การคำนวณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ Carbon footprint

Download Report

Transcript การคำนวณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ Carbon footprint

การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์
Carbon footprint
สานักอนามัยสิ่ งแวดล้ อม
กรมอนามัย
LOGO
คาร์ บอนฟุตพริ้นท์
(Carbon Footprint)
วัตถุประสงค์
1.
2.
3.
4.
เพือ่ ทราบถึงแหล่ งและปริมาณการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก
เพือ่ เป็ นข้ อมูลในการวางแผนลดการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก
ภาพลักษณ์ ทดี่ ขี ององค์ กร
ส่ งเสริมให้ โรงพยาบาลใช้ เทคโนโลยีหรือวิธีการดาเนินงานที่
ลดการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจกลง
คาร์ บอนฟุตพริ้นท์
(Carbon Footprint)
ประเภทของคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint)
1. คาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของมนุษย์
2. คาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของผลิตภัณฑ์
(Carbon Footprint of Products)
3. คาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
(Carbon Footprint of Organizations)
คาร์ บอนฟุตพริ้นท์
1
(Carbon Footprint)
คาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของมนุษย์
เป็ นคาร์บอนฟุตพริ้ นท์ที่
เกี่ยวกับกิจกรรมชีวติ ประจาวัน
การเดินทาง การรับประทานอาหาร
การใช้ชีวติ ทั้งที่บา้ นและที่ทางาน
ค่ าเฉลีย่ ของประเทศไทยมีการ
ปล่ อยก๊ าซเรือนกระจกอยู่ที่ 5.3-5.5
ตันคาร์ บอน/คน/ปี
คาร์ บอนฟุตพริ้นท์
(Carbon Footprint)
2
ค า ร์ บ อ น ฟุ ต พ ริ้ น ท์ ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
(Carbon Footprint of Products)
เป็ นการคานวณปริ มาณก๊ าซเรื อ น
กระจกที่ปล่ อยออกมาจากผลิตภัณฑ์ แต่ ละ
หน่ วยตลอดวัฏจักรชีวติ
ตั้ง แต่ ก ารได้ม าซึ่ งวัต ถุ ดิ บ การ
ขนส่ ง การประกอบชิ้ น ส่ ว น การใช้ง าน
จนถึงการจัดการซากผลิตภัณฑ์หลังใช้งาน
โดยค านวณออกมาในรู ป ของน้ า หนั ก
คาร์ บอนไดออกไซด์ เทียบเท่ า (CO2eq)
คาร์ บอนฟุตพริ้นท์
3
(Carbon Footprint)
ค า ร์ บ อ น ฟุ ต พ ริ้ น ท์ ข อ ง
องค์ กร (Carbon Footprint
of Organizations)
เป็ นปริ มาณก๊ าซเรื อ น
กระจกที่ ป ล่ อ ยออกมาจาก
กิจกรรมต่ างๆ ขององค์ กร
ขอบเขตการวัดคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
ขอบเขตการวัดคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
Scope 1
Direct GHG Emission
Scope 2
Indirect GHG Emission
Scope 3
Indirect GHG Emission
- การเผาขยะ/ ฝังกลบของโรงพยาบาล
- การเดินทางโดยพาหนะของโรงพยาบาล
- การบาบัดนา้ เสี ย
- การจัดการสิ่ งปฏิกูล
- ฯลฯ
- การใช้ กระแสไฟฟ้าทีไ่ ม่ ได้ ผลิตเอง
- การเดินทางด้ วยพาหนะทีไ่ ม่ ใช่ ของโรงพยาบาล
- การกาจัดมูลฝอย เช่ นการเผา การฝังกลบของโรงพยาบาล
ในสถานประกอบการของผู้รับจ้ าง
-การจ้ างเหมาบริการต่ างๆ
- ฯลฯ
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
CO2
emission
activity data
emission
factor
Activity data เป็ นข้ อมูลกิจกรรมทีก่ ่ อให้ เกิดการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก
Emission factor เป็ นค่ าคงทีท่ ี่ใช้ เปลีย่ น Activity data ให้ เป็ น
ค่ าปริมาณการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
Activity data เป็ นข้ อมูลกิจกรรมทีก่ ่ อให้ เกิดการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจก
ข้ อมูลปฐมภูมิหรือข้ อมูลทุตยิ ภูมิ ได้ แก่
- ค่ าพลังงานไฟฟ้า หน่ วยเป็ น กิโลวัตต์ ต่อชั่วโมง (kWh)
- นา้ หนักของของเสี ย หน่ วยเป็ น กิโลกรัม (kg) หรือ (ton) ตัน
- การใช้ นา้ มันเชื้อเพลิงของพาหนะ หน่ วยเป็ น ลิตร (l)
- ระยะทางในการเดินทางโดยเครื่องบิน หน่ วยเป็ น กิโลเมตร (km)
- ฯลฯ
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
Emission factor
เป็ นค่ าคงทีท่ ี่ใช้ เปลีย่ น Activity data ให้ เป็ นค่ าปริมาณ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก
กิจกรรม
มูลฝอยทัว่ ไป
ค่ าแฟคเตอร์
1.3 kg CO2e/kg
การฝังกลบมูลฝอยรวม (Sanitary Landfill) 0.8421 kgCO2e/kg
การผลิต Biogas
1 gCH4/kg
การบาบัดนา้ เสี ย Septic system
0.30 kg CH4/kg BOD
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
ข้ อมูล emission factor เพิม่ เติม
http://www.ipccnggip.iges.or.jp/public/2006gl/vol5.html
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
วิธีการคานวณ
1. นา Activity data มาแปลงให้ อยู่ในรูปปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน
กระจก โดยการคูณเข้ ากับ emission factor
2. แปลงค่ าปริมาณก๊าซเรือนกระจกให้ อยู่ในรูปก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์
เทียบเท่ า โดยการนาไปคูณกับค่ าศักยภาพในการทาให้ โลกร้ อนของก๊าซเรือน
กระจกแต่ ละชนิด
3. แปลงค่ าก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ เทียบเท่ าอยู่ในหน่ วยกิโลกรัม หรือตัน
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
ก๊าซเรือนกระจก และศักยภาพในการทาให้ เกิดสภาวะโลกร้ อน
อายุในชั้นบรรยากาศ (ปี )
ศักยภาพในการทาให้ เกิดภาวะโลกร้ อน
(เท่ าของคาร์ บอนไดออกไซด์ )
200 - 450
1
มีเทน CH4
11
21
ไนตรัสออกไซด์ N20
120
310
ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน HFCs
2-19
140-11,700
เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน PFCs
มากกว่า 1,000
6,500-9,200
ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ SF6
3,200
23,900
ก๊าซเรือนกระจก
คาร์บอนไดออกไซด์ CO2
ที่มา : IPCC Second Assessment Report, 1995
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
การแสดงผล
ค่ าคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ขององค์ กร
แสดงเป็ น
ค่ าคาร์ บอนไดออกไซด์ เทียบเท่ าต่ อปี
เช่ น 50 kgCO2e, 20 tCO2e
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
มูลฝอยทัว่ ไป
CO2 Emission
นา้ หนักมูลฝอย
(kg)
1.3 kg CO2e/kg
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยวิธีการฝังกลบ
(MSW Sanitary Landfill )
CO2 Emission
นา้ หนักมูลฝอย
(kg)
0.8421 kgCO2e/kg
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยการส่ งกาจัดภายนอกด้ วย
วิธีการฝังกลบ (MSW Sanitary Landfill )
CO2 Emission
CO2 Emission
นา้ หนักมูลฝอย (ton) x
ระยะทางไป-กลับเฉลีย่ (km)
นา้ หนักมูลฝอย
(kg)
0.0494 kg CO2e/ton-km
0.8421 kgCO2e/kg
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยการหมักเป็ นปุ๋ ย
CO2 Emission
นา้ หนักมูลฝอย (kg)
4 gCH4/kg
CO2 Emission
………gCH4
21
CO2 Emission
………gCO2e
1,000
CO2 Emission
….…kgCO2e
1
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยการหมักเป็ นปุ๋ ย (ต่ อ)
CO2 Emission
นา้ หนักมูลฝอย (kg)
0.3gN2O/kg
CO2 Emission
………gN2O
310
CO2 Emission
………gCO2e
1,000
CO2 Emission
….…kgCO2e
