ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม
Download
Report
Transcript ดาวน์โหลดเอกสารเพิ่มเติม
สภาวะโลกร้ อนกับสุขภาพ
และการเฝ้ าระวัง
รศ.ดร.นพ.พงศ์ เทพ วิวรรธนะเดช
LL.B., M.D., Ph.D.
ภาควิชาเวชศาสตร์ ชุมชน คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200
E-mail: [email protected]
สาเหตุ
เกิดจากก๊าซเรือนกระจก ได้ แก่ ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2)
ก๊าซมีเธน (CH4) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N2O) ก๊าซไฮโดรฟลูโร
คาร์ บอน (HFCS) ก๊าซคลอโรฟลูออโรคาร์ บอน (CFCS) และ
ก๊าซซัลเฟอร์ เฮกซ่ าฟลูออไรด์ (SF6 )
สาเหตุ
ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ปริมาณครึ่งหนึ่ง เกิดจากการตัด
ไม้ ทาลายป่ า
การผลิต กระแสไฟฟ้าขนาด 100 วัตต์ เป็ นเวลา 10 ชั่ วโมง
ต้ องใช้ ถ่านหินหนัก ครึ่งกิโลกรัม ซึ่งจะปล่ อยก๊ าซ
คาร์ บอนไดออกไซด์ ออกสู่ บรรยากาศ มีปริมาณเพิม่ ขึน้ ถึง
เกือบ 3 เท่ า หรือ 1.4 กิโลกรัม
ในการขับขีย
่ านพาหนะ จะมีก๊าซออกมา 10 กิโลกรัม ต่ อ
เชื้อเพลิง 4 ลิตร
ผลกระทบของสภาวะโลกร้ อน
ผลโดยตรง
การตายจากคลื่นความร้อน (Heat stroke) และ “โดมความร้อนในเขตเมือง
(Urban heat island)”
คลื่นความร้อนก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทางระบบการหายใจและหัวใจ
ผลกระทบของสภาวะโลกร้ อน
ผลโดยอ้ อม
ก่อให้เกิดความแปรปรวนต่อระบบนิเวศ ทาให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ
เพิม่ ระดับสารมลพิษในอากาศ
ทาให้เกิดน้ าท่วมเป็ นผลให้เกิดโรคติดต่อที่นาโดยน้ า (Water-borne diseases)
โรคที่นาโดยแมลงมีการระบาดมากขึ้น เช่น ไข้เลือดออก มาลาเรี ย ฯลฯ
ปั ญหาสุ ขภาพจิตที่เกิดจากภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ รวมถึงความเครี ยดจากการ
ต้องอพยพหรื อย้ายถิ่นฐาน
แผนภาพสรุปผลกระทบด้ านสุ ขภาพจากภาวะโลกร้ อน
ภาพเปรี ยบเทียบ
ปริ มาณหิ มะบน
ยอดเขาคิลิมนั จาโร
ในปี ค.ศ. ๑๙๗๐
(บน) และปี ค.ศ.
๒๐๐๐ (ล่าง)
สมุทรปราการเป็ นจังหวัดที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งรุ นแรงที่สุดในประเทศไทย โดย
ในระยะเวลา ๓๘ ปี ที่ผา่ นมา มีพ้ืนที่ถูกกัดเซาะหายไป ๑๑,๑๐๔ ไร่ ทั้งนี้หน่วยศึกษาพิบตั ิภยั และข้อสนเทศ
เชิงพื้นที่ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ระบุวา่ พื้นที่ชายฝั่งสมุทรปราการจะถูกกัดเซาะอีกประมาณ ๓๗,๖๕๗ ไร่
ในอีก ๒๐ ปี ข้างหน้า ในภาพคือวัดขุนสมุทราวาส อ. พระสมุทรเจดีย ์ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการกัดเซาะ
ของน้ าทะเล
ผลกระทบของสภาวะโลกร้ อน
องค์ การสหประชาชาติ ได้ ประมาณการว่ า อุณหภูมิของโลก จะสู งขึน้
โดยเฉลีย่ 2-4 oC ส่ งผลให้ ระดับนา้ ทะเลสู งขึน้ 20-50 cm. ในเวลาอีก 1050 ปี นับจากปัจจุบัน
ในทีป
