บทที่ 8 การประยุกต์ใช้สารสนเทศ เนือ้ หาบทเรียน การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านภาครัฐ การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านภาคพาณิชย์ การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านอุตสาหกรรม การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านการศึกษา.

Download Report

Transcript บทที่ 8 การประยุกต์ใช้สารสนเทศ เนือ้ หาบทเรียน การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านภาครัฐ การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านภาคพาณิชย์ การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านอุตสาหกรรม การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านการศึกษา.

บทที่ 8
การประยุกต์ใช้สารสนเทศ
เนือ้ หาบทเรียน
การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านภาครัฐ
การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านภาคพาณิชย์
การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านอุตสาหกรรม
การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านการศึกษา
เนือ้ หาบทเรียน
การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านสั งคม
การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศอย่ างฉลาด
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารประเทศไทย พ.ศ. 2544
– พ.ศ. 2553 (e-Thailand)
ด้ านภาครัฐ
พัฒนาประสิ ทธิภาพภายในองค์ กร (Back office) พัฒนาระบบ
บริการประชาชน (Front office) ปรับปรุ งระบบบริหารราชการ
เพือ่ นาไปสู่ Good Government จัดทาแผนแม่ บท จัดให้ มี
หน่ วยงานติดตามและสนับสนุน ปรับปรุ งระบบงานและการจัดระบบข้ อมูล
ทั้ง ในส่ วนกลางและองค์ ก รท้ อ งถิ่ น พัฒ นาข้ า ราชการให้ มี ทั ก ษะ ปรั บ
กฎหมายและกฎระเบียบให้ เอือ้ อานวย จัดให้ มีโครงสร้ างพืน้ ฐานสารสนเทศ
และส่ งเสริ มอุ ตสาหกรรมสารสนเทศของไทย สร้ างความตระหนั กและ
ความเชื่อมั่นของประชาชน
•
•
ด้ านพาณิชย์ (e-Commerce)
ส่ งเสริ มการส่ งออก ส่ งเสริ มการค้ าบริ การ ส่ งเสริ ม การ
บริ โ ภคจากผู้ ป ระกอบการภายในประเทศ กฎหมายพาณิช ย์
อิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ระบบการช าระเงิ น ผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่
ปลอดภัย สร้ างความตระหนักและความเข้ าใจ ส่ งเสริมวิสาหกิจ
ขนาดกลางและย่ อม สร้ างตลาดให้ ภาคเอกชนผ่ า น eProcurement ของภาครั ฐ พัฒนาบุคลากร จัดให้ มี
โครงสร้ างพื้ น ฐานสารสนเทศที่ เ หมาะสมและส่ งเสริ ม
อุสาหกรรมไอทีของไทย
ด้ านอุตสาหกรรม (e-Industry)
ยกระดับประสิ ทธิภาพในการผลิตโดยใช้ ไอที ขยายฐานการตลาดโดย
ใช้ ไอที ใช้ ไอที เ พื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต ทางด้ า นการเกษตร เน้ น การพั ฒ น า
อุตสาหกรรมไอทีที่มีศักยภาพ จัดให้ มี Thailand Exchange
ส่ งเสริ ม การใช้ ไอที ใ นภาคการผลิ ต จั ด ให้ มี ข้ อ มู ล ทางด้ า นการตลาด
ส่ งเสริ มการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชน ส่ งเสริ มการพัฒนาบุ คลากรใน
ภาคการผลิตให้ มีและแลกเปลี่ยนความรู้ ส่ งเสริ มอุตสาหกรรมไอทีเพื่อสด
การนาเข้ าและเพือ่ การส่ งออก ส่ งเสริมการใช้ ไอทีในภาคการเกษตร
ด้ านการศึกษา (e-Education)
สร้ างมูลค่ าเพิ่มให้ กบั อุปกรณ์ ที่มีอยู่แล้ ว (Value-added) ลดความ
เหลือ่ มลา้ โดยลงทุนอย่ างเหมาะสม (Equity) วางแผนก้ าวกระโดดใน
ระยะยาว (Quantum-jump) ยกระดับครู ให้ มีทักษะด้ านไอที
(Teacher’s Training) เร่ งผลิตฐานความรู้ (Content