2
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยการหมักเป็ นปุ๋ ย (ต่ อ)
Total CO2
Emission
….…kgCO2e
1
….…kgCO2e
2
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
การจัดการน้าเสี ยจากระบบบาบัดรวม (Septic system)
CO2 Emission
CO2 Emission
ปริมาณนา้ เสี ยเข้ าระบบเฉลีย่ (l)
x
ค่ า BOD ของนา้ เสี ย (mg/l BOD)
……kg BOD
1
0.30 kg CH4/kg BOD
0.30 kg CH4/kg BOD
= (l)
X
= mg BOD
= g BOD
= kg BOD
(mg/l BOD)

1,000

1,000
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
การจัดการน้าเสี ยจากระบบบาบัดรวม (ต่ อ)
CO2 Emission
……kg CH4
CO2 Emission
……kg CO2e
2
21
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
การจัดการสิ่ งปฏิกลู
CO2 Emission
1
ปริมาณสิ่ งปฏิกลู เฉลีย่ 2.0
l/person/day
x
จานวนคน (person) x
154.63 mg/l BOD
0.42 kg CH4/kg BOD
= (l/person/day) x (person) x (154.63 mg/l BOD)
= mg BOD/ day
= g BOD
= kg BOD


1,000
1,000
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
การจัดการสิ่ งปฏิกลู (ต่ อ)
2
0.42 kg CH4/kg BOD
CO2 Emission
……kg BOD/day
CO2 Emission
……kg CH4/day
21
CO2 Emission
……kg CO2e/day
365
CO2 Emission
……kg CO2e
การคานวณคาร์ บอนฟุตพริ้นท์ ของโรงพยาบาล
พลังงานไฟฟ้ า
CO2 Emission
ปริมาณไฟฟ้า (kWh)
0.5610 kgCO2e/kWh
น้ามันเชื้อเพลิง
CO2 Emission
ปริมาณนา้ มันดีเซล (l)
3.0 kgCO2e/l
แนวทางจัดการมูลฝอยอย่างมีประสิ ทธิภาพจากคาร์บอนฟุตพริ้ นท์
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยวิธีการฝังกลบ
CO2 Emission
20 kg
CO2 Emission
16.842 kgCO2e
0.8421 kgCO2e/kg
1
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยวิธีการหมักเป็ นปุ๋ ย
CO2 Emission
20 kg
CO2 Emission
1.68 kgCO2e
4 gCH4/kg
แนวทางจัดการมูลฝอยอย่างมีประสิ ทธิภาพจากคาร์บอนฟุตพริ้ นท์
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยวิธีการหมักเป็ นปุ๋ ย (ต่ อ)
0.3gN2O/kg
CO2 Emission
20 kg
CO2 Emission
1.86 kgCO2e
CO2 Emission
1.68 kgCO2e
1.86 kgCO2e
CO2 Emission
3.54 kgCO2e
2
แนวทางจัดการมูลฝอยอย่างมีประสิ ทธิภาพจากคาร์บอนฟุตพริ้ นท์
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยวิธีการผลิต BIOGAS
CO2 Emission
20 kg
CO2 Emission
0.42 kgCO2e
1 gCH4/kg
3
แนวทางจัดการมูลฝอยอย่างมีประสิ ทธิภาพจากคาร์บอนฟุตพริ้ นท์
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยวิธีการฝังกลบ
1
CO2 Emission
16.842 kgCO2e
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยวิธีการหมักเป็ นปุ๋ ย
2
CO2 Emission
3.54 kgCO2e
การกาจัดมูลฝอยทัว่ ไป ด้ วยวิธีการผลิต BIOGAS
3
CO2 Emission
0.42 kgCO2e
คณ
ุ จะเลือกวิธี
ใด??????
???????
ตัวอย่ างตารางเก็บข้ อมูล
ตารางบันทึกข้ อมูลมูลฝอยโรงพยาบาล………………
ประจาปี 2553
ประเภทมูลฝอย
มูลฝอยทัว่ ไป
มูลฝอยอันตราย
มูลฝอยติดเชื้อ
มูลฝอย….
รวม
นา้ หนักมูลฝอย (กิโลกรัม)
ม.ค. ก.พ.
มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
ส.ค.
ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
ตารางบันทึกข้ อมูลการจัดการมูลฝอยโรงพยาบาล…………
ประจาปี 2553
นา้ หนักมูลฝอย (กิโลกรัม)
การจัดการ
มูลฝอย ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
ฝังกลบ
เผา
หมักปุ๋ ย
Biogas
อืน่ ๆ
รวม
ตารางบันทึกข้ อมูลการจัดการนา้ เสี ยโรงพยาบาล………
ประจาปี 2553
เดือน
นา้ เสี ย
ปริมาณนา้
เสี ยเข้ า
ระบบ
(ลบ.ม.)
