ดาวศุกร์ (Venus)

Download Report

Transcript ดาวศุกร์ (Venus)

Slide 1

ดาวศุกร์ (Venus)


Slide 2

มวล (กิ โ ลกรั ม)

4.869 x 10

24

มวล (โลก=1)

0.81476

รั ศมี ตามแนวศู น ย์ สู ต ร (กิ โ ลเมตร)

6,051.8

รั ศมี ตามแนวศู น ย์ สู ต ร (โลก =1)

0.94886

ความหนาแน่ นเฉลี่ ย (กรั ม/ลู ก บาศก์ เซ็ น ติ เ มตร)
ระยะห่ างเฉลี่ ยจากดวงอาทิ ต ย์ (กิ โ ลเมตร)
ระยะห่ างเฉลี่ ยจากดวงอาทิ ต ย์ (โลก =1)

5.25
108,200,000
0.7233


Slide 3

คาบการหมุ นรอบตั ว เอง (วั น )
คาบการหมุ นรอบดวงอาทิ ต ย์ (วั น )
ความเร็ วของการหมุ นรอบดวงอาทิ ต ย์ เฉลี่ ย

243.0187
224.701
35.02

(กิ โ ลเมตร/วิ น าที )
อุ ณ หภู มิ ท่ ี พื ้น ผิ ว เฉลี่ ย (เซลเซี ย ส)
ความดั น บรรยากาศ (บาร์ )

482
92


Slide 4

ส่ วนประกอบของบรรยากาศ
คาร์ บอนไดออกไซต์
ไนโตรเจน
อื่ นๆ

96%
3%
1%


Slide 5

• ดาวศุกร์ เป็ นดาวดวงที่สองถัดจากดาวพุธ มีขนาดใหญ่ เป็ น
อันดับที่หก
มีวงโคจรที่เกือบจะเป็ นวงกลมมากกว่ าดาว
เคราะห์ ดวงอื่น มีความเบี่ยงเบนน้ อยกว่ า 1
%


Slide 6

• Venus หรือที่ชาวกรีกเรียกว่ า Aphrodite เป็ นเทพแห่ งความ
รักและความสวยงาม ดาวเคราะห์ ดวงนีไ้ ด้ ช่ ือเนื่องจากเป็ น
ดาวเคราะห์ ท่ สี ว่ างมากที่สุดสาหรับคนในสมัยโบราณ


Slide 7

• ดาวศุกร์ เป็ นที่ร้ ูจักตัง้ แต่ สมัยก่ อนประวัตศิ าสตร์ เนื่องจาก
เป็ นวัตถุท่ สี ว่ างมากที่สุดบนท้ องฟ้ารองจากดวงอาทิตย์ และ
ดวงจันทร์ และเช่ นเดียวกับดาวพุธที่มีช่ ือเรียก 2 ชื่อ คือ
Eosphorus สาหรับดาวศุกร์ ยามใกล้ ร่ ุงและ Hesperus สาหรับ
ดาวศุกร์ ยามค่า


Slide 8

• การหมุนรอบตัวเองของดาวศุกร์ นัน้ ช้ ามาก ใช้ เวลาประมาณ
2 4 3 วัน และช้ าลงเรื่อยๆ และเนื่องจากเวลาที่ใช้ ในการ
หมุนรอบตัวเองและรอบดวงอาทิตย์ มีค่าใกล้ เคียงกัน ( 2 2 5
วัน) ทาให้ ดาวศุกร์ หนั ผิวหน้ าเพียงด้ านเดียวเข้ าหาโลกเมื่อ
ดาวทัง้ สองดวงอยู่ใกล้ กันมากที่สุด


Slide 9

• ดาวศุกร์ เคยถูกกาหนดให้ เป็ นดาวน้ องสาวกับโลก เนื่องจาก
ความคล้ ายคลึงกันทัง้ ขนาด มวล ความหนาแน่ น และ
ปริมาตร ดาวศุกร์ มีขนาดเล็กกว่ าโลกเพียงเล็กน้ อย (95% ของ
เส้ นผ่ าศูนย์ กลางของโลก และ 8 0 %ของมวลของโลก) จาก
ความเหมือนกันหลายประการ ทาให้ คิดว่ า ใต้ ชัน้ เมฆหนาของ
ดาวศุกร์ น่ าจะมีลักษณะที่เหมือนกับโลกและอาจมีส่ ิงมีชีวิตอยู่


Slide 10

• ต่ อมาจึงพบว่ าดาวศุกร์ มีความแตกต่ างจากโลกมาก ดาวศุกร์
ไม่ มีมหาสมุทร
บรรยากาศที่หนาแน่ นซึ่งประกอบด้ วย
คาร์ บอนไดออกไซต์ และไม่ มีไอนา้
เมฆซึ่งประกอบด้ วย
กรดซัลฟุริค และความกดดันที่พนื ้ ผิวที่สูงกว่ าพืน้ ผิวโลกมาก


