การพัฒนารูปแบบการลด Carbon footprint ในโรง

Download Report

Transcript การพัฒนารูปแบบการลด Carbon footprint ในโรง

การพัฒนารูปแบบการลด Carbon footprint
ในโรงพยาบาล
Ecological Footprint (รอยเท้าทางนิเวศน์)
คือวิธีการวัดผลกระทบของกิจกรรมของมนุษย์ตอ่ โลก โดยคานวณจาก
ทรัพยากรที่ถกู ใช้ ไป และของเสียที่ถกู สร้ างขึ ้นมา
ทรัพยากรที่ถกู ใช้ไป
ทรัพยากรที่ตอ้ งสร้างขึ้นมาทดแทน
ของเสี ยที่ถกู สร้างขึ้นมา
การดูดซับของเสี ยโดยธรรมชาติ
Human Demands
Ecology Regeneration Ability
= Demand for bioproductive areas วัดเป็ นพื้นที่ ดินและน้ า
ของโลก มีหน่วยเป็ น Global Hectares/person
Ecological Footprint (รอยเท้าทางนิเวศน์)
ปี 2006
ไทย
= 1.38
ghc/person
USA = 9.59
England = 5.59
โลก = 1.9
Carbon Footprint : demand on carbon uptake land
รถเก๋ ง ปล่อย CO2 = 160 gm/km ขับปี ละ10 000 km ปล่อย
CO2 = 1.6 ton/y
ป่ า 1 hectare ดูดซับ CO2 ได้ 3 ton/y
ดูดซับ CO2 1.6 ton/y ต้องใช้ป่า 0.53 hectare/y = 3.3 Rai/y
ความสาคัญของปัญหา
• ผลกระทบต่อสุขภาพจากภาวะโลกร้อน
• หน้ าที่ ความรับผิดชอบ ของหน่ วยงานดูแลสุขภาพ ต่อการ
ป้ องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพจากภาวะโลกร้อน
• การพัฒนารูปแบบ และแนวทางการลดการปล่อยก๊าซเรือน
กระจกของสถานบริการสุขภาพของประเทศไทย
วัตถุประสงค์
• ประเมิน Carbon Footprint ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ของกรมอนามัย รวมทัง้ โรงพยาบาล และสถานี อนามัยในสังกัด
กระทรวงสาธารณสุข (2553) - การศึกษาเบือ้ งต้น
• พัฒนารูปแบบและแนวทางในการลด Carbon footprint
ของโรงพยาบาล และสถานีอนามัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
(2554)
• พัฒนาทางเลือกในการตัดสินใจเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์ในการ
ลด Carbon footprint จากโรงพยาบาล และสถานี อนามัยในสังกัด
กระทรวงสาธารณสุข (2554)
ระเบียบวิธีวจิ ัย
• วิจยั เชิงสารวจ ร่วมกับวิจยั ปฏิบตั ิ การ
• หน่ วยวิเคราะห์คือสถานบริการของกระทรวงสาธารณสุข
: โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพของกรมอนามัย
12 แห่ง
โรงพยาบาลศูนย์/ โรงพยาบาลทัวไป
่
3 + 3 แห่ง
โรงพยาบาลชุมชน
3 แห่ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สถานี อนามัย 3 แห่ง
• เลือกตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบเจาะจง
: สมัครใจ และเข้าร่วมโครงการได้ต่อเนื่ องตลอดระยะเวลา
ดาเนินโครงการ
ระยะเวลาทาการวิจัย
• ระยะที่ 1 : มกราคม 2552- กันยายน 2553
• ระยะที่ 2 : ตุลาคม 2553 – กันยายน 2554
ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
ระยะที่ 1
• การทาความเข้ าใจในการดาเนินงานกับผู้เกี่ยวข้ อง
• การกาหนดขอบเขตการประเมิน carbon footprint
• การดาเนินการประเมิน carbon footprint
ระยะที่ 2
• การบริหารจัดการในการลด carbon footprint
• การประเมินผลการลด carbon footprint
• การจัดทารายงานผลการศึกษาและเผยแพร่
ก๊าซเรือนกระจก ศักยภาพในการทาให้โลกร้อน(Global
