บรรยายสรุป ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารองค์การ

Download Report

Transcript บรรยายสรุป ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารองค์การ

ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารองค์ การ
http://www.nakarugsa.com/CIDMIS/
ดร.วิชญะ นาครักษ์
[email protected]
1. เทคโนโลยีสารสนเทศ
 เทคโนโลยีสารสนเทศ : IT (Information Technology)
มีความสาคัญต่ อการเปลีย่ นแปลงทางสั งคม เทียบเท่ า
เทคโนโลยีเครื่องจักรกลมีผลต่ อการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม
 “การเปลีย
่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ มีความสาคัญเช่ นเดียวกับการ
พัฒนาเครื่องจักรไอนา้ สาหรับใช้ งานอุตสาหกรรม”
 ผู้บริ หารทีจ
่ ะประสบความสาเร็จในอนาคต ควรต้ องทา
ความเข้ าใจในศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ
อย่ างมีวสิ ั ยทัศน์
เทคโนโลยีสารสนเทศต้ องมีองค์ ประกอบ 3 ประการ
1. ระบบประมวลผล
2. ระบบสื่ อสารโทรคมนาคม
3. การจัดการข้ อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเทคโนโลยีทุกรู ปแบบทีน่ ามา
ประยุกต์ ในการประมวลผล การจัดเก็บ การสื่ อสาร และการ
ส่ งผ่ านสารสนเทศด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยระบบทาง
กายภาพประกอบด้ วยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ สื่อสาร และ
ระบบเครือข่ าย
2. ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
 หมายถึง ระบบทีร
่ วบรวมและจัดเก็บข้ อมูลจากแหล่ ง
ต่ างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์ การอย่ างมีหลักเกณฑ์
เพือ่ นามาประมวลผลให้ ได้ สารสนเทศทีช่ ่ วยสนับสนุน
การทางาน และการตัดสิ นใจของผู้บริหารในด้ านต่ างๆ
เพือ่ ให้ การดาเนินงานขององค์ การเป็ นไปอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ
รวบรวมและจัดเก็บข้ อมูล
ระบบสารสนเทศ
เพือ่ การจัดการ
ประมวลผลและจัดการสารสนเทศ
 MIS ไม่ จาเป็ นต้ องสร้ างจากระบบคอมพิวเตอร์
แต่ ต้องมี
หน้ าที่ 2 ประการครบถ้ วน แต่ เนื่องจากทุกวันนีย้ งั ไม่ มี
อุปกรณ์ ใดทีท่ าหน้ าทีไ่ ด้ ดเี ท่ าคอมพิวเตอร์ ทาให้
คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นอุปกรณ์ หลักในการจัดการ
สารสนเทศในปัจจุบัน
ส่ วนประกอบของ MIS
1. เครื่องมือในการสร้ างระบบ MIS
- ฐานข้ อมูล “ข้ อมูล” คือหัวใจของ MIS
- อุปกรณ์ “คอมพิวเตอร์ ” คือ อุปกรณ์ หลัก
+ Hardware
+ Software
2. วิธีการหรือขั้นตอนการประมวลผลข้ อมูล เพือ่ ให้ ได้
สารสนเทศทีต่ ้ องการ
