณ์ เรื อนกระจก" (Greenhouse Effect) เนื่องจากเป็ น
ปรากฏการณ์ ท่ ีมีลักษณะคล้ ายคลึงกับสภาพที่เกิดขึน้ ภายในเรื อน
กระจกที่ใช้ สาหรั บปลูกพืชในประเทศเขตหนาว
ก๊ าซเรือนกระจกคืออะไร

ก๊ าซเรื อนกระจก (Greenhouse Gas) เป็ นก๊ าซที่มี
คุ ณสมบัติในการดูดซับ คลื่ น รั ง สี ความร้ อน หรื อรั งสี อิน
ฟาเรตได้ ดี ก๊ าซเหล่ านี ้มี ค วามจ าเป็ นต่ อการรั ก ษา
อุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้ คงที่
ก๊ าซเรื อนกระจกทีถ่ ูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2)
ก๊ าซมีเทน (CH4)
ก๊ าซไนตรัสออกไซด์ (N20)
ก๊ าซไฮโดรฟลูออโรคาร์ บอน (HFC)
ก๊ าซเพอร์ ฟลูออโรคาร์ บอน (CFCS)
ก๊ าซซัลเฟอร์ เฮกซะฟลูออไรด์ (SF6)
ทัง้ นี ้ ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ท่ สี าคัญ
อีกชนิดหนึ่ง คือ สารซีเอฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon)
ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2)

เป็ นก๊ าซที่ส่งผลกระทบต่ อบรรยากาศ
โลกมากที่สุด ซึ่งประเทศไทยเองก็มี
การปล่ อยก๊ าซชนิ ดนี ้อ อกมาใน
บรรยากาศไม่ น้ อยหน้ าประเทศอื่ น
โดยมีท่ มี าจากการเผาผลาญเชือ้ เพลิง
ฟอสซิ ล ไม่ ว่ า จะเป็ นถ่ า นหิ น น า้ มั น
เชื อ้ เพลิ ง หรื อ ก๊ า ซธรรมชาติ เพื่ อ
ผลิตพลังงานไฟฟ้ า
ลาดับประเทศที่ปล่ อยควันพิษของโลกมีปริ มาณ
สะสมมาตัง้ แต่ ปี 1950
1. สหรั ฐอเมริกา 186,100 ล้ านตัน
2. สหภาพยุโรป 127,800 ล้ านตัน
3. รั สเซีย 68,400 ล้ านตัน
4. จีน 57,600 ล้ านตัน
5. ญี่ปุ่น 31,200 ล้ านตัน
6. ยูเครน 21,700 ล้ านตัน
7. อินเดีย 15,500 ล้ านตัน
8. แคนาดา 14,900 ล้ านตัน
9. โปแลนด์ 14,400 ล้ านตัน
10. คาซัคสถาน 10,100 ล้ านตัน
11. แอฟริกาใต้ 8,500 ล้ านตัน
12. เม็กซิโก 7,800 ล้ านตัน
13. ออสเตรเลีย 7,600 ล้ านตัน
ก๊ าซมีเทน (CH4)

สาเหตุ ห ลั ก มาจาก การตั ด ไม้
และการเผาป่ า นอกจากนี ก้ าร
ท านาข้ าว การเลี ย้ งวั ว ควาย
การถมขยะ การท าเหมื อ งแร่
และการผลิตถ่ านหิน
ก๊ าซไนตรัสออกไซด์ (N20)

ไนตรั สออกไซด์ จะดูดความร้ อน ไว้
ได้ นับร้ อยๆ ปี เพราะโมเลกุลของ
ก๊ า ซนี ส้ ามารถดู ด ความร้ อนไว้ ไ ด้
นาน กว่ าโมเลกุลของคาร์ บอนไดออกไซด์ ถึง 100 เท่ า แต่ ไนตรั ส
ออกไซด์ ทาลายโมเลกุลของโอโซน
ได้ น้อยกว่ าซีเอฟซีร้อยละ 25 ซึ่ง
ไนตรสออกไซค์ พบได้ มากที่ป๋ ุยเคมี
และถ่ านหิน
ก๊ าซเพอร์ ฟลูออโรคาร์ บอน (CFCS)