Warming Potential : GWP) และ อายุขยั ในบรรยากาศ
GWH
Atmospheric
Lifetime, Years
CO2
Carbondioxide
1
50-200
CH4
Methane
21
10
N2O
Nitrous Oxide
310
130
CFCs
Chlorofluorocarbons
12,000-18,000
90-400
HFCs
Hydrofluorocarbons
6,500-13,400
1-246
PFCs
Perfluorocarbons
7,850
3,200-50,000
SF6
Sulphur Hexafluoride
23,900
3,200
GHG ตามพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
มี 6 ชนิด:
Carbon dioxide, Methane, Nitrous Oxide,
Hydrofluorocarbons, Perfluorocarbons,
Sulphur Hexafluoride
พิธีสารมอนทรีออล (Montreal Protocol)
จำกัดกำรใช้และกำรปล่อย Chlorofluorocarbons สูบ่ รรยำกำศอยู่
แต่เดิมแล้ว
GHG Flow Diagram: Global Greenhouse Gas Emissions
CO2
77 %
Etc. 1 %
Methane
14 %
N2O 8%
• ก๊ าซเรือนกระจกที่สาคัญที่สุดที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ คือ
CO2 เพราะแทบทุกกิจกรรมทาให้ เกิด CO2 และปล่ อยออกสู่
บรรยากาศในปริมาณมาก
Carbon Footprint
(รอยเท้ าคาร์ บอน)
คือ ปริมาณการปลดปล่ อยแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ รวมทัง้ แก๊ ส
เรื อนกระจกอื่นๆ โดยตลอดวัฏจักรชีวติ ผลิตภัณฑ์ บริการ และ
องค์ กร แสดงผลในเชิงปริมาณ คือ เทียบเท่ ากับศักยภาพการ
ก่ อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของแก๊ ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ เป็ น กิโลกรั ม ( kg CO2 equivalent ) หรื อ
ตัน (Tons CO2 equivalent)
แบ่ง คาร์บอนฟุตพริ้ นท์ได้ 2 ประเภท
• คาร์ บอนฟุตพริน้ ท์ของผลิตภัณฑ์และบริการ(Product Carbon
Footprint)
• คาร์ บอนฟุตพริน้ ท์ขององค์กร(Corporate Carbon Footprint) เช่น
คาร์ บอนฟุตพริน้ ท์ของโรงพยาบาล ก็คือปริมาณการปลดปล่อยแก๊ ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ รวมทังแก๊
้ สเรื อนกระจกอื่นๆจากการดาเนินงาน
ของโรงพยาบาล ในช่วงเวลาใดเวลาหนึง่
ก๊าซเรื อนกระจกที่สาคัญที่มาจากกิจกรรมของโรงพยาบาล
• ไนตรัสออกไซด์และ สารที่ใช้ เป็ นยาสลบ
Global Warming Potentials ของก๊าซที่ใช้เป็ นยาสลบในโรงพยาบาล:
Isoflurane :
Desflurane:
Sevoflurane:
Nitrous Oxide:
1100 x CO2
1900 x CO2
1600 x CO2
296 x CO2
ที่มา: Intergovernmental Panel on Climate Change (2001)
• กิจกรรมอื่นๆที่ทาให้เกิดก๊าซเรื อนกระจก เช่น การบาบัดน้ าเสี ย การเผามูลฝอยติด
เชื้อ การฝังกลบขยะ การใช้ปุ๋ยเคมี การหมักปุ๋ ย การเก็บ สะสมสิ่ งปฏิกลู การหุงต้ม
การซักรี ด การเดินทางด้วยพาหนะที่ใช้เชื้อเพลิง การใช้พลังงานไฟฟ้ าฯลฯ
การปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก แบ่ งได้ 3 ประเภท
ref: GHG Protocol
 Direct Emission จากการดาเนินกิจกรรมที่โรงพยาบาลควบคุม ซึ่ง
ต้ องใช้ เชือ้ เพลิง และปล่ อย CO2 สู่บรรยากาศ และรวมถึง
กิจกรรมที่ทาให้ เกิดก๊ าซเรือนกระจกอื่นๆ เช่ น CH4, N2O, ก๊ าซ
ยาสลบ, SF6
 Indirect Emission จากการใช้ กระแสไฟฟ้าซึ่งต้ องซือ้ จากผู้ผลิต
กระแสไฟฟ้า