Development) สร้ างเครือข่ ายการศึกษาที่มีระบบบริหารจั ดการ
ที่ดี (Networking)
สนั บสนุ นการใช้ ไอทีเพื่อยกระดับ
ความสามารถทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จัดให้ มีโครงสร้ างพืน้ ฐาน
สารสนเทศและส่ งเสริมอุตสาหกรรมไอทีของไทย
ด้ านสั งคม (e-Society)
ลดความเหลื่อมลา้ ของการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ (Digital
Divide) เพิ่มคุณภาพชี วิตให้ กับประชาชน (Quality of
Life) ส่ งเสริมการเรียนรู้ (Learning Society) สร้ าง
โอกาสในการเข้ าถึงสารสนเทศและความรู้ ส่ งเสริมชุ มชนและองค์ กร
แห่ งการเรี ยนรู้ ตลอดชี วิต พัฒนาทักษะของประชาชนในการเข้ าถึง
และใช้ เทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนรู้ ส่ งเสริ มการใช้ ไอทีเพื่อการพัฒนา
คุณภาพชี วิต สนับสนุนการใช้ ไอทีเพื่อวัฒนธรรมและความเอือ้ อาทร
ในสั ง คม ส่ งเสริ ม การจั ด ให้ มี โ ครงสร้ างพื้ น ฐานสารสนเทศที่
เหมาะสมและสนับสนุนอุตสาหกรรมไอทีของไทย
การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านภาครัฐ (eGovernment)
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง วิธีการบริ หารจัดการ
ภาครั ฐ สมั ย ใหม่ โดยการใช้ เ ทคโนโลยีค อมพิว เตอร์ แ ละ
เครื อ ข่ า ยสื่ อ สารเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการด าเนิ น งาน
ภาครัฐ ปรับปรุงการบริการแก่ ประชาชน การบริการด้ าน
ข้ อมูลและสารสนเทศเพื่อส่ งเสริ มการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สั งคม และทาให้ ประชาชนมีความใกล้ ชิดกับภาครัฐมากขึน้
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้ วยหลักการทีเ่ ป็ นแนวทาง
4 ประการ ได้ แก่
- สร้ างบริการตามความต้ องการของประชาชน
- ทาให้ รัฐและการบริการของรัฐเข้ าถึงได้ มากขึน้
- เกิดประโยชน์ แก่ สังคมโดยทั่วกัน
- มีการใช้ สารสนเทศที่ดกี ว่ าเดิม
แนวทางของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
นาหลักการ e-Service มาใช้ ประโยชน์ กับการบริ การต่ างๆ
ของภาครัฐ ซึ่งประกอบด้ วยการพัฒนาระบบสารสนเทศให้ ทันสมัยและ
มีประสิ ทธิภาพสู งผ่ านเครื อข่ ายอิเล็กทรอนิกส์ ที่มี ความปลอดภัย และ
ทาให้ องค์ กรสามารถแลกเปลีย่ นสารสนเทศกันได้ การพัฒนาทักษะและ
องค์ ความรู้ ตลอดจนการพั ฒ นาระบบการบริ ก ารผ่ า นเครื อ ข่ าย
สารสนเทศที่ เ ชื่ อ มโยงการบริ ก ารระหว่ า งองค์ ก ร บริ ก ารเบ็ ด เสร็ จ
(one-stop service) เพือ่ ประโยชน์ สูงสุ ดในการเข้ าถึงข้ อมูล
และบริการของรัฐ
หลักสาคัญของการสร้ างรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
- ที่เดียว
- ทันใด
- ทัว่ ไทย
- ทุกเวลา
- ทัว่ ถึงและเท่าเทียม
- โปร่ งใสและเป็ นธรรมาภิบาล
การแบ่ งกลุ่มตามผู้รับบริการของ
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
1). รั ฐกับประชาชน (Government to Citizen : G2C)
2). รั ฐกับเอกชน (Business to Business : G2B)
3). รั ฐกับรั ฐ (Government to Government : G2G)
4).รั ฐกับข้ าราชการและพนักงานของรั ฐ (Government
to Employee : G2E)
ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
(e-Government)
- ลดขั้นตอน ลดเวลาและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการให้บริ การของหน่วยงาน
ภาครัฐ
- ลดต้นทุนการดาเนินงานและการให้บริ การของหน่วยงานภาครัฐ
- ลดช่องว่างและความเหลื่อมล้ าในการเข้าถึงข้อมูลและบริ การของรัฐ
- มีความโปร่ งใสในการดาเนินงานและให้บริ การ
- เพิ่มประสิ ทธิภาพในการทางานของหน่วยงานภาครัฐ
- ช่วยยกระดับความรู ้และมีภูมิคุม้ กันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
- เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
เว็บไซต์ ที่ต้งั ขึน้ เป็ นเว็บท่ าเพือ่ ให้ บริการภาครัฐ
1). บริการผ่ าน www.ecitizen.go.th
เว็บท่า www.ecitizen.go.th
ศูนย์กลางบริ การภาครั ฐนี้
ให้ บ ริ การในด้า นต่ า งๆ ได้แ ก่ บริ การประชาชน บริ การธุ ร กิ จ Thais
Abroad บริ ก ารภาครั ฐ โดยให้ บ ริ ก ารเกี่ ย วกับ ข้อ มู ล ทะเบี ย นราษฎร์
สวัสดิการภาครัฐ ภาษี สาธารณู ปโภค การศึกษา การจ้างงาน ครอบครัวและ
ชุ มชน สุ ขภาพ ที่ อยู่อาศัย ความปลอดภัยและกฎหมาย การคมนาคมขนส่ ง
ข้อมูลนักท่องเที่ยว/การท่องเที่ยว การพักผ่อน ความบันเทิง วงจรชีวิตในแต่ละ
ช่วงวัย แบ่งเป็ นวัยเด็ก วัยรุ่ น วัยทางาน วัยเกษียณ บริ การ Link รายชื่อ
หน่วยงานภาครัฐเรี ยงตามตัวอักษร ข่าวสารจากกระทรวง บริ การงานออนไลน์
จากหน่วยงานภาครัฐ
ecitizen เว็บไซต์ ทจี่ ัดตั้งเป็ นเว็บท่ าของบริการภาครัฐ
2). บริการผ่ าน www.thaigov.net
เว็บท่า www.thaigov.net หรื อไทยก็อฟด็อทเน็ตนี้ ให้บริ การ
ภาครัฐโดยแบ่งเป็ นสารบัญบริ การภาครัฐออนไลน์ที่ให้บริ การข้อมูลข่าวสารต่างๆ
ได้แก่ ข้อมูลภาครัฐ ด้านการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจ ด้านไปรษณี ย ์
และคลื่นวิทยุ ด้านแรงงานและประกันสังคม ด้านอาหารและยา ด้านกฎหมาย ด้าน
สถิติ บริ การเกี่ยวกับไฟฟ้ า ประปา โทรศัพท์ ภาษี และการเดินทาง บริ การเกี่ยวกับ
งานทะเบียน บริ การเกี่ยวกับการซื้ อขาย จัดซื้ อจัดจ้าง ธุ รกรรมการลงทุนและตลาด
หลักทรัพย์ บริ การร้องเรี ยน/ร้องทุกข์ บริ การสาหรับเว็บไซต์และผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ต
ในส่ วนของสารบัญบริ การภาครั ฐให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับบุ คคล นิ ติบุคคล ที่ อยู่อาศัย
และที่ ดิน ธุ รกิ จ การค้า การพาณิ ชย์ สุ ขภาพ รถยนต์ ทางหลวง การศึ กษา การ
ต่างประเทศและการเดิ นทาง อาชี พ การสื่ อสาร บริ การในช่ วงชี วิตซึ่ งให้บริ การ
ข้อมูลแนะนาในช่วงชีวติ
ไทยก็อฟด็อทเน็ตเว็บไซต์ ทจี่ ัดตั้งเป็ นเว็บท่ าของบริการ
ภาครัฐ
3). บริการผ่าน www.khonthai.com
เว็บท่า www.khonthai.com หรื อคนไทยดอทคอมนี้ ให้บริ การงานด้าน
ต่างๆ ได้แก่ การบริ การภาครัฐ Khonthai Certificate อินเทอร์ เน็ต
ตาบล การบริ การภาครัฐ (MOU) ข่าวประชาสัมพันธ์ ศูนย์รับร้องเรี ยน (Call
Center) งานไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิ กส์ แจ้งเบาะแส เหตุด่วนเหตุร้าย 3 จังหวัด
ภาคใต้ ค้นหา Link
งานทะเบี ย นราษฎร/ประชากร การต่ างประเทศ
สาธารณู ป โภค สุ ข ภาพ อาชี พ อุ ต สาหกรรม การคมนาคมขนส่ ง /การสื่ อ สาร
การศึกษา การพาณิ ชย์ สวัสดิ ภาพ การเกษตร กระทรวง ทบวง กรม รั ฐวิสาหกิ จ
บริ การหน่วยงานภาครัฐ บริ การ Pin Code ผ่านหน่วยงานที่ได้รับอนุญาต
เอกสารเผยแพร่ ต่างๆ แรงงานต่างด้าว ทะเบียนค้าของเก่า และ Smart Card
คนไทยดอทคอมเว็บไซต์ ทจี่ ัดตั้งเป็ นเว็บท่ าของบริ การภาครัฐ
การพานิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
E-Commerce หมายถึง การทาการค้ าผ่ าน
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งเป็ นการดาเนิน ธุรกิจที่
สามารถทาได้ ตลอด 24 ชั่ วโมง ไม่ มีข้อจากัด
ทางด้ านที่ต้ังของสถานประกอบการ สามารถ
เข้ าถึ ง กลุ่ ม เป้ าหมายได้ ใ นทุ ก พื้ น ที่ ที่ ร ะบบ
เครือข่ ายเข้ าถึง
ธุรกิจพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
วิธีการทาพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ มี 2 ลักษณะ
1). การฝากสิ นค้ าขายของบน Shopping
Mall
2). การสร้ างเว็บไซต์ ของตัวเอง
รู ปแบบการทาธุรกรรมผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์
1). ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business : B2B)
2). ธุรกิจกับผู้บริโภค (Business to Consumer :
B2C)
3). ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government :
B2G)
4). ผู้บริโภคกับผู้บริโภค (Consumer to Consumer :
C2C)
หน่ วยงานภาครัฐทีด่ ูแลด้ านพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
1). ศูนย์ พฒ
ั นาพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ศูนย์พฒั นาพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce
Resource
Center
:
ECRC)
หรื อ
www.ecommerce.or.th จัดตั้งขึ้นภายใต้ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิ กส์และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี แ ละ
สิ่ ง แวดล้อ ม เพื่ อ พัฒ นาระบบพาณิ ช ย์อิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์
(eCommerce) ของประเทศไทยมีความก้าวหน้าและสามารถ
แข่งขันในระดับสากลได้
เว็บไซต์ ศูนย์ พฒ
ั นาพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
2). สานักงานบริการเทคโนโลยีและสารสนเทศภาครัฐ
(Government Information Technology Services : GITS) หรื อ
www.gits.net.th เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ที่ จั ด ตั ้ ง ขึ ้ น เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ eGovernment ของประเทศไทยที่มีความเชี่ยวชาญด้ านเทคโนโลยี
สารสนเทศ (IT) อย่ างมีคุณภาพและครบวงจร ยกระดับเครื อข่ าย
สารสนเทศภาครั ฐ (Government Information Network : GINet)
ไปสู่ Government (Secure) VPN (G-VPN) เพื่อตอบสนองการ
บริ ห ารงานส าหรั บ หน่ วยงานภาครั ฐ ได้ อ ย่ า งปลอดภั ย และมี
ประสิทธิภาพสูง ปฏิบัติหน้ าที่เป็ น National Root CA ที่ได้ รับ
ความเชื่ อมั่ นสู ง และมี มาตรฐานระดับ สากล สนั บ สนุ นให้ เกิด
ระบบ การ เชื่ อมโย งระ หว่ า งภา ครั ฐ และ ประ ชาช นผ่ า น
Government Gateway (e-Services)
ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับจากการพัฒนาด้ านพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce)
- ทางานแทนพนักงานขาย โดยสามารถทาการค้ าแบบอัตโนมัติ ได้ อย่างรวดเร็ว
- เปิ ดให้ บริการ 24 ชั่วโมง และให้ บริการได้ ทวั่ โลก
- มีช่องทางการจัดจาหน่ ายมากขึน้ ทั้งในประเทศและต่ างประเทศ
- เก็บเงิน และนาฝากเข้ าบัญชีได้ โดยอัตโนมัติ
- ประหยัดเวลาและขั้นตอนทางการตลาด
- สามารถทากาไรได้ มากกว่ าระบบการขายแบบเดิม เนื่องจากต้ นทุนการผลิตและ
การจาหน่ ายต่ากว่ า ทาให้ ได้ กาไรจากการขายต่ อหน่ วยเพิม่ ขึน้
- สามารถนาเสนอข้ อมูลเกีย่ วกับสิ นค้ าได้ เป็ นจานวนมาก และสามารถสื่ อสารกับ
ลูกค้ าได้ ในลักษณะ Interactive Market
8.3
การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศด้ านอุตสาหกรรม
(e-Industry)
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศภาคอุตสาหกรรม (e-Industry)
หมายถึ งการสร้ างความเข้ มแข็ งของภาคอุตสาหกรรมการผลิต โดยใช้ เ ทคโนโลยี
สารสนเทศเป็ นเครื่องมือที่สาคัญ เพือ่ เป้ าหมายสาคัญในการสร้ างความสามารถใน
การแข่ งขันของภาคอุตสาหกรรม โดยจะนามาซึ่ งการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ
อย่ างยั่งยืนในอนาคตต่ อไป
สถานภาพของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศใน
ภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยประกอบด้ วย การใช้ เทคโนโลยีในสานักงาน
(Back
office)
การใช้ เ ทคโนโลยีใ นกระบวนการผลิต