Slide 11

• ความดันบรรยากาศของดาวศุกร์ ท่ พ
ี นื ้ ผิวมีค่าเท่ ากับ 90 ATM
หรือมีความดันเท่ ากับที่ความลึก 1 กิโลเมตรใต้ ท้องทะเล
บรรยากาศประกอบด้ วย คาร์ บอนไดออกไซต์ เป็ นส่ วนใหญ่
มีชัน้ เมฆหลายชัน้ หนาหลายกิโลเมตรที่มีส่วนประกอบเป็ น
กรดซัลฟุริค ซึ่งความหนาของเมฆทาให้ บดบังความสามารถ
ในการมองเห็นพืน้ ผิวของดาวศุกร์


Slide 12

• ชัน้ บรรยากาศที่มีความหนาแน่ นสูงทาให้ เกิดปรากฏการณ์
เรือนกระจก (greenhouse effect) ซึ่งเป็ นสาเหตุให้ พนื ้ ผิวดาว
ศุกร์ มีอุณหภูมิสูง ระหว่ าง 400 ถึง 740 K อุณหภูมิบนดาวศุกร์
ยังสูงกว่ าอุณหภูมิบนพืน้ ผิวของดาวพุธ ถึงแม้ ว่าดาวศุกร์ จะ
ห่ างจากดวงอาทิตย์ เกือบสองเท่ าของดาวพุธ


Slide 13


Slide 14

• บนดาวศุกร์ ครัง้ หนึ่งอาจเคยมีนา้ ปริมาณมหาศาล แต่ ได้
ระเหยหายไปหมด
ในปั จจุบันบนดาวศุกร์ จงึ แห้ งแล้ ง


Slide 15


Slide 16

• การสารวจด้ วยคลื่นวิทยุซ่ งึ สามารถผ่ านชัน้ เมฆที่หนาของ
ดาวศุกร์ ได้ แสดงให้ เห็นว่ า พืน้ ผิวส่ วนใหญ่ ของดาวศุกร์ ปก
คลุมไปด้ วยลาวาอายุน้อยราวๆ 300 ถึง 500 ล้ านปี เท่ านัน้
พืน้ ที่ราบที่เก่ าแก่ บนดาวศุกร์ มีอายุประมาณ 8 0 0 ล้ านปี
เท่ านัน้
พบภูเขาไฟรูปโล่ ขนาดเล็กนับพันแห่ ง


Slide 17


Slide 18

• ในปั จจุบันยังมีหลักฐานที่
แสดงให้ เห็นว่ า
ปรากฏการณ์ ทางภูเขาไฟ
ยังเกิดขึน้ อยู่ แต่ มีเพียง 2-3
จุดเท่ านัน้
การที่ยังเกิดมี
ปรากฏการณ์ ทางภูเขาไฟ
อย่ างมาก ทาให้ ลักษณะภูมิ
ประเทศเดิมหายไป


Slide 19

• บนดาวศุกร์ ไม่ พบหลุมอุกาบาตขนาดเล็กบนพืน้ ผิวของดาว
ศุกร์ ซึ่งอาจเนื่องจากอุกาบาตจะหลอมละลายไปในขณะที่ว่ งิ
ผ่ านบรรยากาศที่หนาแน่ นของดาวศุกร์ หลุมอุกาบาตขนาด
ใหญ่ ท่ พ
ี บบนพืน้ ผิวดาวศุกร์ ซ่ งึ มักเกิดเป็ นกลุ่ม เชื่อว่ าเกิด
จากอุกาบาตขนาดใหญ่ ซ่งึ แตกออกเป็ นก้ อนขนาดเล็กเมื่อ
ผ่ านชัน้ บรรยากาศลงมา


Slide 20


Slide 21

• โครงสร้ างภายในของดาว
ศุกร์ เชื่อว่ ามีลักษณะคล้ าย
กับโครงสร้ างของโลก มี
แกนกลางที่เป็ นเหล็กซึ่งมี
รัศมีประมาณ 3 0 0 0
กิโลเมตร มีหนิ หลอมเป็ น
เนือ้ ซึ่งเป็ นส่ วนประกอบ
หลักดาวศุกร์


Slide 22

• ดาวศุกร์ ไม่ มีสนามแม่ เหล็ก ซึ่งอาจเนื่องจาการหมุนที่ช้ามาก
และดาวศุกร์ ไม่ มีดาวบริวาร


Slide 23

• ดาวศุกร์ สามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่ า เป็ นดวงดาวที่
สุกสว่ างที่สุดในท้ องฟ้า