 Indirect Emission จากการซือ้ สินค้ า และบริการ จากผู้อ่ นื
การคานวณปริมาณ Carbon Footprint ของโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์
•
•
•
•
•
•
ทราบถึงจุดที่มีการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก
ทราบปริมาณการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก
เป็ นข้ อมูลในการวางแผนลดการปล่ อยก๊ าซเรื อนกระจก
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของการลดการปล่ อยก๊ าซเรื อนกระจก
ภาพลักษณ์ ท่ ดี ีขององค์ กร
ส่ งเสริมให้ โรงพยาบาลใช้ เทคโนโลยีหรือวิธีการดาเนินงานที่ลดการปล่ อยก๊ าซเรือน
กระจกลง
• เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ (โรงพยาบาลเอกชน)
• ผู้บริโภคสามารถนาข้ อมูลมาประกอบการตัดสินใจเลือกซือ้ สินค้ าและบริการ
(โรงพยาบาลเอกชน)
ขั้นตอนการคานวณ Carbon Footprint
1. การกาหนดวิธีการ
2. การกาหนดขอบเขต (Boundary and Scope of coverage)
3. เก็บข้ อมูลการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก และคานวณ Carbon
Footprint
4. ตรวจสอบความถูกต้ องของผล
5. รายงานผล
กาหนดวิธีการที่ใช้ ในการประเมิน Carbon Footprint
• ปฏิบตั ิตามแนวทางคานวณคาร์ บอนฟุตพริน้ ท์ ที่ระบุใน GHG Protocol
• GHG Protocol เป็ น แหล่งความรู้ด้านการจัดทา GHG accounting
and reporting ซึง่ จัดทาขึ ้นโดยWorld Resource Institute (WRI) เป็ น
หน่วยงานที่ร่วมกับ World Business Council for Sustainable
Development (WBCSD) การรวบรวมผู้ร้ ูทวั่ โลกมาช่วยกันทา พิมพ์ครัง้
แรก ค.ศ. 2001 ครัง้ ที่ 2 ค.ศ. 2003
Boundary
: ส่ วนที่ให้บริ การ สนับสนุน และบ้านพัก
ปี ฐานที่ใช้ในการประเมิน
: ปี งบประมาณ 2552
Scope
1
2
3
กิจกรรม
- น ้ามันเชื ้อเพลิง
- ก๊ าซหุงต้ ม
- การจัดการขยะภายในสถานบริการ
- ระบบบาบัดน ้าเสีย
- การจัดการสิง่ ปฏิกลู
- สารเคมีทางการแพทย์
- ไฟฟ้า
- พาหนะจ้ างเหมา
- การจัดการขยะ โดยการส่งกาจัดภายนอก
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์
CO2 emission = activity data x emission factor
ตัวอย่าง ใน พ.ศ. 2552 โรงพยาบาลแห่งหนึง่ ใช้ น ้ามันดีเซลในการเดินทางทังสิ
้ ้น
5000 ลิตร Emission Factor ของน ้ามันดีเซล คือ 2.68 กก. CO2/ลิตร
ดังนัน้
CO2 emission = activity data x emission factor
(จากการเดินทาง) = 5000 ลิตร X 2.68 กก. CO2/ลิตร
=
13 400 กก CO2
=
13.4 ตัน CO2 ต่อปี
คานวณค่ า CO2 Emission ของ ทุก
Activity ในแต่ ละ Scope
Scope
Scope 1
Scope 2
Scope 3
Carbon footprint =
CO2
Emission
ผลรวม
Emission Factors ที่ใช้ในการคานวณ
กิจกรรม
Emission Factors
การจัดการสิ่งปฏิกลู
8.82 kg CO2e/kg BOD
SF6
23,900 kg CO2e/kg
ยาสลบ
Nitrous Oxide
0.296 MT CO2e/kg
Isoflurane
0.350 MT CO2e/kg
Desflurane
0.575 MT CO2e/kg
Sevoflurane
1.526 MT CO2e/kg
CO2
1 kg CO2e/kg
การใช้ ไฟฟ้า
พาหนะจ้ างเหมา
0.5610 kg CO2e/kWh
เครื่ องบิน
0.13 kgCO2e/km
รถตู้ (ดีเซล)
29.4 kgCO2/100 km
รถบัส (ดีเซล)
105.3 kgCO2/100 km