่ ระชุ มองค์ การอนามัยโลก และ London School of Hygiene and
Tropical Medicine (วิทยาลัยศึกษาด้ านสุ ขอนามัยและ
เวชศาสตร์ เขตร้ อนของอังกฤษ) แถลงว่ า ในแต่ ละปี ประชาชนราว
160,000 คนเสี ยชีวติ เพราะได้ รับผลกระทบจากภาวะโลกร้ อน ตั้งแต่ โรค
มาลาเรีย ไปจนถึงการขาดแคลนสุ ขอนามัยทีด่ ี และตัวเลขผู้เสียชีวติ นี้
อาจเพิม่ ขึน้ เกือบสองเท่ าตัวในอีก 17 ปี ข้ างหน้ า
การเฝ้ าระวังผลกระทบด้ านสุขภาพ
การเฝ้ าระวัง
“การเฝ้ าคมุ เหตุการณ์ ด้านสุขภาพใน
ประชากรอย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง
เพือ่ ผลในการป้ องกันและควบคมุ ภาวะ
สิ่งคกุ คามในสิ่งแวดล้ อมทีม่ ีความ
เกีย่ วข้ องกับโรค”
วัตถุประสงค์ ของระบบเฝ้ าระวัง
รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบริ บทที่จะทาการเฝ้ าระวัง
พัฒนาเครื่ องมือที่เป็ นมาตรฐานที่ช่วยให้สามารถเปรี ยบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงตามเวลา (temporal) และสถานที่ (spatial) ได้
ป้ องกันโรคหรื อปั ญหาก่อนที่โรคหรื อปั ญหานั้นจะเกิด
ช่วยในการวางแผนด้านบริ การและจัดลาดับความสาคัญของ
ปัญหา
ทานายภาระของโรคที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
กากับและประเมินผลโครงการที่ดาเนิ นการแก้ปัญหา
ขั้นตอนการเฝ้ าระวัง
รวบรวมข้ อมูลการเกิดโรค
จัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ ข้อมูล
รายงานผลการวิเคราะห์ แก่ ผ้ ูทเี่ กีย
่ วข้ อง
ดาเนินการแก้ ไขสาเหตุเพือ
่ ป้ องกันการเกิดซ้า
การรวบรวมข้ อมูล
ประกอบด้ วย 2 ฐานข้ อมูลคือ ข้ อมูลด้ านสิ่ งแวดล้ อม
และสุ ขภาพ
ข้ อมูลด้ านสิ่ งแวดล้ อม ได้ แก่ อุณหภูมิ ร่ วมกับข้ อมูลทาง
อุตุนิยมวิทยาอืน่ ๆ ข้ อมูลระดับสารมลพิษ
ข้ อมูลด้ านสุ ขภาพ ได้ แก่ โรคนาโดยยุง โรคระบบการ
หายใจและหัวใจ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคทางจิต
เวช ฯลฯ
การจัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ ข้อมูล
ควรมีการวิเคราะห์ แยกตามพืน้ ที่ เวลา และกลุ่ม
เสี่ ยง
การหาความสั มพันธ์ กบ
ั อุณหภูมิ อาจใช้
การศึกษาแบบอนุกรมเวลา หรือเชิงนิเวศวิทยา
(เปรียบเทียบเชิงพืน้ ที่และเวลา)
Ecological Study: เปรียบเทียบหลายกลุ่ม
ตัวอย่ าง การศึกษาความสั มพันธ์ ระหว่ างความ
กระด้ างของนา้ และอัตราตายจากโรคหัวใจ
และหลอดเลือดในสหราชอาณาจักร
Ecological Study: เปรียบเทียบหลายกลุ่ม
อัตราตาย
(Mean SMR)
ความกระด้ าง (mmol/l )
47
33
จานวนเมือง (แห่ ง)
22
14
Source: Pocock SJ, et al. Brit Med J 1980,280:1243
19
20
43
36
การรายงานผลการวิเคราะห์ แก่ ผู้ทเี่ กีย่ วข้ อง
ควรมีการรายงานอย่ างสม่าเสมอ
ผู้ทเี่ กีย
่ วข้ องได้ แก่ ภาคประชาชนและหน่ วยงาน
รัฐ
การดาเนินการแก้ ไข
ควรดาเนินการตามลาดับความสาคัญของปัญหา
สุ ขภาพร่ วมกับผลกระทบด้ านอืน่ ๆ จากภาวะ
โลกร้ อนตามพืน้ ทีแ่ ละกลุ่มเสี่ ยง