PowerPoint Template

Download Report

Transcript PowerPoint Template

LOGO
GESC103
Information Technology for Life
Name: Teacher / Contact
บทที่ 8
แนวโน้ มเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
บทนา
จากอดีตจนถึงปั จจุบนั โลกของเรามีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีไปอย่าง
มากมาย เริ่ มตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงจากยุคเกษตรกรรม ไปสู่ ยคุ อุตสาหกรรม และยุค
ไฟฟ้ า จนมาถึงปัจจุบนั คือ ยุคสารสนเทศ ซึ่ งเป็ นยุคที่ขอ้ มูลสารสนเทศเป็ นสิ่ งที่มี
ความจาเป็ นกับชีวติ ของมนุษย์อย่างขาดไม่ได้ และยังเป็ นยุคที่มีการพัฒนา
เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้จาก การพัฒนาเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ ที่มีการผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ขึ้นมาใช้ ซึ่ งทาให้
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์มีขนาดเล็กลง แต่มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น มีการพัฒนา
เทคโนโลยีเครื อข่าย (Network Technology) ที่ช่วยให้สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้
สะดวกและรวดเร็ วขึ้น การพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นการควบคุม ที่ทาให้เราสามารถ
ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆได้จากระยะไกล เป็ นต้น
8.1 แนวโน้ มการใช้ เทคโนโลยีขององค์ การ
ปัจจุบนั พัฒนาการและการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในองค์การ
ส่ งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ซึ่งก่อให้เกิด
ความท้าทายแก่ผบู ้ ริ หาร ในอนาคตให้นาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุ ดแก่ธุรกิจ โดยผูบ้ ริ หารต้องมีความรู ้ ความเข้าใจ และ
วิสยั ทัศน์ต่อแนวโน้มของเทคโนโลยี เพื่อให้สามารถตัดสิ นใจนา
เทคโนโลยีมาใช้งานอย่างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่งเราสามารถจาแนก
ผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่อการทางานขององค์การออกเป็ น 5
ลักษณะ ดังต่อไปนี้
8.1.1 การปรับปรุ งรู ปแบบการทางานขององค์ การ
เทคโนโลยีหลายอย่างได้ถูกนาเข้ามาใช้ภายในองค์การ และส่ งผล
ให้กระบวนการทางานได้เปลี่ยนรู ปแบบไป ตัวอย่างเช่น การนาเอา
เทคโนโลยีไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Electronics mail) เข้ามาใช้ภายใน
องค์การ ทาให้การส่ งข่าวสารไม่ตอ้ งใช้พนักงานเดินหนังสื ออีกต่อไป
ตลอดจนลดการใช้กระดาษที่ตอ้ งพิมพ์ข่าวสาร และสามารถส่ งข่าวสาร
ไปถึงบุคคลที่ตอ้ งการ ได้เป็ นจานวนมากและรวดเร็ ว หรื อเทคโนโลยี
สานักงานอัตโนมัติ (office automation) ที่เปลี่ยนรู ปแบบของ
กระบวนการทางานและประสานงาน ในองค์การให้มีประสิ ทธิภาพดี
ยิง่ ขึ้น และเป็ นเครื่ องมือที่มีประสิ ทธิภาพในการ บริ หารงานของผูบ้ ริ หาร
ในระดับต่าง ๆ ขององค์การ
8.1.2 การสนับสนุนการดาเนินงานเชิงกลยุทธ์
 โดยเทคโนโลยีสารสนเทศจะผลิตสารสนเทศที่สาคัญให้แก่ผบู้ ริ หาร ที่จะ
ใช้เป็ นแนวทางในการตัดสิ นใจและการสร้างความได้เปรี ยบเหนือกว่า
คู่แข่งขัน ในอนาคตการแข่งขัน ในแต่ละอุตสาหกรรมจะมีความรุ นแรง
มากขึ้น การบริ หารงานของผูบ้ ริ หารที่อาศัยเพียงประสบการณ์และ
โชคชะตาอาจจะไม่เพียงพอ แต่ถา้ ผูบ้ ริ หารมีสารสนเทศที่มีประสิ ทธิภาพ
มาประกอบในการตัดสิ นใจ ก็จะสามารถแก้ไขปัญหาและบริ หารงานได้
มีประสิ ทธิภาพขึ้น ดังนั้นผูบ้ ริ หารในอนาคตจะต้องสามารถประยุกต์ใช้
เทคโนโลยี การสร้างสารสนเทศที่ดีให้กบั ตนเองและองค์การ
8.1.3 เครื่องมือในการทางาน
 เทคโนโลยีถูกนาเข้ามาใช้ภายในองค์การ เพื่อให้การทางานคล่องตัวและ
มีประสิ ทธิภาพ เช่น การออกเอกสารต่าง ๆ โดยใช้คอมพิวเตอร์ การใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบชิ้นส่ วนของเครื่ องจักร และการควบคุม