ที่มา : องค์การบริ หารก๊าซเรื อนกระจก ,
GHG Protocol, IPCC
กิจกรรม
น ้ามันเชื ้อเพลิง (ในราชการ)
เบนซิน
ดีเซล
ก๊ าซโซฮอล
NGV
LPG
2.6 kg CO2e/L
3 kg CO2e/L
2.93 kg CO2e/L
0.24 kg CO2e/L
1.8 kg CO2e/L
เผา CH4
เผา NO2
ฝั งกลบ
หมักปุ๋ย CH4
หมักปุ๋ย NO2
Biogas
เผาติดเชื ้อ CH4
เผาติดเชื ้อ NO2
การขนส่งขยะ
ใช้ อากาศ
ไม่ใช้ อากาศ
0.061 km CO2e/MJ
1.3 kg CO2e/kg
126 kg CO2e/Gg waste incineration
12.71 kgCO2e/ton waste incineration
0.8421 kg CO2e/kg
0.084 kg CO2e/kg waste treated
0.093 kg CO2e/kg waste treated
0.021 kg CO2e/kg waste treated
0.315 kg CO2e/Gg waste incineration
0.032 kgCO2e/ton waste incineration
0.0494 kg CO2e/ton-km
3.78 kg CO2e/kg BOD
6.30 kg CO2e/kg BOD
ก๊ าซหุงต้ ม
มูลฝอยรวม (ใช้ สาหรับขยะอันตราย)
การจัดการขยะ
ระบบบาบัดน ้าเสีย
Emission Factors
ผลการประเมิน
โรงพยาบาลส่ งเสริมสุขภาพ
โรงพยาบาล
scope1
scope2
scope3
Total
ศอ.1 กรุงเทพฯ
769,689
95,637
233,981
1,099,307
ศอ.2 สระบุรี
36,381
89,932
6,078
132,391
ศอ.3 ชลบุรี
43,194
707,668
2,640
753,502
ศอ.4 ราชบุรี
226,267
624,417
18,504
869,189
ศอ.5 นครราชสีมา
211,723
267,767
20,530
500,021
ศอ.6 ขอนแก่ น
116,068
476,487
5,267
597,822
ศอ.7 อุบลราชธานี
260,636
204,743
65,121
530,499
ศอ.8 นครสวรรค์
117,849
263,648
21,856
403,353
ศอ.9 พิษณุโลก
1,042,768
131,992
10,980
1,185,741
ศอ.10 เชียงใหม่
98,852
411,593
73,990
584,436
ศอ.11
นครศรีธรรมราช
666,780
345,913
19,313
1,032,005
ศอ.12 ยะลา
รวม
52,759
3,642,966
312,974
3,932,771
38,919
517,179
404,651
8,092,917
รวม
scope3
6%
scope1
45%
scope2
49%
โรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาล scope1
รพ.สุรินทร์
รพ.สรรพ
สิทธิ
ประสงค์
scope2
scope3
Total
2,080,728 3,089,837
599,861
5,770,426
2,163,168 17,059,937
0
19,223,105
รพ.สวรรค์
ประชารั กษ์ 1,022,269 2,990,556
เฉลี่ย
scope3
2%
scope1
18%
scope2
80%
33,388
4,046,213
รวม
5,266,165 23,140,330 633,249 29,039,744
เฉลี่ย
1,755,388 7,713,443
211,083
9,679,915
โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาล scope1
scope2
scope3
Total
(scope1-3)
รพ.ชัยภูมิ
281,586
2,235,091
138,509
2,655,187
รพ.ยโสธร
551,338
1,944,641
89,096
2,585,076
scope3
4%
scope1
19%
scope2
77%
รพ.พิจติ ร
752,561
2,345,586
116,834
3,214,981
รวม
1,585,486 6,525,319
344,439
8,455,243
เฉลี่ย
528,495
114,813
2,818,414
2,175,106
เฉลี่ย
โรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาล scope1
scope2
scope3
Total
รพ.ปราสาท
61,983
56,734
24,270
142,987
รพ.มหาชนะ
ชัย
117,953
188,297
5,026
311,276
รพ.ตาคลี
788,777
566,921
9,933
1,365,631
รวม
968,713
811,953
39,229
1,819,893
เฉลี่ย
322,904
270,651
13,076
606,631
เฉลี่ย
scope3
1%
scope2
24%
scope1
75%
โรงพยาบาลส่ งเสริมสุขภาพตาบล
โรงพยาบาล scope1
รพ.สต.