3. การแสดงผลลัพธ์ เช่ น รายงานต่ างๆ
ทีแ่ สดงได้ อย่ างรวดเร็วและชัดเจน
ข้ อมูล และ สารสนเทศ
 ข้ อมูล หมายถึง ข้ อมูลดิบทีถ
่ ูกรวบรวมจากแหล่ งต่ างๆ
ทั้งภายในและภายนอกองค์ การ โดยข้ อมูลดิบจะยังไม่ มี
ความหมายในการนาไปใช้ ประโยชน์
 สารสนเทศ หมายถึง ผลลัพธ์ ทไี่ ด้ จากการประมวลผล
ข้ อมูลดิบ ทีถ่ ูกจัดเก็บไว้ อย่ างเป็ นระบบ โดยผลลัพธ์ ทไี่ ด้
สามารถนาไปประกอบการทางาน การตัดสิ นใจแก้ ปัญหา
ข้ อมูล
ประมวลผล
สารสนเทศ
คุณสมบัตขิ อง MIS ทีด่ ี
1. Data Manipulation สามารถปรับปรุง จัดการข้ อมูล
2. Data Security ข้ อมูลมีความปลอดภัย
3. Flexibility ต้ องยืดหยุ่น สนองความต้ องการได้ เสมอ
มีอายุการใช้ งานนาน และค่ าใช้ จ่ายเหมาะสม
4. User Satisfaction ผู้ใช้ พอใจ
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ปัญหาของระบบสารสนเทศในองค์ การ
เป็ นสาเหตุให้ เกิดความคิดในการพัฒนาระบบใหม่ ทดแทน
1. ความต้ องการ ไม่ ตอบสนอง User อย่ างแท้ จริง
2. กลยุทธ์ ระบบทีพ่ ฒ
ั นาไม่ เหมาะกับองค์ การ
3. เทคโนโลยี ระบบมีเทคโนโลยีไม่ เหมาะสม เช่ น แพง
4. ซับซ้ อน ระบบมีข้นั ตอนยุ่งยาก ไม่ สะดวก
5. ผิดพลาด ระบบผิดพลาดบ่ อยครั้ง
6. มาตรฐาน มาตรฐานตา่ ยากต่ อการปรับปรุงและอ้ างอิง
ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ
1. การสารวจเบือ้ งต้ น (Preliminary Investigation)
2. การวิเคราะห์ ความต้ องการ (Requirement Analysis)
3. การออกแบบระบบ (System Design)
4. การจัดหาอุปกรณ์ ของระบบ (System Acquistion)
5. การติดตั้งระบบและการบารุงรักษา
(System Implementation and Maintenance)
การปรับเปลีย่ นระบบ
1. การปรับเปลีย่ นโดยตรง (Direct Conversion)
หยุดของเก่ าทันที
2. การปรับเปลีย่ นแบบขนาน (Parallel Conversion)
ระบบเดียวกัน ระบบเก่ า ระบบใหม่ ขนานกันไป
3. การปรับเปลีย่ นแบบเป็ นระยะ (Phased Conversion)
ระบบเก่ าระบบประเมินผล ระบบใหม่ ระบบการพนักงาน
4. การปรับเปลีย่ นแบบนาร่ อง (Pilot Conversion)
ถ้ าเปลีย่ นได้ ดี ขยายไปเรื่อยๆ
4. ระบบฐานข้ อมูล
สาเหตุทตี่ ้ องนาวิธีการจัดการข้ อมูลมาใช้ ในองค์ การ
1. มีความซ้าซ้ อนในการเก็บข้ อมูลภายในองค์ การ
2. ไม่ สามารถนาข้ อมูลมาใช้ ร่วมกันได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
3. ข้ อมูลขาดความยืดหยุ่นในการนาไปใช้ งาน
4. ความปลอดภัยของข้ อมูลตา่
5. ข้ อมูลสู ญหายและผิดพลาดได้ ง่าย
6. ข้ อมูลในองค์ การต่ างมาตรฐาน
7. ความสิ้นเปลืองเวลา สถานที่ และบุคลากรในการทางาน
ความหมายของฐานข้ อมูล
การรวบรวมข้ อมูลเข้ าไว้ ด้วยกันอย่ างมีแบบแผน ณ ทีไ่ ด้ ที่