การผลิต เป็ นต้น เราจะเห็นได้วา่ เทคโนโลยีสามารถที่จะนามาประยุกต์
ในหลาย ๆ ด้าน โดยเทคโนโลยีจะช่วยเปลี่ยนแปลง และปรับปรุ ง
คุณภาพของการที่จะนามาประยุกต์ในหลาย ๆ ด้าน โดยเทคโนโลยีจะ
ช่วยเปลี่ยนแปลงและปรับปรุ งคุณภาพของการทางานให้ดีข้ ึน หรื อ
แม้กระทัง่ ช่วยลดค่าใช้จ่าย ในเรื่ องของแรงงานและวัสดุสิ้นเปลืองต่าง ๆ
ลง
8.1.4 การเพิม่ ผลผลิตของงานโดยเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล
 ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรื อ PC ถูกพัฒนาให้มีประสิ ทธิภาพมาก
ขึ้น ตลอดจนการใช้งานสะดวกและไม่ซบั ซ้อนเหมือนอย่างคอมพิวเตอร์
ขนาดใหญ่ นอกจากนี้ในท้องตลาดยังมีชุดคาสัง่ ประยุกต์ (application
software) อีกมากมายที่สามารถใช้งานกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
และสามารถช่วยเพิ่มประสิ ทธิภาพและผลผลิตของงานได้อย่างมาก และ
เมื่อต่อคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเข้ากับระบบเครื อข่าย ก็จะทาให้องค์การ
สามารถรับ-ส่ ง ข้อมูลและข่าวสารจากทั้งภายในและภายนอกองค์การได้
อีกด้วย ดังนั้นในอนาคตคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจะกลายเป็ น เครื่ องมือ
หลักของพนักงานและผูบ้ ริ หารขององค์การ
8.1.5 เทคโนโลยีในการติดต่ อสื่ อสาร
ในช่วงแรกของการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ทางธุรกิจคอมพิวเตอร์
จะถูกใช้เป็ นเพียงอุปกรณ์หลักที่ช่วยในการเก็บและคานวณข้อมูลต่าง ๆ
เท่านั้น ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาให้มีศกั ยภาพมากขึ้น โดย
สามารถที่จะต่อเป็ นระบบเครื อข่ายเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง
คอมพิวเตอร์ ปัจจุบนั ผูใ้ ช้สามารถติดต่อเพื่อที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารซึ่งกันและกันได้จากทุกหนทุกแห่งทัว่ โลก คอมพิวเตอร์จึงมี
บทบาทที่สาคัญมากกว่า การเป็ นเครื่ องมือที่เก็บและประมวลผลข้อมูล
เหมือนอย่างในอดีตต่อไป
8.2 เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 1.คอมพิวเตอร์ (computer) ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ได้พฒั นาไปจากยุคแรก
ที่เครื่ องมีขนาดใหญ่ทางานได้ชา้ ความสามารถต่า และใช้พลังงานสูง
เป็ นการใช้เทคโนโลยีวงจรรวมขนาดใหญ่ (very large scale integrated
circuit : VLSI) ในการผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ (microprocessor) ทาให้
ประสิ ทธิภาพของส่ วนประมวลผลของเครื่ องพัฒนาขึ้นอย่างเห็นได้ชดั
นอกจากนี้ยงั ได้มีการพัฒนาหน่วยความจาให้มี ประสิ ทธิภาพสูงขึ้น
 2. ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) หรื อ AI เป็ นการพัฒนาระบบ
คอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถที่จะคิด แก้ปัญหาและให้เหตุผลได้
เหมือนอย่างการใช้ภูมิปัญญาของมนุษย์จริ ง ปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์ใน
หลายสาขาวิชาได้ศึกษาและ ทดลองที่จะพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้
สามารถทางานที่มีเหตุผล
 3. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (executive information system)
หรื อ EIS เป็ นการพัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนผูบ้ ริ หารในงาน
ระดับวาง แผนนโยบายและกลยุทธ์ขององค์การโดยที่ EIS จะถูกนามาให้
คาแนะนาผูบ้ ริ หารในการตัดสิ นใจเมื่อประสบปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง
หรื อกึ่งโครงสร้าง โดย EIS เป็ นระบบที่พฒั นาขึ้นเพื่อตอบสนองความ
ต้องการที่พิเศษของผูบ้ ริ หารในด้านต่าง ๆ
 4. การจดจาเสียง (voice recognition) เป็ นความพยายามของ
นักวิทยาศาสตร์ที่จะทาให้คอมพิวเตอร์จดจาเสี ยงของผูใ้ ช้ ปัจจุบนั การ
พัฒนาเทคโนโลยีสาขานี้ยงั ไม่ประสบความสาเร็ จตามที่นกั วิทยาศาสตร์
