การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขสำหรับ SRRT

Download Report

Transcript การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขสำหรับ SRRT

การจัดการภาวะฉุกเฉินทางด้ านสาธารณสุข
สาหรั บ ทีมเฝ้ าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ ว
(SRRT)
(Public Health Emergency
Management, PHEM)
ภาวะฉุกเฉิน (Emergency)
เหตุการณ์ ที่ต้องรีบแก้ ไขอย่ างฉับพลันโดยไม่ ได้ คาดการณ์ ไว้
เป็ นภัยต่ อความมั่นคง ความปลอดภัยต่ อสั งคม ชีวติ
ทรัพย์ สิน
 ระดับ : บุคคล ครอบครั ว ชุ มชน ประเทศชาติ ภูมิภาค โลก
 สาเหตุ : ไม่ มีความรู้ ไม่ ใส่ ใจ ไม่ ได้ เตรี ยมการล่ วงหน้ า

ภัยพิบัติ (Disaster)
เหตุการณ์ ที่เกิดขึน้ โดยธรรมชาติ หรือมนุษย์ เป็ นผู้ก่อให้ เกิด
มักเกิดขึน้ ทันทีครั้งเดียว หรือต่ อเนื่อง ส่ งผลให้ ชุมชนที่ได้ รับ
ผลกระทบรุ นแรงต้ องตอบโต้ ด้วยมาตรการที่เกินขีด
ความสามารถของชุ มชนอย่ างฉับพลัน
 ภาวะฉุ กเฉินมีผลกระทบต่ อระบบนิเวศ ชุ มชนไม่ สามารถ
แก้ไขได้ ด้วยตนเอง ต้ องอาศัยความช่ วยเหลือจากภายนอก

ประเภทภัยพิบัติ




ด้ านกายภาพ : การบาดเจ็บ : อุบัติเหตุทางหลวง เครื่องบินตก
ตึกถล่ม พายุไต้ ฝุ่น แผ่ นดินไหว นา้ ท่ วม ดินถล่ม ฯลฯ
ด้ านวัตถุอนั ตรายรั่วไหล : สารเคมี รังสี สารกัมมันตรังสี
ด้ านชีวภาพ : การระบาดของโรคติดต่ ออันตราย : อหิวาตกโรค,
กาฬโรค,ไข้ หวัดนก, SARS
ด้ านสั งคม : การจลาจล การก่อการร้ าย ความไม่ สงบ สงคราม
อุทกภัย โคลนถล่ ม
เครื่องบินตก อุบัตเิ หตุบนถนน
ภัยแล้ ง
แผ่ นดินไหว
น้ ำขึ้ นอย่ำงรวดเร็ว
การก่ อการร้ าย จราจล ความไม่ สงบ
สงคราม
ภาวะวิกฤติ (Crisis)
สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ ทเี่ กิดขึน้ จาเป็ นต้ องใช้
กระบวนการตัดสิ นใจเพือ่ กระทาอย่ างใดอย่ างหนึ่ง
 เหตุการณ์ หรื อเรื่ องราวที่ผด
ิ ปกติ ก่ อให้ เกิดผลกระทบอย่ าง
ร้ ายแรงต่ อบุคคล ชุ มชน สั งคม
 สถานการณ์ ที่มีคุณลักษณะของความฉุ กเฉินมีผลกระทบทั้ง
ร่ างกาย และจิตใจ จาเป็ นต้ องมีการปฏิบัติการอย่ างฉับพลัน
ทันที

ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุ ข (Public Health
Emergency-PHE)
เหตุการณ์ ที่เป็ นโรคและภัยคุกคามสุ ขภาพ มีเกณฑ์ อย่ างน้ อย 2
ใน 4 ประการ
 เกิดผลกระทบทางสุ ขภาพทีม
่ ีความรุ นแรง
 เป็ นเหตุการณ์ ที่ผด
ิ ปกติหรือไม่ เคยพบมาก่ อน
 มีโอกาสแพร่ ไปสู่ พน
ื้ ที่อนื่
 ต้ องจากัดการเคลือ
่ นทีข่ องผู้คนหรือสิ นค้ า
ประเภทภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุ ข