ประมาณร้ อยละ 33 ของปริ ม าณ
ทัง้ หมด ที่ใช้ ในอุตสาหกรรมเครื่ อง
ท าความเย็ น เพื่ อ ใช้ ใ นตู้ เ ย็น ตู้ แ ช่
เย็ น และเครื่ องปรั บ อากาศทั ง้ ใน
อาคารและในรถยนต์ ร้ อยละ 25
ใ ช้ ท า ค ว า ม ส ะ อ า ด ชิ ้ น ส่ ว น
อิเล็กทรอนิกส์ และร้ อยละ 42 ใช้ ใน
อุตสาหกรรมอื่นๆ
ก๊ าซไฮโดรฟลูออโรคาร์ บอน (HFC)

ภาคอุ ต สาหกรรมที่ ใ ช้ ส ารไฮโดรคลอโรฟลู อ อโรคาร์ บอน
สามารถทาลายบรรยากาศชั น้
โอโซนได้ เช่ นกั น เอชซี เ อฟ
ทาลายโอโซนได้ นาน 5 ปี ส่ วน
ซีเอฟซี ทาลายโอโซนได้ นานถึง
25 ปี ส่ วนเอชเอฟซี ไม่ ทาลาย
ชั น้ ของโอโซนเพี ย งแต่ ปิ ดกั ้น
พลังงานความร้ อนเท่ านัน้
ผลกระทบด้ านนิเวศวิทยา

แถบขัว้ โลกได้ รับผลกระทบมากสุ ด
และก่ อให้ เกิ ด การเปลี่ ยนแปลง
มากมายโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ภู เ ขา
นา้ แข็ง ก้ อนนา้ แข็งจะละลายอย่ าง
รวดเร็ ว ทาให้ ระดับนา้ ทะเลทางขัว้
โลกเพิ่มขึน้ และไหลลงสู่ท่ ัวโลกทา
ใ ห้ เ กิ ด น ้ า ท่ ว ม ไ ด้ ทุ ก ท วี ป
นอกจากนี จ้ ะพลอยทาให้ สัตว์ ท าง
ทะเลเสี ย ชี วิ ต เพราะระบบนิ เ วศ
เปลี่ยนแปลง
ผลกระทบด้ านนิเวศวิทยา

ทวีปยุโรป ยุโรปใต้ ภูมิประเทศ
จะกลายเป็ นพืน้ ที่ลาดเอียงเกิด
ความแห้ ง แล้ ง ในหลายพื น้ ที่
ปั ญ ห า อุ ท ก ภั ย จ ะ เ พิ่ ม ขึ ้ น
เนื่องจากธารนา้ แข็งบนบริ เวณ
ยอดเขาสู ง ที่ ป กคลุ ม ด้ ว ยหิม ะ
จะละลายจนหมด
ผลกระทบด้ านนิเวศวิทยา

ข ณ ะ ที่ เ อ เ ชี ย อุ ณ ห ภู มิ จ ะ
สูงขึน้ เกิดฤดูกาลที่แห้ งแล้ ง มี
น า้ ท่ ว ม ผลิ ต ผลทางอาหาร
ลดลง ระดั บ น า้ ทะเลสู ง ขึ น้
สภาวะอากาศ แปรปรวนอาจ
ท าให้ เกิ ด พายุ ต่ าง ๆ มาก
มายเข้ าไปทาลายบ้ านเรื อนที่
อยู่อาศัยของประชาชน
ผลกระทบด้ านนิเวศวิทยา

แต่ แถบทวี ป อเมริ กาเหนื อ
อุตสาหกรรมการผลิตอาหารจะ
ได้ รั บ ผลประโยชน์ เนื่ องจาก
อากาศที่อ่ ุนขึน้ พร้ อม ๆ กับทุ่ง
หญ้ าใหญ่ ของแคนาดาและทุ่ง
ราบใหญ่ ส หรั ฐ อเมริ ก าจะล้ ม
ตายเพราะความแปรปรวนของ
อากาศส่ งผลต่ อสัตว์
ผลกระทบด้ านนิเวศวิทยา