ต้องการ ถ้าในอนาคตนักวิทยาศาสตร์ประสบความสาเร็ จในการนา
ความรู ้ต่าง ๆ
 5. การแลกเปลีย่ นข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronic data
interchange) หรื อ EDI เป็ นการส่ งข้อมูลหรื อข่าวสารจากระบบ
คอมพิวเตอร์หนึ่ง ไปสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่นโดยผ่านทางระบบสื่ อสาร
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
 6. เส้ นใยแก้วนาแสง (fiber optics) เป็ นตัวกลางที่สามารถส่งข้อมูล
ข่าวสารได้อย่างรวดเร็ วโดยอาศัยการส่ งสัญญาณแสงผ่านเส้น ใยแก้วนา
แสงที่มดั รวมกัน การนาเส้นใยแก้วนาแสงมาใช้ในการสื่ อสารก่อให้เกิด
แนวความคิดเกี่ยวกับ “ทางด่วนข้อมูล (information superhighway)” ที่จะ
เชื่อมโยงระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน
 7. อินเทอร์ เน็ต (internet) เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่
เชื่อมโยงไปทัว่ โลก มีผใู ้ ช้งานหลายล้านคน และกาลังได้รับความนิยม
เพิม่ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยที่สมาชิกสามารถติดต่อสื่ อสารแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนค้นหาข้อมูลจากห้องสมุดต่าง ๆ ได้
 8. ระบบเครือข่ าย (networking system) โดยเฉพาะระบบเครื อข่ายเฉพาะ
พื้นที่ (local area network: LAN) เป็ นระบบสื่ อสารเครื อข่ายที่ใช้ใน
ระยะทางที่กาหนด ส่ วนใหญ่จะภายในอาคารหรื อในหน่วยงาน LAN จะ
มีส่วนช่วยเพิ่มศักยภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้
สูงขึ้น
 9. การประชุมทางไกล (teleconference) เป็ นการนาเทคโนโลยีสาขาต่าง
ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่ องถ่ายโทรทัศน์ และระบบสื่ อสารโทรคมนาคม
ผสมผสาน เพื่อให้สนับสนุนในการประชุมมีประสิ ทธิภาพ โดยผูน้ าเข้า
ร่ วมประชุม ไม่จาเป็ นที่จะต้องอยูใ่ นห้องประชุมและพื้นที่เดียวกัน ซึ่งจะ
ช่วยให้ประหยัดเวลาในการเดินทาง โดยเฉพาะในสภาวะการจราจรที่
ติดขัด ตลอดจนผูเ้ ข้าประชุมอยูใ่ นเขตที่ห่างไกลกันมาก
 10. โทรทัศน์ ตามสายและผ่านดาวเทียม (cable and satellite TV) การส่ง
สัญญาณโทรทัศน์ผา่ นสื่ อต่าง ๆ ไปยังผูช้ ม จะมีผลทาให้ขอ้ มูลข่าวสาร
สามารถแพร่ ไปได้อย่างรวดเร็ วและครอบคลุมพื้นที่กว้างขึ้น โดยที่ผชู ้ ม
สามารถเข้าถึงข้อมูลจากสื่ อต่าง ๆ ได้มากขึ้น ส่ งผลให้ผชู ้ มรายการมี
ทางเลือกมากขึ้นและสามารถตัดสิ นใจในทางเลือกต่าง ๆ ได้เหมาะสมขึ้น
 11. เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (multimedia technology) เป็ นการนาเอา
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มาจัด เก็บข้อมูลหรื อ
ข่าวสารในลักษณะที่แตกต่างกันทั้งรู ปภาพ ข้อความ เสี ยง โดยสามารถ
เรี ยกกลับมาใช้เป็ นภาพเคลื่อนไหวได้ และยังสามารถโต้ตอบกับผูใ้ ช้ดว้ ย
การประยุกต์เข้ากับความรู ้ทางด้านคอมพิวเตอร์
 12. การใช้ คอมพิวเตอร์ ในการฝึ กอบรม (computer base training) เป็ นการ
นาเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการฝึ กอบรมในด้านต่าง ๆ หรื อ
การนาเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในด้านการเรี ยนการสอนที่เรี ยกว่า
“คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน (computer assisted instruction) หรื อ CAI”
 13. การใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยในการออกแบบ (computer aided design)
หรื อ CAD
เป็ นการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบข้อมูลเข้ามาช่วยในการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมทั้งรู ปแบบหี บห่อของผลิตภัณฑ์หรื อ การนา
คอมพิวเตอร์มาช่วยทางด้านการออกแบบ วิศวกรรมและสถาปัตยกรรม
ให้มีความเหมาะสมกับความต้องการและความเป็ นจริ ง ตลอดจนช่วยลด
ต้นทุนการดาเนินงานในการออกแบบ โดยเฉพาะในเรื่ องของเวลา การ
แก้ไข และการจัดเก็บแบบ