เสม็ด
0
scope2
2,753
scope3
1,432
เฉลี่ย
Total
scope3
10%
4,186
รพ.สต.นา
เวียง
16,029
2,663
121
18,813
รพ.สต.ท่ า
ไม้
4,076
4,706
1,826
10,608
รวม
20,105
10,122
3,379
33,607
เฉลี่ย
6,702
3,374
1,126
11,202
scope2
30%
scope1
60%
สรุ ป
1.
2.
3.
4.
การศึกษาครั ง้ นีเ้ ป็ นการศึกษาเบือ้ งต้ นให้ ทราบแนวทางการประเมิน
carbon footprint ของโรงพยาบาล ทาให้ สามารถพัฒนาคู่มือเพื่อใช้
ประเมิน ในระยะต่ อไปของโครงการโรงพยาบาลลดโลกร้ อน
ต้ องพัฒนาระบบเก็บข้ อมูลที่ใช้ คานวณ CF ที่เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้
ถ้ าจะให้ สมบูรณ์ ควรกาหนดขอบเขตข้ อมูลที่ใช้ ประเมินตามแนวทางที่
WHO เสนอแนะ คือเพิ่ม ข้ อมูล CF จากการเดินทางของเจ้ าหน้ าที่
ผู้ป่วย ผู้มาติดต่ อธุรกิจ และข้ อมูล CF ของสินค้ า และบริการ ที่
โรงพยาบาลจัดซือ้ จัดจ้ าง
ต้ องใช้ จานวนตัวอย่ างโรงพยาบาลประเภทต่ าง ๆ ที่เป็ นตัวแทนที่
เชื่อถือได้ ทางสถิติ ในการประเมิน CF ของโรงพยาบาลทั่วประเทศ
ประมาณการ Carbon Footprint ของ รพศ. รพท. รพช. และ รพสต.
อย่ างหยาบ/เบือ้ งต้ น (ตันคาร์ บอนไดออกไซด์ เที่ยบเท่ าต่ อปี )
ประเภทโรงพยาบาล
จานวนทั่ว
ประเทศ
ค่ าเฉลี่ย CF
CF รวม
โรงพยาบาลศูนย์
25
9,679.915
241,997.875
โรงพยาบาลทั่วไป
69
2,818.414
194,470.566
โรงพยาบาลชุมชน
737
606.631
447,087.047
2,000
11.202
22,404.000
2,831
13,639.412
905,959.488
โรงพยาบาลส่ งเสริมสุขภาพตาบล
รวม
การใช้ ประโยชน์
• ผู้บริการกระทรวงสาธารณสุขใช้ เป็ นข้ อมูลในการตัดสินใจเชิง
นโยบายและกาหนดยุทธศาสตร์ ในการลด Carbon Footprint จาก
โรงพยาบาล และสถานีอนามัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
• สามารถนารู ปแบบการลด Carbon Footprint ของโรงพยาบาล ไปใช้
พัฒนางานโรงพยาบาลส่ งเสริมสุขภาพและงานเมืองน่ าอยู่
• บูรณาการในแผนงานโครงการที่เกี่ยวข้ องในแผนยุทธศาสตร์ แห่งชาติ
ว่ าด้ วยการจัดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2551-2555
• รั ฐมนตรี สาธารณสุขของประเทศไทยสามารถใช้ เป็ นข้ อมูลในการ
รายงานความก้ าวหน้ าในการดาเนินการตาม New Delhi Declaration
on the impacts of climate change on human health ในการประชุม
ครั ง้ ต่ อไป
การลด Carbon Footprint ในโรงพยาบาล
1.