(Production process) การใช้ เทคโนโลยีในขั้นตอนการขนส่ งและ
การตลาด (Logistic and marketing)
ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับจากการพัฒนาด้ านอุตสาหกรรม (e-Industry)
- สร้ างเสริมภาคอุตสาหกรรมการผลิตให้ ใช้ ความรู้เป็ นฐานทางการผลิต
- ส่ งเสริมให้ เกิดการใช้ ข้อมูลด้ านอุตสาหกรรมและการตลาดสิ นค้ า
อุตสาหกรรมเป็ นแนวทางในการตัดสิ นใจผลิตสิ นค้ าอุตสาหกรรม
- ส่ งเสริมให้ เกิดการเชื่อมโยงทางการผลิตระหว่ างผู้ประกอบการราย
ใหญ่ และรายย่ อยทั้งในส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาค
- ลดช่ องว่ างในการเข้ าถึงข้ อมูลของผู้ประกอบการไทย
- ส่ งเสริมให้ ธุรกิจของผู้ประกอบการพร้ อมให้ บริการแก่ลูกค้าใน
ช่ องทางต่ างๆ ที่มากขึน้
- ช่ วยในการประหยัดเวลาในการดาเนินธุรกิจ
- เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการให้ บริการของผู้ประกอบการ
ระบบการแพทย์ ออนไลน์ (Telemedicine)
คือ การให้ บริ การจัดการด้ า นสุ ข ภาพ หรื อ
การรั ก ษาผู้ ป่ วยผ่ า นทางระบบเครื อ ข่ า ยการ
สื่ อ สาร ซึ่ ง ผู้ รั บ บริ ก ารและผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารอยู่ ต่ า ง
พื้นที่กันโดยท าการติดตั้งอุป กรณ์ สื่ อสาร เช่ น
กล้องดิจิตอล เป็ นต้ น
ระบบการแพทย์ออนไลน์
(Telemedicine)
การปรึกษาและรักษาผ้ ูป่วยทางอินเตอร์ เน็ต
ห้ องสมุดเสมือน (Virtual Library)
คือ ระบบการสื บค้ นข้ อมูลในห้ องสมุดผ่ าน
ระบบอิ น เทอร์ เน็ ต ที่ ผู้ ใ ช้ สามารถเรี ย กดู
หนังสื อทีละหน้ าและสามารถสั่ งพิมพ์ ได้ จาก
คอมพิ ว เตอร์ ซึ่ ง อาจมี ก ารเรี ย กเก็ บ ค่ า ใช้
บริการผ่ านระบบอินเทอร์ เน็ต
ภาวะเสมือนจริง (Virtual Reality)
คือ การใช้ คอมพิวเตอร์ จาลองภาพสภาวะ
แวดล้ อ มในระบบสามมิ ติ ให้ ผู้ ใ ช้ สามารถ
ทดลองใช้ ระบบต่ างๆ ได้ เหมื อ นอยู่ ใน
เหตุการณ์ จาลอง ซึ่ งนามาใช้ ทดสอบกับงานที่
มีความเสี่ ยงสู ง เช่ น ระบบการบิน งานด้ านการ
ฝึ กหัดแพทย์ เป็ นต้ น
ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Reality)
เ ป็ น ศ า ส ต ร์ ท า ง ด้ า น วิ ท ย า ก า ร
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ที่ เ น้ น ก า ร พั ฒ น า ใ ห้
คอมพิ ว เตอร์ สามารถ คิ ด ค านวณ
ปฏิบัติการ และแสดงการกระทาต่ างๆ ได้
เหมือนมนุษย์
ประกอบด้ วย 4 สาขา ดังนี้
1. ศาสตร์ ด้านหุ่นยนตร์
2. ภาษาธรรมชาติ
3. ระบบผู้เชี่ยวชาญ
4. ความสามารถในการจ าลองประสาท
สั มผัสของมนุษย์
Roboraptor
ทรู ตั้ ง โต๊ ะโชว์ หุ่ นยนต์ โรโบแรปเตอร์
(Roboraptor)ข น า ด 32 นิ้ ว ส า ม า ร ถ
เคลือ่ นไหวอิริยาบถต่ างๆได้ โดยอิสระ สามารถ
หยอกล้ อหรื อออดอ้ อนไม่ ต่างจากสั ตว์ เลี้ยง มี
เซ็ นเซอร์ คอยตรวจจับความเคลื่อนไหวเพื่ อ
ตอบสนองต่ อมนุษย์ ใช้ พลังงานจากถ่ านขนาด
AA จานวน 6 ก้อน
โรโบแร็พเตอร์
โรโบแร็ พเตอร์ ถูกออกแบบให้ มีลักษณะและการ
เคลื่ อ นไหวที่ เ ป็ นธรรมชาติ ม ากที่ สุ ด ทั้ งการ
เคลื่อนไหวของส่ วนหั วและหางที่มีเซ็ นเซอร์ แบบ
สั ม ผัส ไม่ ว่ า จะเป็ นคาง หางและลิ้น เซ็ น เซอร์ รั บ
เสี ยง เซ็นเซอร์ สาหรั บการมองเห็น และเมื่อมี สิ่งเร้ า
กระตุ้นจะทาให้ เกิดปฏิกิริยาตอบกลับโดยอัตโนมัติ
เช่ น มี เ สี ยงดั ง เกิ ด ขึ้ น โรโบแร็ พ เตอร์ จะมี ก าร
เคลือ่ นไหวและหันไปตามต้ นกาเนิดเสี ยง
AIBO สุ ดยอดสั ตว์ อเิ ล็กทรอนิกส์
หุ่นยนต์ Aibo ERS-210 จะไม่ วิ่งไปต้ อนรับ
คุณ เวลาคุณกลับบ้ าน เหมือนสุ นัข แต่ ก็สามารถ
ทาตามคาสั่ ง ของคุณได้ หลายอย่ าง และจะขอให้
คุณ ตั้งชื่ อให้ แถมยังมี กล้ องดิจิตอล ที่ปลายจมูก
สาหรั บจับภาพต่ างๆ ด้ วย แต่ ห่ ุ นยนต์ สัตว์ เลี้ยง