 14. การใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยในการผลิต (computer aided manufacturing)
หรื อ CAM
เป็ นการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิตสิ นค้าในโรงงานอุตสาหกรรม
เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์จะมีความเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือได้ในการ
ทางานที่ซ้ ากัน ตลอดจนสามารถตรวจสอบ รายละเอียดและข้อผิดพลาด
ของผลิตภัณฑ์ได้ตามมาตรฐานที่ตอ้ งการ ซึ่งจะช่วยประหยัดระยะเวลา
และแรงงาน ประการสาคัญ ช่วยให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์มีความ
สม่าเสมอตามที่กาหนด
 15. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (geographic information system)
หรื อ GIS เป็ นการนาเอาระบบคอมพิวเตอร์ทางด้านรู ปภาพ (graphics)
และข้อมูลทางภูมิศาสตร์มาจัดทาแผนที่ในบริ เวณที่สนใจ GIS สามารถ
นามาประยุกต์ให้เป็ นประโยชน์ในการดาเนินกิจการต่าง ๆ เช่น การ
วางแผนยุทธศาสตร์ การบริ หารการขนส่ ง การสารวจและวางแผน
ป้ องกันภัยธรรมชาติ การช่วยเหลือและกูภ้ ยั เป็ นต้น
8.3 การปฏิบัติตนให้ ทนั ต่ อการเปลีย่ นแปลง
ของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 ปัจจุบนั ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศได้มีบทบาท ที่สาคัญต่อ
วิถีชีวิตและสังคมของมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศได้สร้างการ
เปลี่ยนแปลงและโอกาสให้แก่องค์การ เช่น เปลี่ยนโครงสร้าง
ความสัมพันธ์และการแข่งขันในอุตสาหกรรม ปรับโครงสร้างการ
ดาเนินงานขององค์การเพิ่มประสิ ทธิภาพในการผลิตและบริ การ เป็ นต้น
เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดรู ปแบบใหม่ใน การ
ติดต่อสื่ อสารและมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างบุคคล
 การพัฒนาเทคโนโลยีขององค์การจะขึน้ อยู่กบั ผู้บริหารเป็ นสาคัญ โดยที่
ผู้บริหารจะต้ องเตรียมความพร้ อมสาหรับองค์การดังต่ อไปนี้
 1. ทาความเข้ าใจต่ อบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศทีม่ ีต่อธุรกิจ
ปัจจุบัน
 2. ระบบสารสนเทศเกีย่ วข้ องกับการจัดการข้ อมูลขององค์การ
 3. วางแผนทีจ่ ะสร้ างและพัฒนาระบบ
3. วางแผนทีจ่ ะสร้ างและพัฒนาระบบ
 3.1 บุคลากร การเตรี ยมบุคลากรให้พร้อมเป็ นสิ่ งสาคัญในการที่จะสร้าง
และพัฒนา ตลอดจนการใช้งานระบบสารสนเทศเมื่อจัดสร้างเสร็ จ
เรี ยบร้อยแล้ว บุคลากรที่ตอ้ งจัดเตรี ยมควรเป็ นทั้งระดับผูบ้ ริ หาร นัก
เทคโนโลยีสารสนเทศ นักวิชาชีพเฉพาะ และพนักงานปฏิบตั ิการ
 3.2 งบประมาณ เตรี ยมกาหนดจานวนเงินและวางแนวทางในการจัดหา
เงินที่จะมาพัฒนา
 3.3 การวางแผน ผูบ้ ริ หารต้องจัดทาแผนการจัดสร้างหรื อพัฒนาระบบทั้ง
ในระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งอาจจะต้องมีการจัดตั้ง
8.4 แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในคริ สต์ศตวรรษที่21มีแนวโน้มที่จะ
พัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถใกล้เคียงกับมนุษย์ เช่น การเข้า
ภาษาสื่ อสารของมนุษย์ โครงข่ายประสาทเทียม ระบบจาลอง ระบบ
เสมือนจริ ง โดยพยายามนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้นลดข้อผิดพลาด
และป้ องกันไม่ให้นาไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้องหรื อผิดกฎหมาย
8.4.1 แนวโน้ มทางด้ านบวก
 การพัฒนาเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตที่
เชื่อมโยงกันทัว่ โลก ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
 การพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถฟังและตอบเป็ นภาษา พูดได้ อ่าน
ตัวอักษรหรื อลายมือเขียนได้
 การพัฒนาระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูล ฐานความรู้ เพื่อพัฒนาระบบ
ผูเ้ ชี่ยวชาญและการจัดการความรู ้
 การศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) การเรี ยนการ