BOD
(mg/l)
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
ตารางบันทึกข้ อมูลการจัดการสิ่ งปฏิกลู โรงพยาบาล…………
ประจาปี 2553
เดือน
ข้ อมูล
จานวน
บุคลากร (คน)
จานวนผู้ป่วย
ใน (คน)
จานวนญาติ
(คน)
อืน่ ๆ
รวม
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
ตารางบันทึกข้ อมูลการใช้ พลังงานโรงพยาบาล…………
ประจาปี 2553
ปริมาณพลังงานไฟฟ้า (KWh)
พลังงาน
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
ไฟฟ้า
ปริมาณน้าประปา (M3)
น้าประปา
แบบฝึ กหัด
แบบฝึ กหัด
ข้ อที่ 1 โรงพยาบาล ก. เป็ นโรงพยาบาลชุมชน มีปริ มาณมูลฝอยทัว่ ไปที่
ทิ้งโดยเฉลี่ยต่อวัน 100 กิโลกรัม จะมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ออกสู่ช้ นั บรรยากาศในแต่ละวันปริ มาณเท่าใด
CO2 emission
activity data
emission factor
CO2 emission
=
activity data x emission factor
=
=
=
=
100 kg
1.3 kg CO2e/kg
100 kg x 1.3 kg CO2e/kg
130 kg CO2e
แบบฝึ กหัด
ข้ อที่ 2
โรงพยาบาล ข. มีปริ มาณมูลฝอยทัว่ ไปทั้งหมด 100
กิโลกรัมต่อวัน และมีการกาจัดเองโดยวิธีการฝังกลบ จากวิธีการดังกล่าว
สามารถคานวณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ปริ มาณเท่าใด
CO2 emission
activity data
=
emission factor =
CO2 emission =
=
=
activity data x emission factor
100 kg
0.8421 kgCO2e/kg
100 kg x 0.8421kg CO2e/kg
84.21 kg CO2e
แบบฝึ กหัด
ข้ อที่ 3 สถานีอนามัย ก. มีระบบบาบัดสิ่ งปฏิกลู แยกออกจากระบบบาบัดน้ า
เสี ย ในปี 2552 มีผใู ้ ช้บริ การเฉลี่ยจานวน 25 คนต่อวัน (บุคลากรและ
ผูใ้ ช้บริ การทั้งหมด) สถานีอนามัยแห่งนี้มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
จากการจัดการสิ่ งปฏิกลู ในปี 2552 เป็ นปริ มาณเท่าใด
แบบฝึ กหัด
CO2 emission
activity data
=
activity data x emission factor
= 2.0 l/person/day x 25 person x 154.63 mg/l BOD
= 0.0077315 kg BOD/day
emission factor = 0.42 kg CH4/kg BOD
CO2 emission = 0.0077315 kg BOD/day x 0.42 kg CH4/kg BOD
= 0.00324723 kg CH4 /day
x 21 GWP100
= 0.06819183 kg CO2e/day x 365
= 24.89 kg CO2e
แบบฝึ กหัด
ข้ อที่ 4 โรงพยาบาล ช. ใช้ระบบบาบัดน้ าเสี ยของโรงพยาบาลเป็ น Septic
system มีปริ มาณน้ าเสี ยเข้าระบบเฉลี่ย 500,000 ลิตรต่อวัน และมีค่า
BOD ของน้ าเสี ย 160 มิลลิกรัมต่อลิตร จะมีการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ออกมาปริ มาณเท่าใด
activity data
emission factor
CO2 emission
=
=
=
=
=
=
500,000 L
x 160 mg/L BOD
80 kg BOD
0.30 kg CH4/kg BOD
80 kg BOD x 0.30 kg CH4/kg BOD
24 kg CH4
x 21 GWP100
504 kg CO2e
แบบฝึ กหัด
ข้ อที่ 5 โรงพยาบาลทัว่ ไปแห่ งหนึ่ง มีจานวนบุคลากร 100 คน มีผ้ ใู ช้ บริการเฉลีย่
จานวน 500 คนต่ อวัน ในเดือนมกราคม 2553 ใช้ พลังงานไฟฟ้า 10,000
kWhต่ อเดือน ใช้ นา้ มันเชื้อเพลิงไปทั้งหมด 5,500 ลิตรต่ อเดือน บุคลากรใช้ บริการ
โดยสารเครื่องบิน 3,500 กิโลเมตรต่ อเดือน ระบบบาบัดนา้ เสี ยแบบ Septic
system มีปริมาณนา้ เสี ยเข้ าระบบเฉลีย่ 500,000 ลิตรต่ อวัน และมีค่า BOD
ของนา้ เสี ย 200 มิลลิกรัมต่ อลิตร มีการจัดการมูลฝอยทั่วไปจานวน 200 กิโลกรัมต่ อ
วัน ส่ งกาจัดด้ วยวิธีฝังกลบโดยใช้ บริการขององค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่นมีระยะทาง
ขนส่ งไป-กลับ 30 กิโลเมตร 1 ครั้งต่ อสั ปดาห์ ส่ วนมูลฝอยติดเชื้อจานวน 30
กิโลกรัมต่ อวันจะกาจัดเองโดยวิธี Autoclaved off-site โรงพยาบาลแห่ งนี้
ปล่ อยคาร์ บอนไดออกไซด์ ออกสู่ บรรยากาศปริมาณเท่ าใด
แบบฝึ กหัด
Total CO2 emission
=
=
5.610 MTCO2e
+ 0.385 MTCO2e
+ 18.9 MTCO2e
+ 5.0526 MTCO2e
+ 0.0011856 MTCO2e + 0.2187 MT CO2e
30.17 MTCO2e
LOGO