อาวุธทางชีวภาพ : แอนแทรกซ์ ไข้ ทรพิษ
ภาวะฉุกเฉินจากสารเคมี : Chlorine Sarine
ภาวะฉุกเฉินจากรังสี : ก่อการร้ าย
อุบัตเิ หตุกลุ่มชน : ระเบิด การบาดเจ็บ เครื่องบินตก
ภัยจากธรรมชาติและภาวะอากาศทีเ่ ลวร้ าย : วาตภัย อุทกภัย แผ่ นดินไหว
สึ นามิ โคลนถล่มฯลฯ
การระบาดของโรคทีพ่ บบ่ อยในพืน้ ที่ และอุบัตกิ ารณ์ ของโรคทีส่ าคัญ :
อาหารเป็ นพิษ ไข้ เลือดออก เลปโตสไปโรซิส ซาร์ ส ไข้ หวัดนก การระบาด
ใหญ่ ของโรคไข้ หวัดใหญ่ เป็ นต้ น
ผลกระทบของภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุ ข










มีการป่ วย การตายเพิม่
ผลกระทบต่ อสุ ขภาพจิต
ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อม
การสั มผัสสารพิษ สารเคมี รังสี
การทาลายระบบบริการพืน้ ฐานที่สาคัญต่ อชีวติ
การทาลายระบบบริการและผู้ให้ บริการพืน้ ฐานต่ างๆ
การอพยพย้ ายที่อยู่ของประชากร
การล่ มสลายของระบบสั งคม
การสู ญเสี ยระบบข้ อมูลข่ าวสาร
ผู้ให้ บริการทางการแพทย์ และสาธารณสุ ข
การตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุ ข(Public
health Emergency response)
การดาเนินการต่ างๆเพือ่ หยุดภาวะฉุกเฉิน/สถานการณ์ รุนแรง
ให้ กลับสู่ ภาวะปกติในระยะสั้ นที่สุด
 ด้ วยมาตรการที่มีความพร้ อมไว้ รับมืออย่ างมีประสิ ทธิผล
สู งสุ ด
 การป้องกัน ควบคุม ยับยั้งไม่ ให้ โรคและภัยสุ ขภาพ
แพร่ กระจายออกไปในวงกว้าง

การจัดการภาวะฉุกเฉินโดยรวม
การเตรียมความพร้ อมทีใ่ ช้ ครอบคลุมถึงอันตรายทุก
ประเภท ประกอบด้ วย 3 แนวคิด คือ
 แนวคิดที่ 1 การครอบคลุมอันตรายทุกด้ าน
 แนวคิดที่ 2 ภาคีเครื อข่ ายในการจัดการภาวะฉุ กเฉิน
 แนวคิดที่ 3 วงจรการจัดการภาวะฉุ กเฉิน
วงจรการจัดการภาวะฉุกเฉิน มี 4 ระยะ
 ระยะบรรเทาภัย (Mitigation)
 ระยะเตรียมความพร้ อม (Preparedness)
 ระยะตอบโต้ เหตุการณ์ ฉุกเฉิน (Response)
 ระยะฟื้ นฟูบูรณะ (Recovery)
Preparedness
Response
Pre-impact
Post-impact
Mitigation
Recovery
ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินแบบบูรณาการ(An
Integrated Emergency Management
System,IEMS)
เป็ นระบบจัดการภาวะฉุกเฉินทีอ่ าศัยหลักการจัดการภาวะฉุกเฉิน
โดยรวม มีเป้าหมายหลัก ดังนี้
 ให้ ความสนับสนุนการดาเนินการร่ วมกันอย่ างใกล้ ชิดในทุกระดับ
 มุ่งเน้ นดาเนินงานตามมาตรการทีม
่ ปี ระสิ ทธิภาพ
 บูรณาการแผนการจัดการในภาวะฉุ กเฉินแต่ ละพืน
้ ทีใ่ ห้ เป็ นไปในทาง
เดียวกันกับนโยบายระดับจังหวัด เขต ส่ วนกลาง
 นาแผน ระบบการจัดการในภาวะฉุ กเฉินทีม
่ อี ยู่แล้ วในพืน้ ทีม่ าขยาย
ความครอบคลุม ประยุกต์ ใช้ ได้ กบั ภาวะฉุกเฉินทุกประเภท
ระบบบัญชาการเหตุฉุกเฉิน (Incident
Command System-ICS)
ระบบจัดการตอบโต้ เหตุการณ์ ฉุกเฉินอย่ างเป็ นระบบ ทีม่ คี วามยืดหยุ่น
สามารถปรับขยายให้ เหมาะสมกับเหตุการณ์ ได้ มีประเด็นสาคัญที่
ต้ องคานึงถึงในระบบ ICS ( 4 C ) คือ
 การวางระบบบัญชาการและสั่ งการที่ชัดเจน(Command)
 การประสานงานกับหน่ วยงานต่ างๆ(Coordination)
 การสร้ างความร่ วมมือระหว่ างหน่ วยงานทีใ่ ห้ ความช่ วยเหลือให้ เกิด
การผนึกกาลัง(Cooperation)
 การสื่ อสารและการประชาสั มพันธ์ (Communication)
โครงสร้ างระบบบัญชาการเหตุฉุกเฉิน (ICS)
Incident
Commander
Command
Staff
Operation
Logistics
Planning
Administration/
Finance
สรุปบทเรียนการเตรียมความพร้ อมและการตอบ
โต้ เหตุฉุกเฉิน
ทาความเข้ าใจเรื่องการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุ ข
 ทาความเข้ าใจว่ างานในส่ วนใดที่ SRRT ต้ องให้ ความร่ วมมือ
หรือสนับสนุน หรือวางแผน ทั้งด้ าน Mitigation,
Preparedness, Response และ Recovery
 สร้ างภาคีเครื อข่ ายในการดาเนินงานในทุกระดับทั้งภาครั ฐ
และเอกชน