สอนด้วยระบบโทรศึกษา (tele - education) การค้นคว้าหาความรู ้ได้
ตลอด 24 ชัว่ โมง
 การพัฒนาเครื อข่ายโทร คมนาคม ระบบการสื่ อสารผ่านเครื อข่ายไร้สาย
เครื อข่ายดาวเทียม ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทาให้สามารถค้นหา
ตาแหน่งได้อย่างแม่นยา
 การบริ หารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
เครื อข่ายการสื่ อสารเพื่อเพิม่ ประสิ ทธิภาพการ ดาเนินการของภาครัฐที่
เรี ยกว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-government) รวมทั้งระบบฐานข้อมูล
ประชาชน หรื อ e-citizen
8.4.2 แนวโน้ มทางด้ านลบ

ความผิดพลาดในการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ ทั้งส่ วน
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่เกิดขึ้นจากการออกแบบและพัฒนา ทาให้เกิด
ความเสี ยหายต่อระบบและสูญเสี ยค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหา
 การละเมิดลิขสิ ทธิ์ของทรัพย์สินทางปัญญา การทาสาเนาและ
ลอกเลียนแบบ
 การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ การโจรกรรมข้อมูล การล่วงละเมิด
การก่อกวนระบบคอมพิวเตอร์
8.5 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารในอนาคต
8.5.1 เทคโนโลยี 3G
 3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยคุ ที่สาม หรื อมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยาม
สั้นๆ เพื่อให้เข้าใจตรงกันว่า
 “ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สาหรับการหลอมรวมของบริ การต่างๆ
อาทิ กิจการประจาที่ (Fixed Service) กิจการเคลื่อนที่ (Mobile Service)
บริ การสื่ อสารเสี ยง ข้อมูล อินเทอร์เน็ต และ พหุสื่อ (Multimedia) เป็ นไป
ในทิศทางเดียวกัน” คือ สามารถถ่ายเท ส่ งต่อข้อมูล ดิจิตอล ไปยัง
อุปกรณ์โทรคมนาคมประเภทต่างๆ ให้สามารถรับส่ งข้อมูลได้
“ความสามารถในการใช้โครงข่ายทัว่ โลก (Global Roaming) ”
8.5.2 ระบบปัญญาประดิษฐ์
 ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) เป็ นการพัฒนาระบบ
คอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถในการตอบสนองกับความต้องการของ
มนุษย์ได้ ให้มีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์ มีความเข้าใจภาษามนุษย์ รับรู ้
ได้และตอบสนองด้วยการแสดงออกทางพฤติกรรมและภาษามนุษย์




ปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วยสาขาวิชาต่างๆ ได้แก่
ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
โครงข่าย ประสาทเทียม (Artificial Neural Network)
ระบบผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert System)
 ศาสตร์ดา้ นหุ่นยนต์ (Robotics)
8.5.3 ภาวะเสมือนจริง (Virtual Reality)
 ภาวะเสมือนจริ ง (Virtual Reality) คือ การใช้คอมพิวเตอร์จาลองภาพ สภาวะ
แวดล้อมในระบบสามมิติ ให้ผใู ้ ช้สามารถทดลองใช้ระบบต่างๆได้เหมือนอยูใ่ น
เหตุการณ์จริ ง ซึ่ งภาวะเสมือนจริ งนี้ถกู นามาใช้ทดสอบกับงานที่มีความเสี่ ยงสู ง
เช่น ระบบการบิน การเดินเรื อ งานด้านการฝึ กหัดแพทย์ เป็ นต้น และในอนาคตคาด
ว่าระบบนี้จะถูกนามาใช้ในด้านบันเทิง โดยอาจพัฒนาให้ผชู ้ มภาพยนตร์หรื อ
โทรทัศน์สามารถเป็ นส่ วนหนึ่งของตัวละคร หรื อเข้าไปอยูใ่ นเหตุการณ์ สามารถ
รับรู ้ รู ป รส กลิ่น เสี ยง ได้อีกด้วย
8.5.4 ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
 ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) กับการประยุกต์ใช้ภาษาไทยบน คอมพิวเตอร์
เป็ นนาวิทยาการด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดา้ นการประมวลผล
ภาษา ธรรมชาติมาพัฒนาโปรแกรมประมวลผลภาษาไทยบนคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ใช้
งานได้อย่าง มีประสิ ทธิ ภาพ ประกอบด้วย การประมวลผลตัวอักษร (Character) คา
(Word) ข้อความ (Text) ภาพ (Image) และความรู้ดา้ นภาษาศาสตร์ (Linguistics)