สาหรั บประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงขึน้
ประมาณ 1 องศาเซลเซี ยส ในช่ วง
40 ปี อย่ างไรก็ ต ามหากอุ ณ หภู มิ
เพิ่ มสู ง ขึ ้น 2- 4 องศาเซลเซี ย ส
จะท าให้ พ ายุ ไ ต้ ฝุ่ นเปลี่ ย นทิ ศ ทาง
เกิ ด ความรุ นแรง และมี จ านวน
เพิ่ ม ขึ น้ ร้ อยละ 10-20 ในอนาคต
นอกจากนี ้ ฤดูร้อนจะขยายเวลายาว
นาขึน้ ในขณะที่ฤดูหนาวจะสัน้ ลง
ผลกระทบด้ านเศรษฐกิจ



รั ฐที่เป็ นเกาะเล็ก ๆ ของทวีปอเมริกาจะได้ รับผลจากระดับนา้ ทะเลที่สูงขึน้
กัดกร่ อนชายฝั่ ง
เอเชี ย ยั ง มี โ อกาสร้ อยละ 66-90 ที่ อ าจเกิด ฝนกระหน่ าและมรสุ มอย่ าง
รุ นแรง รวมถึงเกิดความแห้ งแล้ งในฤดูร้อนที่ยาวนาน
ทะเลทรายที่มีอยู่ 12 แห่ งทั่วโลก กาลังเผชิญปั ญหาใหญ่ ไม่ ใ ช่ เรื่ องการ
ขยายตัว แต่ เป็ นความแห้ งแล้ งเนื่ องจากโลกร้ อน ธารนา้ แข็งซึ่ง ส่ งนา้ มา
หล่ อเลีย้ งทะเลทรายในอเมริกาใต้ กาลังละลาย นา้ ใต้ ดนิ เค็มขึน้
ผลกระทบด้ านสุขภาพ



โลกร้ อนขึน้ จะก่ อให้ เกิด สภาพแวดล้ อมที่เหมาะสมแก่ การฟั กตัวของ
เชือ้ โรคและศัตรู พืช ที่เป็ นอาหารของมนุษย์ บางชนิด โรคที่ฟักตัวได้ ดี
ในสภาพร้ อนชืน้ ของโลก
ในแต่ ละปี ประชาชนราว 160,000 คนเสียชีวิตเพราะได้ รับผลกระทบ
จากภาวะโลกร้ อน ตั ้ง แต่ โรคมาลาเรี ย ไปจนถึ ง การขาดแคลน
สุขอนามัยที่ดี
ประเทศก าลั ง พั ฒ นาจั ด อยู่ ใ นกลุ่ ม เสี่ ย งมากที่ สุ ด เช่ น ในประเทศ
แถบแอฟริกา ละตินอเมริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วิธีการช่ วยป้ องกันสภาวะโลกร้ อน







ลดระยะทางที่ใช้ สาหรั บการขนส่ งอาหาร
ปิ ดเครื่ องปรั บอากาศในโรงแรม
ลดระดับการใช้ งานเครื่องใช้ ไฟฟ้ าลงแม้ เพียงน้ อยนิด
นากระดาษหรื อภาชนะบรรจุอ่ นื ๆ กลับไปใช้ ใหม่
รั กษาป่ าไม้ ให้ ได้ มากที่สุด และลดหรื องดการจัดซือ้ สิ่งของหรื อ
เฟอร์ นิเจอร์
ลดการใช้ นา้ มัน จากการขับขี่ยวดยานพาหนะ
ทดลองเดินให้ มากที่สุด
เอกสารอ้ างอิง

UpDate ปี ที่ 21 ฉบับที่ 230 พฤศจิกายน 2549

http://update.se-ed.com/230/global-warming.htm
http://www.siamhealthy.net/thai/ARTICLE/ECOLO
GY/article/E_4.htm
http://student.sut.ac.th/anurukclub/ledge_detail.ph
p?id=7



http://dailynews.co.th/dailynews/pages/front_th/
popup_news/Default.aspx?Newsid=112727&New
sType=1&Template=2