2005 กับ
งานระบาดวิทยา
IHR
ศูนย์ประสานกฎอนามัยระหว่างประเทศ
สานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข
กฎอนามัยระหว่างประเทศ คือ
 กฎเฝ้ าระวังโรคระหว่างประเทศ (International surveillance
system)
 กฎในการตอบโต้ภยั คุกคามระหว่างประเทศ (International
rules on response to international threats)
 กฎของมาตรการประจาเพื่อลดความเสี่ ยงจากการแพร่ ระบาด
ของโรคระหว่างประเทศ (International rules on routine
measures against international disease spread)
 กฎปฏิบตั ิงานร่ วมกันของ WHO
และประเทศสมาชิก
(Procedural rules - WHO and states)
เจตนารมณ์ ของ IHR 2005
เพื่อป้ องกัน คุม้ ครอง ควบคุม และทาให้มีการดาเนินงาน
ด้านสาธารณสุ ขในการตอบสนองต่อการแพร่ กระจายโรค
ระหว่างประเทศที่ถูกต้องเหมาะสม และจากัดความเสี่ ยง
ต่อโรคได้ โดยหลีกเลี่ยงการทาให้เกิดผลกระทบต่อการ
เดินทางและการค้า ระหว่างประเทศ
International Health Security
IHR(2005), a paradigm shift
From control of borders to containment at source
From diseases list to all threats
From preset measures to adapted response
Public Health Emergency

ทาให ้เกิดผลกระทบทางสุขภาพทีม
่ ค
ี วามรุนแรง (seriousness of the public
health impact) ได ้แก่ โรคหรือภัยทีท
่ าให ้เกิดการป่ วยและการตายจานวนมาก
หรือมีอต
ั ราป่ วยตายสูง

เป็ นเหตุการณ์ทผ
ี่ ด
ิ ปกติหรือคาดไม่ถงึ มาก่อน (unusual or unexpected nature
of the event)

่ น
มีโอกาสทีจ
่ ะแพร่ไปได ้สูพ
ื้ ทีอ
่ น
ื่ (potential for the event to spread) หมายถึง
ั ยภาพหรือแนวโน ้มทีจ
่ าเภออืน
โรคมีศก
่ ะแพร่ไปสูอ
่ จังหวัดอืน
่ หรือระบาดข ้าม
ประเทศ

ิ ค ้า (the risk that restrictions
อาจต ้องมีการจากัดการเคลือ
่ นทีข
่ องผู ้คนหรือสน
to travel or trade)
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
1.วัตถุประสงค์ ขอบเขต และหลักการ
ป้ องกัน ควบคุมโรค/ภัย Public Health

Emergency of International Concern (PHEIC)