8.5.5 โครงข่ ายประสาทเทียม
(Artificial Neural Network)
 โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) การสร้าง
คอมพิวเตอร์ที่จาลองเอาวิธีการทางานของสมองมนุษย์ หรื อทาให้
คอมพิวเตอร์รู้จกั คิดและจดจาในแนวเดียวกับโครงข่ายประสาทของ
มนุษย์ เพื่อช่วยให้คอมพิวเตอร์ฟังภาษามนุษย์ได้เข้าใจ อ่านออก และรู ้จา
ได้ ซึ่งอาจเรี ยกได้วา่ เป็ น สมองกล
 โครงข่ายประสาทเทียมสามารถนามาใช้ในงานประเภทต่างๆดังต่อไปนี้
 1.งานด้านธนาคาร
 2.งานที่เกี่ยวข้องกับภาษา
 3.งานในการจาลักษณะสาคัญ (Character Recognition)
 4.การบีบอัดข้อมูล
 5.งานในการจารู ปแบบ (Pattern Recognition)
 6.งานในการส่งสัญญาณ (Signal processing)
 7. Servo Control
8.5.6 เทคโนโลยีการสื่ อสาร ทุกที่ ทุกเวลา
 ยูบิควิตสั เทคโนโลยี (Ubiquitous technology) สังคมยูบิควิตสั
(Ubiquitous society) หรื อ ยูบิคอมบ์ (Ubicomp) เป็ นทาให้เกิด
สภาพแวดล้อมของการสื่ อสารใหม่และเป็ นแนวโน้มของ
สังคมสารสนเทศ ยูบิควิตสั เป็ นภาษาลาติน มีความหมายว่า อยูใ่ นทุก
แห่ง หรื อ มีอยูท่ ุกหนทุกแห่ง มาร์ค ไวเซอร์ (Mark Weiser) แห่งศูนย์วิจยั
Palo Alto ของบริ ษทั Xerox ประเทศสหรัฐอเมริ กา ได้ให้คานิยาม "ยูบิค
วิตสั คอมพิวติง" ไว้วา่ เราสามารถเข้าถึงคอมพิวเตอร์ได้ทุกหนทุกแห่งสภาพแวดล้อมที่สามารถใช้ คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับเครื อข่าย ไม่วา่ จะ
อยูใ่ นที่แห่งใด
ยูบิควิตสั เทคโนโลยี (Ubiquitous technology)
 จุดเด่นของยูบิควิตสั ได้แก่
 - การเชื่อมต่อกับเครื อข่ายไม่วา่ ผูใ้ ช้งาน จะเคลื่อนย้ายไปยังสถานที่
ต่างๆ
 - การ สร้างสภาพการใช้งานโดยผูใ้ ช้ไม่รู้สึกว่ากาลังใช้คอมพิวเตอร์อยู่
 - การให้บริ การที่สามารถเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ท้งั สถานที่ อุปกรณ์
ปัจจัยทางกายภาพอื่นๆ

8.5.7 เทคโนโลยีสารสนเทศ กับการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้กบั การศึกษาได้แก่ สื่ อคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน หรื อ CAI (Computer Aided Instruction) เทคโนโลยีการสื่ อสารที่
ก้าวหน้าขึ้นทาให้รูปการเรี ยนที่จากัดด้วยชั้นเรี ยน ขนาดเล็กกลายเป็ นการ
เรี ยนด้วยระบบการสื่ อสารทางไกลหรื อโทรศึกษา (tele-education) เพื่อ
ขยายโอกาสทางการศึกษาและแก้ปัญหาการขาดแคลนอาจารย์ผสู ้ อน
ต่อมาเมื่ออินเทอร์เน็ตได้พฒั นาอย่างรวดเร็ วและได้รับความนิยมมากขึ้น
จึงได้ พัฒนาเป็ น การเรี ยนการสอนผ่านเว็บเพจ WBI (Web Based
Instruction) หรื อ WBL (Web Based Learning) และได้มีการพัฒนา
ปรับปรุ งเป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนแบบ e-Learning (Electronics
Learning)
 E-Learning คือ การนาเอาเทคโนโลยีเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วยในการเรี ยน
การสอน การถ่ายทอดความรู ้ การอบรม การทดสอบและประเมินผลผ่านเว็บเพจ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
กับการศึกษา

Virtual Library Virtual Library หรื อห้องสมุดเสมือน เป็ นรู ปแบบ
การให้บริ การอีกช่องทางหนึ่งของห้องสมุดในปัจจุบนั โดยให้บริ การ
ผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ผูใ้ ช้บริ การสามารถสื บค้นข้อมูลและเข้าถึง
ข้อมูลที่มีอยูใ่ นห้องสมุดเสมือน ได้ ข้อมูลที่ให้บริ การจะอยูใ่ นรู ปของ
ข้อมูลดิจิทลั ทาให้เปิ ดโอกาสในการเรี ยนรู ้ เป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้
ตลอดเวลา สามารถเข้าสู่ขอ้ มูลที่ให้บริ การได้จากทุกแห่ง
8.5.8 นาโนเทคโนโลยี อาณาจักรจิ๋ว นวัตกรรมแห่ งอนาคต
นาโนเทคโนโลยี คือ การทาให้โครงสร้างพื้นฐานของโมเลกุลขนาดระดับ 1 ถึง 100
นาโนเมตร กลายเป็ นวัสดุหรื ออุปกรณ์นาโนที่มีประโยชน์ สามารถนามาใช้สอยได้
ซึ่ งต้องอาศัยคุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ เคมี และชีววิทยา ของระบบที่อยูก่ ่ ึงกลางระหว่าง