หนึ่งในองค์ การ เพือ่ ทีผ่ ้ ูใช้ จะสามารถนาข้ อมูลมาประมวลผล
และประยุกต์ ใช้ งานตามทีต่ ้ องการได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
คุณสมบัตขิ องฐานข้ อมูลทีด่ ี
1. มีความรวดเร็วในการตอบสนองต่ อความต้ องการ
และสะดวกต่ อการใช้ งานของผู้ใช้
2. มีความสมดุลระหว่ างอุปกรณ์ ชุดคาสั่ ง และผู้ใช้
3. สามารถจัดการและปรับปรุงข้ อมูลอย่ างรวดเร็ว ถูกต้ อง
ตรงตามความต้ องการ
4. มีความปลอดภัยของข้ อมูล
ระบบฐานข้ อมูลในอนาคต
 ระบบฐานข้ อมูลแบบกระจาย ระบบฐานข้ อมูลทีเ่ ก็บข้ อมูล
ไว้ ในที่ต่างๆ มากกว่ า 1 แห่ ง โดยข้ อมูลส่ วนหนึ่งจะถูกเก็บ
ไว้ ในสถานทีห่ นึ่ง ขณะทีข่ ้ อมูลส่ วนทีเ่ หลืออาจจะถูกเก็บ
รวมไว้ ในอีกทีห่ นึ่งหรือถูกแยกเก็บไว้ ตามทีต่ ่ างๆ โดยที่
ข้ อมูลเหล่ านีส้ ามารถถูกเรียกมาประมวลผลและใช้ งานได้
เช่ นเดียวกับการเก็บข้ อมูลไว้ ณ ทีแ่ ห่ งเดียว
 คลังข้ อมูล
 เหมืองข้ อมูล
ระบบฐานข้ อมูล
แบบกระจาย
5. การสื่ อสารและระบบเครือข่ าย
เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม จะช่ วยเพิม่ ศักยภาพให้ แก่
ระบบคอมพิวเตอร์ ทเี่ คยปฏิบัตงิ านเก็บรวบรวม ประมวลผล
และจัดการสารสนเทศ ให้ สามารถตอบสนองความต้ องการ
ของผู้ใช้ ทอี่ ยู่คนละส่ วนงานหรือคนละพืน้ ทีใ่ ห้ สามารถเข้ าถึง
ข้ อมูลทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพได้
การสื่ อสารและระบบเครือข่ ายจึงมีความสาคัญสาหรั บ
องค์ การทุกระดับ
ชนิดของระบบเครือข่ าย
แบ่ งตามระยะห่ าง และการเชื่อมโยงอุปกรณ์
1. PAN
2. LAN
3. MAN
4. WAN
PAN
เครือข่ ายแพน (Personal Area Network หรือ PAN)
หมายถึง เครือข่ ายส่ วนบุคคล เป็ นเครือข่ ายสาหรับการ
แลกเปลีย่ นข้ อมูลสารสนเทศ และการบริการ ตลอดจนการใช้
งานอุปกรณ์ ร่วมกัน เทคโนโลยีทนี่ ามาใช้ เช่ น บลูทูธ
ยกตัวอย่ างเครือข่ ายแพน เช่ น การแลกเปลีย่ นข้ อมูลระหว่ าง
เครื่องพีดเี อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ต้งั โต๊ ะสาหรับการใช้
อินเทอร์ เน็ตและอีเมล
LAN
เครือข่ ายแลน (Local Area Network หรือ LAN) หมายถึง
เครือข่ ายเฉพาะพืน้ ที่ เป็ นระบบเครือข่ ายทีใ่ ช้ เชื่ อมโยง
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่างๆ ทีอ่ ยู่ในระยะใกล้ เข้ าด้ วยกัน
ระยะทางการเชื่อมต่ อประมาณไม่ เกิน 10 กิโลเมตร มี
ความเร็วในการแลกเปลีย่ นข้ อมูลสู ง ประมาณ 10-100 Mbps
สื่ อทีใ่ ช้ มกั จะเป็ นสื่ อแบบสายสั ญญาณ ส่ วนใหญ่ จะใช้ ใน
หน่ วยงาน สานักงาน เช่ น เครือข่ ายภายในมหาวิทยาลัย หรือ
เครือข่ ายภายในบริษัท เป็ นต้ น