ทาให้ทุกคนในโรงพยาบาลทั้งผูบ้ ริ หารและเจ้าหน้าที่ ร่ วมในการลด
คาร์บอนฟุตพริ้ นท์ โดยต้อง กาหนดผูร้ ับผิดชอบหลักที่ชดั เจน
2. เรี ยนรู ้และดาเนิ นการด้านการสารวจคาร์ บอนฟุตพริ้ นท์ ขององค์กร เลือก
วิธีการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้ นท์ที่เหมาะสมที่สุดและ กาหนด Scope
3. กาหนดปี ฐาน และเรี ยนรู ้วิธีการค้นหาข้อมูลเพื่อใช้คานวณคาร์บอนฟุตพ
ริ้ นท์ ของโรงพยาบาล
4. คานวณคาร์ บอนฟุตพริ้ นท์ ของโรงพยาบาล
5. กาหนดเป้ าหมายการลด คาร์ บอนฟุตพริ้ นท์ของโรงพยาบาล
6. ดาเนินการลด คาร์ บอนฟุตพริ้ นท์ของโรงพยาบาล
7. รายงานผลการลด คาร์ บอนฟุตพริ้ นท์ของโรงพยาบาล
การลดคาร์บอนฟุตพริ้ นท์ของโรงพยาบาลอย่างมีประสิ ทธิภาพและ
ประสิ ทธิผล
1. ผูบ้ ริ หาร กาหนดนโยบายและเป้ าหมายในการลดคาร์ บอนฟุตพริ้ นท์อย่าง
ชัดเจน ประกาศให้บุคลากรทุกคนได้ทราบ ผูบ้ ริ หารและเจ้าหน้าที่ระดับสู ง
เป็ นแบบอย่างที่ดีในการลด
2. กาหนดผูร้ ับผิดชอบ สร้างแรงจูงใจ สนับสนุนทรัยากรดาเนิ นงาน มีแผน
ปฏิบตั ิงาน การติดตามผล และเผยแพร่ ผลสาเร็ จ
3.บุคลากรทุกฝ่ ายร่ วมมือ ตระหนักถึงผลเสี ยจากการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก /
ประโยชน์ของการลดคาร์ บอนฟุตพริ้ น /รู้วิธีการที่ถกู ต้องเหมาะสมในการลด
ก๊าซเรื อนกระจก
4. สื่ อสารระหว่างบุคลากรของโรงพยาบาล ผูป้ ่ วย และชุมชนเพื่อสร้างความ
ตระหนัก และแรงผลักดันในการมีส่วนร่ วมในการดาเนิ นงาน
การกาหนดเป้ าหมายการลด คาร์ บอนฟุตพริ้นท์
โรงพยาบาลแห่ งหนึ่ง ในปี ฐาน มีพนักงาน 80 คน
คานวณคาร์ บอนฟุตพริน้ ท์ สุทธิได้ เท่ ากับ 1552 Metric Ton
CO2 e ตัง้ เป้าหมายว่ าจะลดคาร์ บอนฟุตพริน้ ท์ ในปี ถัดมา
ลง 7.0 %ของปี ฐาน
พบว่ ามีพนักงานเพิ่มขึน้ เป็ น 125 คน และคานวณคาร์ บอน
ฟุตพริน้ ท์ สุทธิได้ 2000 Metric Ton CO2 e
ปี
จานวนพนักงาน
เป้ าหมาย
(คน)
เป้ าหมายต่อหัว เป้ าหมายสุ ทธิ
ปี ฐาน
80
ปี ถัดมา
125
ผลต่าง
19.4 Metric Ton
1552 Metric Ton CO2 e
CO2 e
16.0 Metric Ton CO2 e 2000 Metric Ton CO2 e
ลด 3.4 Metric Ton เพิม่ 448
CO2 e
(ลด 17.5%)
Metric Ton
CO2 e
( เพิ่ม 22.4%)
หน่ วยงานสาธารณสุ ข ควร
1. เป็ นผูน้ าในการชี้ให้สงั คมเห็นความสาคัญของปัญหาการ
ปล่อยก๊าซเรื อนกระจกสู่ สิ่งแวดล้อม
- นาโรงพยาบาลเข้าร่ วมดาเนินการโรงพยาบาลลดโลก
ร้อน
- ร่ วมกับองค์กรปกครองท้องถิ่นและหน่วยงานในจังหวัด
ดาเนินการลดโลกร้อน
- สนับสนุนการนาโครงการลดโลกร้อนเข้าสู่ แผนพัฒนา
ท้องถิ่นและแผนพัฒนาจังหวัด
2. ดาเนินการประเมินและลดคาร์บอนฟุตพริ้ นท์
3. กาหนดให้มาตรการการประหยัดพลังงานเป็ นหัวใจของ
การดาเนินงานขององค์กร ที่ท้ งั ช่วยในการประหยัด
งบประมาณรายจ่ายและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการ
ดาเนินงานด้วย
4. ส่ งเสริ มให้บุคลากรและชุมชน มีความรู ้เรื่ องโลกร้อนและ
ผลกระทบ มีความตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อส่ วนรวม
ในการลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก และร่ วมกันดาเนินการ
ลดการปล่อยก๊าซเรื อนกระจก
ขอบคุณ