อะตอม โมเลกุล กับวัตถุขนาดใหญ่ และสามารถควบคุมคุณสมบัติท้ งั หลายได้
ตัวอย่างของความก้าวหน้าด้านนาโนเทคโนโลยี
 วัสดุ ฉลาด (Smart materials)
 ตัวรับรู้ หรื อเซ็นเซอร์ (Sensors)
 โครงสร้างชีวภาพขนาดนาโน (Nano scale Biostructures)
 คอมพิวเตอร์แบบควอนตัม
 คอมพิวเตอร์ดีเอ็นเอ
8.5.9 รัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) คือ วิธีการบริ หารจัดการ
ภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครื อข่ายสื่ อสาร
เพื่อเพิม่ ประสิ ทธิภาพการ ดาเนินการของภาครัฐ ปรับปรุ งการให้บริ การ
แก่ประชาชน บริ การข้อมูลและสารสนเทศเพื่อส่ งเสริ มการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม ทาให้ประชาชนได้รับการบริ การจากภาครัฐที่ดีข้ ึน มี
ความใกล้ชิดกับภาครัฐมากขึ้น อีกทั้งทาให้ประเทศมีความสามารถใน
การแข่งขันกับนานาประเทศได้ดีข้ ึนด้วย
การบริ หารจัดการแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
 ที่มารัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ของไทย โครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิ กส์
ดาเนินการโดยดาเนินงานร่ วมกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อมุ่งให้เห็นผลเป็ น
รู ปธรรมในระยะ 2 ปี ดังนี้
1.การให้บริ การต่อสาธารณะ โดยจะผลักดันเพื่อให้หน่วยงานของรัฐ
ดาเนินการ
 2.การบริ หารจัดการของรัฐ
 3.การติดต่อสื่ อสาร และประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ
ตัวอย่างของรัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย
 การติดตามแกะรอยคนร้าย ปัจจุบนั มี 3 ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ คือ (1)
ระบบฐานข้อมูลประวัติอาชญากร หรื อ CDOS (Criminals Database Operating
System) (2) ระบบตรวจสอบลายพิมพ์นิ้วมืออัตโนมัติ หรื อ AFIS (Automated
Fingerprint Identification System) และ (3) ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบภาพ
ใบหน้าคนร้าย หรื อ PICASSO (police Identikit: Computer Assisted Suspect
Sketching Outfit)
 ระบบสารสนเทศสาหรับงานประปา บริ การเบ็ดเสร็จภายในคราวเดียว คือ จดมาตร
จานวนการใช้น้ า พิมพ์ใบแจ้งหนี้ และส่ งให้ลกู ค้าได้ทนั ที โดยใช้เวลาทั้งสิ้ นไม่เกิน
10 นาที ผูใ้ ช้บริ การสามารถนาใบแจ้งหนี้ไปชาระเงินที่สาขาของการประปานคร
หลวง หรื อที่ทาการไปรษณี ย ์ หรื อที่ Counter Service หรื อชาระผ่านอินเทอร์เน็ต
ด้วยบัตรเครดิต
ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 เพิ่ม ประสิ ทธิภาพในการทางานของหน่วยงานรัฐ
 เพิม่ คุณภาพในการบริ การประชาชนให้สะดวกรวดเร็ว
 สร้างความโปร่ งใสในการดาเนินงานและให้บริ การ
 ลดต้นทุนการดาเนินงานและการให้บริ การของหน่วยงาน ภาครัฐ
 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
8.5.10 อาคารอัตโนมัติ (BA : Building Automation)
 อาคารอัตโนมัติ (BA : Building Automation) คือ ระบบควบคุมอุปกรณ์อานวย
ความสะดวกภายในอาคาร ซึ่ งระบบอาคารอัตโนมัติ จะมีการฝังชิปคอมพิวเตอร์ลง
ไปในอุปกรณ์อานวยความสะดวกในอาคารทั้งหมด มีการเชื่อมต่อการทางานเป็ น
เครื อข่าย และมีศนู ย์กลางในการควบคุมอุปกรณ์อตั โนมัติต่างๆด้วนระบบ
คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างของอาคารอัตโนมัติ เช่น อาคารที่มีระบบการปรับแสงสว่าง
อัตโนมัติ ระบบปรับอากาศอัตโนมัติ ระบบการสัง่ งานขึ้นลงลิฟต์ดว้ ยเสี ยง ระบบ
ปิ ดเปิ ดประตูและหน้าต่างอัตโนมัติ รวมไปถึงระบบการรักษาความปลอดภัยของ
อาคาร เป็ นต้น ซึ่ งการทางานของระบบอาคารอัตโนมัติ นี้จะทาให้ผใู ้ ช้อาคารจะไม่
รู ้สึกว่ากาลังใช้งานคอมพิวเตอร์ ที่ฝังตัวในอาคารอยู่
ระบบการทางานของอาคารอัตโนมัติ (BA : Building Automation)
8.5.11 โรงงานอัตโนมัติ (FA : Factory Automation)