การระบาดข ้ามประเทศ

หลีกเลีย
่ งผลกระทบต่อการเดินทาง – การค ้า
ระหว่างประเทศ
โดยต ้องคานึงถีง



37
human rights and freedoms
เป็ นไปตามกฎสหประชาชาติ-องค์การอนามัยโลก
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
2. Concepts & approach
 Disease
: illness / medical condition,
irrespective of origin or source that
presents or could present significant harm
to humans
 Event
: a manifestation of disease or an
occurrence that creates a potential for
disease
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
3. Focal point – Contact point
แต่ละประเทศ จะต ้องมีผู ้ประสานกฎ
อนามัยฯ ระดับชาติ ( National IHR focal
point)
WHO  Contact point
ติดต่อได ้ 24 ชม.
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
4. Notification and other reporting
requirements
 เน ้นการแจ ้ง/รายงาน
เหตุการณ์ท ี่
เป็ น/อาจมีแนวโน ้มทีจ
่ ะเป็ น PHEIC
้
สามารถใชแหล่
งข่าว/ข ้อมูล
อืน
่ นอกจากรายงานของรัฐ ประเมิน
ว่าเป็ น PHEIC
 WHO
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
5. โรค เหตุการณ์ทต
ี่ อ
้ งรายงาน WHO




Smallpox
Poliomyelitis due
to wild-type
poliovirus
Human
Influenza-new
subtype
SARS
Any event
including
unknown
causes/sources




Cholera
Pneumonic plague
Yellow fever
Viral Hemorrhagic fever
(Ebola,Lassa,Marlburg)
 West Nile virus
 Other:
PHEIC
Assessment
Dengue fever,
Meningococcal disease,
Rift Valley fever, etc.
EVENT SHALL BE NOTIFIED TO WHO
41
UNDER THE INTERNATIONAL HEALTH REGULATIONS
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
6. เน้นการพัฒนาศักยภาพของประเทศ ในการเฝ้ าระวัง ตรวจจับ ควบคุม
และป้ องกัน PHEIC
Community
National
Develop, strengthen, maintain capacities
To detect, verify, notify, control PHEIC
no later than 5 yrs.
Community level
National level
•Detect illness-death-abnormal
•Report to public health officer
First & Intermediate public health
response level
• Assess PHEIC
• Report WHO through National
IHR focal point
• Control &prevent to spread to
other countries.
•Verify & control measures
•Abnormal report national level
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
7. Public health security in international
travel and transport

Entry points: land, sea & air ports

Health document

Health measures
ประเด็นสาคัญใน IHR 2005
8. Recommendation & Committee
Recommendation
 Standing
recommendations
 Temporary
recommendations
Committees
 The
Emergency Committee
 The
Review Committee
การประเมิน PHEIC
IHR focal point จะต ้องประเมินเหตุการณ์ทอ
ี่ าจเป็ น
PHEIC
1. Is the public health impact of the event serious?
2. Is the event unusual or unexpected?
3. Is there a significant risk of international spread?
4. Is there a significant risk of international
restriction(s) to travel and trade?
Serious Public Health Impact
1.
มีผู ้ป่ วย / ตาย จานวนมาก
2.
มี high public health impact
3.
ต ้องการความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานนอก
พืน
้ ทีใ่ นการสอบสวน ควบคุมโรคหรือ
เหตุการณ์
High Public Health Impact
ตัวอย่าง-แนวคิด