MAN
เครือข่ ายแมน (Metropolitan Area Network หรือ MAN)
หมายถึง เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ เป็ นระบบ
เครือข่ ายทีต่ ่ อเชื่อมและครอบคลุมพืน้ ทีก่ ว้ างทั้งตาบล หรือ
ทั้งอาเภอ หรือทั้งจังหวัด เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ชนิดนีเ้ กิด
จากการเชื่อมต่ อของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ แบบแลนหลายๆ
เครือข่ ายเข้ าด้ วยกัน
WAN
เครือข่ ายแวน (Wide Area Network หรือ WAN) หมายถึง
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ มาก ภายในเครือข่ ายประกอบไป
ด้ วยเครือข่ ายแลน และแมน พืน้ ที่ของเครือข่ ายแวนสามารถ
ครอบคลุมได้ ท้งั ประเทศ หรือทัว่ โลก เครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตที่
ให้ บริการครอบคลุมทัว่ โลกก็เป็ นเครือข่ ายแบบแวนเช่ นกัน
6. ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
(Decision Support System)
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ คืออะไร
 DSS เป็ นระบบที่ช่วยในการตัดสิ นใจเกีย
่ วกับการจัดการ การรวบรวม
ข้ อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูล และการสร้ างตัวแบบที่ซับซ้ อน ภายใต้
ซอฟต์ แวร์ เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็ นการประสานการทางาน
ระหว่ างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้ านซอฟต์ แวร์ โดยเป็ นการกระทา
โต้ ตอบกัน เพือ่ แก้ ปัญหาแบบไม่ มีโครงสร้ าง และอยู่ภายใต้ การควบคุม
ของผู้ใช้ ต้ งั แต่ เริ่มต้ นถึงสิ้นสุ ดขั้นตอนหรืออาจกล่ าวได้ ว่า DSS เป็ น
ระบบที่โต้ ตอบกันโดยใช้ คอมพิวเตอร์ เพือ่ หาคาตอบที่ง่าย สะดวก
รวดเร็วจากปัญหาที่ไม่ มีโครงสร้ างที่แน่ นอน ดังนั้นระบบการสนับสนุน
การตัดสิ นใจ จึงประกอบด้ วยชุ ดเครื่องมือ ข้ อมูล ตัวแบบ (Model) และ
ทรัพยากรอืน่ ๆ ที่ผ้ ูใช้ หรือนักวิเคราะห์ นามาใช้ ในการประเมินผลและ
แก้ไขปัญหา ดังนั้นหลักการของ DSS จึงเป็ นการให้ เครื่องมือที่จาเป็ นแก่
ผู้บริหาร ในการวิเคราะห์ ข้อมูลที่มีรูปแบบที่ซับซ้ อน แต่ มีวธิ ีการปฏิบัติ
ที่ยดื หยุ่น DSS จึงถูกออกแบบเพือ่ เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการทางาน ไม่
เพียงแต่ การตอบสนองในเรื่องความต้ องการของข้ อมูลเท่ านั้น
คุณสมบัตขิ อง DSS

พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทาให้ DSS สามารถ
ช่ วยผู้บริหารในการตัดสิ นใจแก้ ปัญหา โดยนาข้ อมูลทีจ่ าเป็ น
แบบจาลองในการตัดสิ นใจทีส่ าคัญ และชุดคาสั่ งทีง่ ่ ายต่ อการใช้ งาน