 คือ ระบบควบคุมการทางานในโรงงานให้มีประสิ ทธิภาพ ซึ่งมีการ
เชื่อมต่อเป็ นระบบเครื อข่าย Intranet ภายในโรงงาน โดยเชื่อมต่อ
กับการผลิต ระบบตรวจสอบคุณภาพ ระบบสัง่ ซื้อ ระบบขนส่ งสิ นค้าและ
ระบบอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถผลิตสิ นค้าได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ตรงกับความต้องการ และประหยัดต้นทุนมากที่สุด โดยการทางานของ
อุปกรณ์เครื่ องจักรและระบบต่างๆของโรงงานจะถูกควบคุมด้วย
คอมพิวเตอร์
ระบบการทางานของโรงงานอัตโนมัติ (FA : Factory Automation)
8.5.12 E-Citizen
 E-Citizen เป็ นโปรแกรมที่ให้ใบประกาศนียบัตรทักษะด้านคอมพิวเตอร์
โดย ICS SKILLS โดยโปรแกรมนี้เป็ นการให้ใบประกาศฯความรู ้ข้นั
พื้นฐานด้านคอมพิวเตอร์และการใช้อินเตอร์เน็ต โปรแกรม E-Citizen
เน้นให้ผสู ้ มัครรับการทดสอบทักษะและความรู ้ที่จาเป็ นเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตในระดับที่ให้ความมัน่ ใจได้วา่ เขาจะร่ วมใน
สังคมยุคใหม่ในฐานะผูม้ ีความสามารถจะทางานและใช้ชีวิตในสังคมที่
ต้องเกี่ยวข้องกับสังคมข้อมูลข่าวสารที่ตอ้ งใช้ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์
และอินเตอร์เน็ต
การบริ หารจัดการแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
E-Citizen ประกอบด้วย ส่ วนสาคัญ 3 ส่ วน ได้แก่
 Citizen e-DB ฐานข้อมูลประชาชน
 Citizen e-ID การพิสูจน์ยนื ยันตัวบุคคล
 Citizen e-Service การบริ การประชาชน
8.5.13 RFID (Radio Frequency Identification)
 RFID ใน ปัจจุบนั มีลกั ษณะเป็ นป้ ายอิเล็กทรอนิกส์ (RFID Tag) ที่
สามารถอ่านค่าได้โดยผ่านคลื่นวิทยุจากระยะห่าง เพื่อตรวจ ติดตามและ
บันทึกข้อมูลที่ติดอยูก่ บั ป้ าย ซึ่งนาไปฝังไว้ในหรื อติดอยูก่ บั วัตถุต่างๆ
เช่น ผลิตภัณฑ์ กล่อง หรื อสิ่ งของใดๆ สามารถติดตามข้อมลูของวัตถุ 1
ชิ้นว่า คืออะไร ผลิตที่ไหน ใครเป็ นผูผ้ ลิต ผลิตอย่างไร ผลิตวันไหน และ
เมื่อไหร่ ประกอบไปด้วยชิ้นส่ วนกี่ชิ้น และแต่ละชิ้นมาจากที่ไหน
รวมทั้งตาแหน่งที่ต้ งั ของวัตถุน้ นั ๆ ในปัจจุบนั ว่าอยูส่ ่ วนใดในโลก โดย
ไม่จาเป็ นต้องอาศัยการสัมผัส (Contact-Less) หรื อต้องเห็นวัตถุน้ นั ๆ
ก่อน ทางานโดยใช้เครื่ องอ่านที่สื่อสารกับป้ ายด้วยคลื่นวิทยุในการอ่าน
และเขียน ข้อมูล
การบริ หารจัดการแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
(e-Government)
 ปัจจุบนั ได้มีผสู้ นใจสมัครเข้าร่ วมโครงการนาร่ องการผ่านพิธีการ
ศุลกากร E-Export ด้วยระบบตรวจสอบรหัสโดยใช้ความถี่วิทยุ (RFID)
ดังนี้
1.บริ ษทั ทิฟฟ่ า อีดีไอ เซอร์วิสเซส จากัด
2 บริ ษทั เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จากัด
3.บริ ษทั อจิลิต้ ี จากัด
4.บริ ษทั ทีเอ็นที เอ็กซเพรส เวิลด์ไวด์ (ประเทศไทย)
5.บริ ษทั ดีเอชแอล เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย)จากัด
สรุป
ในสังคมสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
คนในสังคมมีการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง คนทุกระดับอายุ เกือบทุก
อาชีพ มีความต้องการสารสนเทศอยูต่ ลอดเวลาใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทั้งทางตรง
และทาง อ้อม เทคโนโลยีที่มีการพัฒนาและเริ่ มนามาประยุกต์ใช้ไม่วา่ จะเป็ น ระบบ
ปั ญญาประดิษฐ์ ยูบิควิตสั การเรี ยนผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการบริ หาร
ประเทศก็ยงั มีการตั้งโครงการรัฐบาลอิเล็กทรอนิ กส์ พวกเราที่เป็ นส่ วนหนึ่งของ
สังคมสารสนเทศจึงควรเตรี ยมความพร้อมในการปรับตัว เพื่อให้สามารถนา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็ นเครื่ องมือช่วยอานวยความสะดวกในการ ดาเนิน
ชีวติ ประจาวัน ไม่วา่ จะเป็ นการศึกษาหาความรู ้ การประกอบธุรกิจ การบริ หาร
จัดการ การพักผ่อนและบันเทิง รวมทั้งการสร้างโอกาสใหม่ๆ ให้กบั ชีวติ ของ
ตนเอง
LOGO