ื้ ทีท
เหตุการณ์นัน
้ เกิดจากเชอ
่ าให ้เกิดการแพร่ระบาด
ได ้ง่าย

่ เชอ
ื้ ดือ
มีข ้อบ่งชวี้ า่ มีการรักษาล ้มเหลว เชน
้ ยา

มีเจ ้าหน ้าทีส
่ าธารณสุขป่ วยด ้วย

เกิดในพืน
้ ทีท
่ ม
ี่ ป
ี ระชากรหนาแน่น

่
มีปัจจัยทีอ
่ าจทาให ้การควบคุมป้ องกันล่าชา้ เชน
พืน
้ ที่ ภูมอ
ิ ากาศ ความขัดแย ้ง
Need external assistance
ต ัวอย่าง-แนวคิด
มีบค
ุ ลากร งบประมาณ อุปกรณ์ ข ้อมูลวิชาการ ไม่เพียงพอ
โดยเฉพาะในเรือ
่ ง:
– Insufficient laboratory or epidemiological capacity to
investigate the event
– Insufficient antidotes, drugs and/or vaccine and/or protective
equipment
– Existing surveillance system is inadequate to detect new
cases in a timely manner.
Decision instrument
1 ราย: -ไข้ทรพิษ, โปลิโอ
โรคไม่ ทราบสาเหตุที่ไม่เข้า
มีแนวโน้ มแพร่ ระบาด
หรื อ
หรื อ
(wild type), ไข้หวัดใหญ่
กับกลุ่มซ้ายหรื อกลุ่มขวา มี
:-อหิวาต์, กาฬโรคปอด, ไข้เหลือง,
ในคนสายพันธุ์ใหม่, ซาร์ส
แนวโน้มระบาดข้ามประเทศ
ไข้เลือดออกจากไวรัส (อีโบลา,ลัส
สา,มาร์เบิร์ก,เวสท์ไนล์,เดงกี่,ลิฟท์
ปัญหาสาธารณสุ ขรุ นแรง?
วัลลีย)์ , ไข้กาฬหลังแอ่น
รุ นแรง
ไม่รุนแรง
ไม่คาดฝันหรื อผิดปกติ
ใช่
ไม่คาดฝันหรื อผิดปกติ
ไม่ใช่
ใช่
มีความเสี่ ยงแพร่ ระบาดข้ามประเทศ
มี
มีความเสี่ ยงแพร่ ระบาดข้ามประเทศ
มี
ไม่มี
มีผลกระทบกับการเดินทาง/ การค้าระหว่างประเทศ
มี
ต้ องแจ้ งองค์ การ
อนามัยโลกตาม IHR
ไม่ใช่
ไม่มี
ไม่มี
ไม่ตอ้ งแจ้งความแต่ประเมินจนได้
ข้อมูลเพียงพอ
ข้อกำหนดใน IHR2005 และแผนงำน IHR (ไทย) ที่มี
ผลต่องำนระบำดวิทยำ
• งำนเฝ้ ำระวังทำงระบำดวิทยำ
• งำนพัฒนำทีมเฝ้ ำระวัง
สอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT)
ทุกประเทศต้องมี IHR Focal Point*
The IHR surveillance system
Mass
media,
NGOs etc.
Local
level
National
IHR Focal
Point
WHO
*สำนักระบำดวิทยำเป็ น IHR Focal Point ของประเทศไทย
ทุกประเทศต้องจัดให้มีหน่วยเฝ้ าระวังและตอบโต้ทาง
สาธารณสุ ข 3 ระดับ
1. ระดับท้องถิ่ น และ/หรือ ทีม responseระดับต้น
(Local community level and/or primary public
health response level)
2. ทีม response ระดับกลาง (Intermediate public
health response level)
3. ทีม response ระดับชาติ (National level)
(Annex 1, IHR2005)
การจาแนกทีม SRRT เพื่อ
พัฒนาขีดความสามารถตาม
ข้อกาหนดใน IHR2005
กทม.
จังหวัด
อำเภอ
ศบส.กทม.
รพสต.
อบท.
ส่วนกลาง
C-SRRT
(National Level)
เขต
R-SRRT
(National Level)
P-SRRT
(Intermediate PH Response Level)
D-SRRT
(Primary PH Response Level)
*ทีม SRRT ท้องถิ่น/ตาบล
(Local Community Level)
ทุกประเทศต้องพัฒนาสมรรถนะหลักในการเฝ้ าระวังและตอบโต้
ภาวะฉุกเฉิ นทางสาธารณสุ ข
 การตรวจจับเหตุการณ์ (Event detection)
 ระดับท้องถิ่น/ระดับต้น
ระดับกลำง ระดับชำติ
 การประเมินสถานการณ์และการรายงาน (Event assessment
and notification)
 ระดับชำติ
 การตอบโต้ภาวะฉุ กเฉิ นฯได้ทน
ั ที (Public health
events 24/7)