รุ่ น Aibo ERS-210 ก็จะให้ ความเพลิดเพลิน แก่
คุณ ในอีกรูปแบบหนึ่ง ทีส่ ั ตว์ เลีย้ งจริง ๆ ทาไม่ ได้
"คอนโด" ห่ ุนยนต์ ช่างแดนซ์
"คอนโด" หุ่ น ยนต์ ตั ว จิ๋ ว ได้ แ สดงลี ล าท่ า ทาง
แดนซ์ กระจายต่ อหน้ าสาธารณชน ความน่ ารั กของ
คอนโดอยู่ตรงที่สามารถเคลื่อนไหวได้ เหมือนมนุษย์
นอกจากนีย้ งั สามารถเตะฟุตบอลได้ และร้ องเพลงได้
อี ก ด้ วย ทั้ ง นี้ ค อนโดเป็ นหุ่ นยนต์ ที่ ค วบคุ ม ให้
เคลื่ อ นไหวโดยใช้ โปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ และ
สามารถเปลี่ ย นแปลงท่ า ทางได้ ต ามค าสั่ ง ของผู้
ควบคุม
ห่ ุนยนต์ ฮิวแมนนอยด์
หุ่นยนต์ ที่มีความสามารถในการเล่ นทรัมเป็ ตและ
ยังสามารถโค้ งคานับให้ กับผู้ชม และโบกมือตอบรั บ
เสี ยงปรบมื อ ได้ อี ก ด้ วยริ ม ฝี ปากของหุ่ นฯ เป็ น
สิ่ งประดิษฐ์ ที่เรียกว่ า "artificial lips" หรือริมฝี ปาก
อัจฉริ ยะ สามารถขยับได้ เหมือนมนุษย์ บังคับลมให้
ผ่ านออกมาและทาให้ ทรัมเป็ ตเกิดเสี ยงดังได้ ที่สาคัญ
คื อ ไม่ ใ ช่ แค่ เ กิ ด เสี ย งเท่ า นั้ น แต่ ห มายถึ ง ดนตรี ใ น
ระดั บ ที่ เ ป็ นธรรมชาติ จ นผู้ ฟั ง สามารถรู้ สึ ก ได้ เ ลย
ทีเดียว
ห่ ุนยนต์ ทาร์ ซานสารวจป่ า
ทาร์ ซ านไฮเทค หุ่ น ยนต์ ที่ นั ก วิท ยาศาสตร์
ประดิษฐ์ คิดค้ นขึ้นมาเพื่อทาการสารวจพืน้ ที่ป่า
โดยไม่ ต้องให้ มนุ ษย์ เข้ าไปเสี่ ยง เนื่ องจากเกรง
อั น ตรายจากสั ต ว์ ส ารพั ด ชนิ ด โดยหุ่ นยนต์
ทาร์ ซานหรือมีชื่อเรียกกันว่ า "Treebot" ตัวนี้ใช้
พลังงานแสงอาทิตย์ ในการขับเคลื่อน อีกทั้ งยัง
ติดตั้งกล้ องเวบแคม และเซนเซอร์ ต่าง ๆ รวมถึง
ระบบเครือข่ ายแบบไร้ สายเอาไว้ ด้วย
"QRIO" คิวริโอ ห่ ุนยนต์ อจั ฉริยะ
“คิวริ โอ” สามารถเดินทรงตัวได้ ด้วยเท้ าทั้งสองข้ าง
เหมื อ นกั บ มนุ ษ ย์ มี ก ลไกในการขั บ เคลื่ อ นที่ เ รี ย กว่ า
Intelligent Servo Actuator สามารถเคลือ่ นไหวข้ อต่ อต่ าง
ๆ ของร่ างกายได้ อย่ างคล่ องแคล่ ว ปรั บตัวให้ เคลื่ อนที่บน
ทางลาดหรื อพืน้ ผิวต่ าง ๆ ได้ คิวริ โอตัวน้ อย ๆ สามารถ
เต้ นรา เตะบอล หรือราไทยโชว์ ได้ อย่ างสบายยิ่งไปกว่ านั้น
ยังสามารถรับรู้ และเข้ าใจประโยคคาพูดและโต้ ตอบกลับได้
ด้ วยเสี ยงพูดของ ตัวเองพร้ อมแสดงกิริยาท่ าทางประกอบ
แยกแยะบุ คคลแต่ ละคนได้ จากน้าเสี ยงและองค์ ประกอบ
จากใบหน้ า
ความบันเทิงแบบ On Demand และ Interactive
(On Demand and Interactive Entertainment)
ในอนาคตการชมรายการบันเทิงจะเป็ นแบบ
On Demand คือ Home Server จะเก็บข้ อมูล
รายการโทรทั ศ น์ และดนตรี เ อาไว้ และเรา
สามารถเลือกชมได้ ตามเวลาที่เราต้ องการ
องค์ประกอบของระบบ Video on Demand
ระบบสานักงานอัตโนมัติ
(OA : Office Automation)
คือ ระบบการทางานในสานักงานที่มีการใช้
คอมพิวเตอร์ และเครื่ องมืออัตโนมัติต่างๆ เพื่อ
อ านวยความสะดวกในการท างาน เช่ น
เครื่ องโทรสาร เครื่ องถ่ายเอกสาร เป็ นต้น
อุปกรณ์ ในระบบสานักงานอัตโนมัติ
(OA : Office Automation)
อาคารอัตโนมัติ
(BA : Building Automation)
ระบบการท างานในส านั ก งานที่ มี ก ารใช้
คอมพิวเตอร์ และเครื่ องมืออัตโนมัติต่า งๆ เพื่อ
อานวยความสะดวกในการทางาน สามารถใช้
งานง่ าย สั่ งงานได้ ด้วยเสี ยงและสามารถทางาน
แทนคนได้ โดยอัตโนมัติ
ระบบการทางานของอาคารอัตโนมัติ
โรงงานอัตโนมัติ
(FA:Factory Automation)
คื อ ระบบควบคุ ม การท างานโรงงานให้ มี
ประสิ ทธิภาพ ซึ่ งมีการเชื่ อมต่ อเป็ นระบบเครื อข่ าย
อิน เทอร์ เ น็ ต ภายในโรงงาน เพื่อ ให้ ส ามารถผลิ ต
สิ นค้ าได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพตรงกับความต้ องการ
และประหยัดต้ นทุนมากทีส่ ุ ด
FA : Factory Automation
ระบบการทางาน
ของโรงงานอัตโนมัติ
รถยนต์ คอมพิวเตอร์ (Computer Car)
รถยนต์ ค อมพิว เตอร์ ถูกพัฒนาเพื่ออานวย
ความสะดวกและสร้ างความปลอดภัยให้ แก่ ผู้ใช้
มากขึน้ โดยจะมีระบบนาทาง ระบบแสดงภาพ
การขับขี่และข้ อมูลต่ างๆ ทั้งข้ อมูลเชื้อเพลิง ทั้ง
ยังมีระบบรักษาความปลอดภัย
อากาศยานไร้ นักบินขนาดเล็กเพือ่ การสารวจ
UAV : Unmanned Aerial Vehicle
อากาศยานไร้ นักบินขนาดเล็กเพื่อการสารวจ
โดยใช้ เครื่ อ งบิ น แบบขนาดเล็ ก ไม่ มี นั ก บิ น
ควบคุ ม การบิ น อยู่ บ นเครื่ อ ง ใช้ ควบคุ ม แบบ
อั ต โนมั ติ ห รื อ บั ง คั บ ด้ ว ยบุ ค คล โดยมี ส ถานี
ภาคพืน้ ดินขนาดเล็กเคลื่อนที่ได้ ในการควบคุม
และการติดต่ อสื่ อสารบนอากาศยาน
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทีเ่ กิดขึน้ ในอนาคต
ยูสเซอร์ อนิ เตอร์ เฟส (User Interface)
คือ การสั่ งงานคอมพิวเตอร์ โดยยึดผู้ใช้ เป็ น
ศูนย์ กลาง เพือ่ ให้ ง่ายต่ อการใช้ งาน
หน่ วยอัจฉริยะ (Intelligent Agents)
คือ ซอฟแวร์ ที่ถูกพัฒนาขึน้ มาจากรากฐาน
ความรู้ ทางด้ านปั ญญาประดิ ษ ฐ์ เพื่ อ ให้
ชุ ดคาสั่ งดังกล่ าวสามารถนาเสนอสารสนเทศ
ในรู ปแบบทีผ่ ู้ใช้ ต้องการ
การผสมผสานระหว่ างมนุษย์ และ
คอมพิวเตอร์
คือ การที่ไมโครโปรเซสเซอร์ ซึ่งเป็ นชิ้ นส่ วน
ของอุป กรณ์ ค อมพิว เตอร์ ไ ด้ ถู ก พัฒ นาให้ เ ป็ น
ชิ้นส่ วนหลักของสิ่ งที่มีความละเอียดอ่ อน เช่ น
ชิ้นส่ วนของมนุษย์ เป็ นต้ น
คอมพิวเตอร์ ควอนตัม
(Quantum Computer)
การพัฒนาด้ านคอมพิวเตอร์ จะมีการใช้ ผลึก
เหลว แทนทรานซิ ส เตอร์ และชิ ป เราเรี ย ก
คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ว่า “QC” (Quantum
Computer) โดยเครื่องคอมพิวเตอร์ ควอนตัม ใช้
หลั ก การของควอนตั ม แทนการใช้ ดิ จิ ต อล
เทคโนโลยี
เมกะเซิร์ฟเวอร์ (Mega Server)
คือ คอมพิว เตอร์ ที่มี ลักษณะเป็ นศู น ย์
ข้ อ มู ล ขนาดใหญ่ ซึ่ ง ระบบดั ง กล่ า วจะ
อนุ ญาตให้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล
ติดต่ อขอใช้ ทรัพยากรร่ วมกันได้
สั งคมยูบิควิตสั (Ubiquitous Society)
คือ สั งคมที่สามารถติดต่ อสื่ อสาร ควบคุ ม
หรือทากิจกรรมต่ างๆ ได้ ในทุกที่ทุกเวลา ซึ่งเป็ น
ผลมาจากการพั ฒ นารวมเอาเทคโนโลยี
คอมพิ ว เตอร์ เทคโนโลยี ก ารควบคุ ม และ
เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สาร เข้ า ไว้ ด้ ว ยกั น ซึ่ งเรา
เรียกว่ า ยูบิควิตสั เทคโนโลยี
Mobile
•Seamless Messaging
•Location Information
•Presence
•Rich Call
•Chat
•Gaming
•Multimedia Conference
•Push-to-talk
Ubiquitous Network
W-LAN
Home
Enterprise
ผลกระทบจากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางด้ านเศรษฐกิจและสั งคม นั้น
พบว่ าโลกอิ น เทอร์ เน็ ต เป็ นเครื อข่ ายที่ ไ ร้
พรมแดนและยากต่ อการควบคุม ส่ งผลให้ มนุษย์
สามารถเปิ ดรั บข้ อมูลสารสนเทศต่ างๆได้ อย่ าง
ไร้ ขอบเขต
ผ ล ก ร ะ ท บ ท า ง ด้ า น สั ง ค ม นั้ น แ ม้ ว่ า
เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้มนุ ษย์สามารถ
ติ ดต่ อสื่ อสารกันได้ม ากขึ้ น แต่ ก็ยงั ไม่ มี การ
พิ สู จน์ ว่ า การสื อสารโดยใช้ เ ทคโนโลยี
สารสนเทศจะสามารถทดแทนการพบปะ
โดยตรงของมนุษย์ได้
ผลกระทบทางด้ านศีลธรรมและจริยธรรม
ในยุค โลกไร้ พ รมแดน ส่ งผลให้ เ กิดการรั บ
วัฒนธรรมที่แฝงมากับข้ อมูล ข่ าวสารรู ปแบบ
ต่ า งๆ บนสั ง คมระบบเครื อ ข่ า ย โดยเฉพาะ
พฤติกรรมที่ไม่ พึงประสงค์ และมีแนวโน้ มที่จะ
ให้ เ กิด ปั ญ หาทางศั ล ธรรมและจริ ย ธรรมเพิ่ ม
มากขึน้