 กำรสนับสนุ น
 กำรติดต่อสื่อสำร
 จัดทำแผนตอบโต้ภำวะฉุ กเฉินทำงสำธำรณสุข
response to
ทุกประเทศต้องพัฒนำสมรรถนะทำงห้องปฏิบตั ิกำร
เพิ่มความมั ่นใจว่ามีการเก็บและนาส่ง
วัตถุตวั อย่างที่ถูกต้อง
เพิ่มความมั ่นใจว่ามีการปฏิบตั ทิ ี่ดี
(good practices) ใน
ห้องปฏิบตั กิ าร รวมถึงด้านวัสดุ
อุปกรณ์ และ reagent ต่าง ๆ
เพิ่มความเข้มแข็งของการจัดการข้อมูล
ทางห้องปฏิบตั กิ าร
การรักษาพยาบาลผูป้ ่ วย / การควบคุมการติดเชื้อ
- การควบคุมการติดเชื้อในสิ่งแวดล้อม
ที่จากัด และมีทรัพยากรจากัด
- การควบคุมการติดเชื้อในชุมชน
ทุกประเทศต้องทำให้เกิดควำมร่วมมือจำกทุกภำคส่วน
• Public health services
• Health care system
• Veterinary services
• Agriculture
• Education
• Communication
• Transport
• Trade
• Foreign Affairs
• Armed Forces
• Office of the Prime Minister
ทุกประเทศต้องเพิ่มประสิทธิภำพของกำรสื่อสำรควำม
เสี่ยง (Risk communication)
ทุกประเทศต้องพัฒนามาตรการประจา (Routine
measures) ด้านการเดินทางระหว่างประเทศ
 ช่องทางเข้าออกประเทศ (ท่าอากาศยาน,
ท่าเรื อ, จุดผ่านแดน)
 ยานพาหนะและผูค้ วบคุม
 ผูเ้ ดินทาง
 สิ นค้า ตูบ
้ รรทุกสิ นค้า และการขนถ่าย
การดาเนินงานพัฒนาสมรรถนะ
ด้านระบบเฝ้ าระวังโรคและภาวะฉุกเฉิ นทางสาธารณสุ ข
1. พัฒนาทีม SRRT ทุกระดับ ให้มศี กั ยภาพสู งและมีความพร้อม
2. จัดตัง้ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารทุกระดับ ที่มรี ะบบ รู ปแบบตามมาตรฐาน
3. จัดทาแนวทางปฏิบตั งิ านมาตรฐาน (SOP) รวมถึงระบบสัง่ การ และ
มาตรฐานตัวชี้วดั ความสาเร็จในการตอบโต้ภาวะฉุ กเฉิ นฯ
4. พัฒนาบทบาท/การมีสว่ นร่วมของอาสาสมัครและท้องถิ่น
5. พัฒนาระบบเฝ้ าระวังโรคติดต่อจากสัตว์สูค่ น และระบบเฝ้ าระวังภัย
คุกคามจากรังสี สารเคมี และอาหาร
6. จัดโครงสร้างในกระทรวงสาธารณสุ ข โดยให้มี
- งานระบาดวิทยาในหน่วยงานสาธารณสุ ขทุกแห่ง
- หน่วยงานสนับสนุ นการเตรียมความพร้อมรองรับภาวะฉุ กเฉิ นฯ
- หน่วยงานสนับสนุ นงานป้องกันการติดเชื้อในสถานบริ การ
ผลของ IHR2005 ต่องานเฝ้ าระวังทางระบาดวิทยา
 พัฒนาประสิ ทธิ ภาพระบบเฝ้ าระวังฯ ตั้งแต่ระดับท้องถิน
่
เช่น การ
พัฒนา Syndromic surveillance
 พัฒนาการเฝ้ าระวังทางห้องปฏิบตั ิการ
 พัฒนาการเฝ้ าระวังโรคอุบตั ิใหม่ และโรค/ภัยที่เป็ นภาวะฉุ กเฉิ นทาง
สาธารณสุ ข
 พัฒนาระบบเฝ้ าระวังโรคติดต่อจากสัตว์สูค่ น และระบบเฝ้ าระวังภัย
คุกคามจากรังสี สารเคมี และอาหาร
 จัดให้มีงานระบาดวิทยาในโครงสร้างหน่วยงานสาธารณสุ ขทุก
ระดับ
ผลของ IHR2005 ต่องานพัฒนา SRRT
 SRRT ทุกระดับสามารถจาแนกและดาเนิ นการต่อ Public Health
Emergency ได้
 ต้องเร่ งปรับปรุ งพัฒนา Early warning system เพื่อเสริ มภารกิจ
การเฝ้ าระวังของ SRRT ให้เข้มแข็ง
 จัดให้มีทีม SRRT ระดับท้องถิ่น เพื่อเป็ น Local community
response level
 ต้องเร่ งพัฒนาสมรรถนะทีม SRRT ทุกระดับให้ได้ตามข้อกาหนด
ใน IHR 2005
 จัดให้มีงานระบาดวิทยาเพื่อเป็ นแกนหลักของทีม SRRT ใน
โครงสร้างหน่วยงานสาธารณสุ ขทุกระดับ