ตั ว อย่ า งของปั ญ หาทางด้ า นศี ล ธรรมและ
จริยธรรม
การก่ ออาชญากรรมบนอินเทอร์ เน็ตที่พบใน
ปัจจุบัน
การจารกรรมข้ อมู ลทางราชการทหารและ
ข้ อมูลทางราชการลับ
การจารกรรมทรั พสิ นทางปัญญาและข้ อมูล
ทางด้ านธุรกรรม
การโต้ ตอบเพือ่ การล้ างแค้ น การก่ อการร้ าย
การก่ อ กวนการท างานของระบบและเสนอ
ข้ อมูลทีผ่ ดิ
การแพร่ ภาพอนาจารบนอินเทอร์ เน็ต
การพนันบนระบบเครือข่ าย
ผลกระทบทางด้ านการศึกษา
การศึ กษาในยุคสารสนเทศ ต้ องการการเรี ยนรู้
เพือ่ ความเข้ าใจมากกว่ าการเรียนรู้ เพือ่ การจดจา โดย
การเรียนการสอนแบบเน้ นผู้เรียนเป็ นศู นย์ กลางโดย
อาศัยสารสนเทศรู ปแบบต่ างๆ ผ่ านสื่ อคอมพิวเตอร์
การส่ งเสริมให้ มีวธิ ีการเรียนรู้มี 5 ประการดังนี้
การรับสารสนเทศและการตอบสนองอย่ างชาญฉลาด
การสร้ างสรรค์ สารสนเทศเพือ่ ให้ เกิดคุณค่ า
การเลือ กสรรและเข้ า ใจทรั พ ยากรสารสนเทศเพื่อ
สร้ างสรรค์ แนวคิดใหม่
การสื บค้ นสารสนเทศที่ต้องการ และการประเมินการ
นามาใช้ มากกว่ าการจดจา
การเสนอแนวคิดโดยการใช้ กระบานการเข้ าใจ และ
การใช้ คุณสมบัตเิ ฉพาะของการสื่ อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศกับ
การพัฒนาประเทศไทย
ความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศ
เกิดขึ้นทั่วโลก ส่ งผลให้ ประเทศไทยต้ องมีการ
เสริมสร้ างศักยภาพทางด้ าน IT ของประเทศ
เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น กั บ
นานาชาติ
มีการพัฒนาโครงการ E-Thailand ขึน้ เมื่อ
วั น ที่ 19 กั น ยายน 2543 เพื่ อ ตอบสนองและ
เตรียมการในเชิงรุ กต่ อความเคลือ่ นไหวของการ
พัฒนาทางด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกิดขึ้น
มาแล้ ว ซึ่ งกาลังจะเกิดขึ้นในระดับภูมิภาคและ
ระดับโลก
โครงสร้ าง E-Thailand มุ่งหวังให้ มีการ
พัฒนาดังเรื่องต่ อไปนี้
การส่ งเสริมการพัฒนาสั งสม (e-society)
การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
(e-Government)
นโยบายเศรษฐกิจระหว่ างประเทศ
การเปิ ดเสรี ด้ า นการค้ า บริ ก าร และการ
ลงทุน
การอ านวยความสะดวกด้ านพาณิ ช ย์
อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ (e-Commerce
Facilitation)
โครงสร้ างพื้น ฐานสารสนเทศ (ASEAN
Information Infrastructure)
8.6 การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศอย่ างฉลาด
- เตรียมความพร้ อมในการปรับเปลีย่ นขององค์กร
- เตรียมของพร้ อมของบุคลากร
- คานึงถึงงบประมาณในการดาเนินการและการดูแลรักษา
- คานึงถึงการเลือกใช้ เทคโนโลยีและการสื่ อสารที่เหมาะสมมาใช้ งานให้
เกิดประโยชน์
- มีความเป็ นผู้มีวสิ ั ยทัศน์ และความเป็ นผู้นา
- ความเต็มใจในการให้ และแบ่ งปันข้ อมูล
8.6 การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศอย่ างฉลาด
- การให้ ความสาคัญแก่พนักงานและความรับผิดชอบ
- ความร่ วมมือและสิ่ งแวดล้อมในการทางานร่ วมกันเป็ นทีม
- การเน้ นยา้ ในการสื่ อสารแบบเปิ ดเผยและซื่อสั ตย์ ต่อกัน
- เปิ ดตัวเองกับความคิดริเริ่มและให้ โอกาสกับความแนวความคิดใหม่ ๆ
- ปรับเปลีย่ นทัศนคติต่อการทางานร่ วมกันกับองค์กรภายนอก
- ปฏิบัติตามนโยบายและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับนโยบายสารสนเทศ
8.6 การประยุกต์ ใช้ สารสนเทศอย่ างฉลาด
- เลือกแผนในการใช้ อนิ เทอร์ เน็ตมาช่ วยเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการทางาน
- มีระบบป้องกันความปลอดภัยสาหรับระบบเครือข่ าย อุปกรณ์
คอมพิวเตอร์
- สนับสนุนให้ มีการใช้ งานบนเครือข่ ายด้ านเทคโนโลยี
- แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ เพิม่ เติมอยู่เสมอ