รวมเข้ าเป็ นระบบเดียว เพือ่ สะดวกต่ อในการใช้ งานของผู้ใช้ โดยที่ DSS
ทีเ่ หมาะสมควรมีคุณลักษณะ ดังนี้
1. ง่ ายต่ อการเรียนรู้ และใช้ งาน (Easy to use) เนื่องจากผู้ใช้ อาจมี
ทักษะทางสารสนเทศที่จากัด ตลอดจนความเร่ งด่ วนในการใช้ งาน
และความต้ องการของปัญหา ทาให้ DSS ต้ องมีความสะดวกต่ อผู้ใช้
2. สามารถโต้ ตอบกับผู้ใช้ ได้ อย่ างรวดเร็ว และมีประสิ ทธิภาพ โดยที่
DSS ทีด่ ตี ้ องสามารถสื่ อสารกับผู้ใช้ อย่ างฉับพลัน โดยตอบสนอง
ความต้ องการและโต้ ตอบกับผู้ใช้ ได้ ทนั เวลา โดยเฉพาะใน
สถานการณ์ ปัจจุบัน ทีต่ ้ องการความรวดเร็วในการแก้ ปัญหา
คุณสมบัตขิ อง DSS (ต่ อ)
3. มีข้อมูล และแบบจาลองสาหรับสนับสนุนการตัดสิ นใจที่เหมาะสมและ
สอดคล้ องกับลักษณะของปัญหา
4. สนับสนุนการตัดสิ นใจแบบกึง่ โครงสร้ าง และไม่ มโี ครงสร้ าง ซึ่งแตกต่ าง
จากระบบสารสนเทศสาหรับปฏิบัติ งานที่จัดการข้ อมูลสาหรับงาน
ประจาวันเท่ านั้น
5. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) ที่จะสนองความต้ องการที่เปลีย่ นแปลงไป
ของผู้ใช้ เนื่องจากลักษณะของปัญหาที่มคี วามไม่ แน่ นอน และ
เปลีย่ นแปลงตามสถานการณ์ นอกจากนีผ้ ู้จัดการจะเผชิญหน้ ากับปัญหา
ที่มคี วามไม่ แน่ นอนและเปลีย่ นแปลงทางสถานการณ์ นอกจากนี้
ผู้จัดการจะเผชิญกับปัญหาในหลายลักษณะจึงต้ องการระบบสารสนเทศ
ที่ช่วยจัดรู ปข้ อมูลที่ไม่ ซับซ้ อนและง่ ายต่ อการตัดสิ นใจ
 คุณสมบัตข
ิ อง DSS สร้ างความเป็ นเอกลักษณ์ ในการทางานของระบบ ซึ่ง
สอดคล้ องกับความต้ องการของธุรกิจ ปัจจุบัน ดังจะเห็นได้ จากหลาย
องค์ การสนับสนุนให้ มกี ารพัฒนาหรือซื้อระบบสารสนเทศที่ช่วยให้ การ
ตัดสิ นใจของผู้บริหารมีประสิ ทธิภาพขึน้
ส่ วนประกอบของ DSS
 สามารถจาแนกออกเป็ น 4 ส่ วน ดังนี้
1.
2.
3.
4.
อุปกรณ์
การทางาน
ข้ อมูล
บุคลากร
ส่ วนประกอบของ DSS (ต่ อ)
ระบบการทางาน มีนักวิชาการหลายท่ านให้ ความเห็นว่ า
ระบบการทางานเป็ นส่ วนประกอบหลักของ DSS เพราะ
ถือว่ าเป็ นส่ วนประกอบสาคัญในการทีจ่ ะทาให้ DSS
ทางานได้ ตามวัตถุประสงค์ และความต้ องการของผู้ใช้ ซึ่ง
ระบบการทางานจะประกอบด้ วยส่ วนประกอบสาคัญ 3
ส่ วนคือ
2.1 ฐานข้ อมูล
2.2 ฐานแบบจาลอง
2.3 ระบบชุดคาสั่ งของ DSS
ส่ วนประกอบของ DSS (ต่ อ)
ฐานแบบจาลอง (Model Base) มีหน้ าทีร่ วบรวม
แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ และแบบจาลองในการ
วิเคราะห์ ปัญหาทีส่ าคัญ เพือ่ อานวยความสะดวกต่ อผู้ใช้
ปกติ DSS จะถูกพัฒนาขึน้ มาตามจุดประสงค์ เฉพาะอย่ าง
ดังนั้น DSS จะประกอบด้ วยแบบจาลองทีต่ ่ างกันตาม
วัตถุประสงค์ ในการนาไปใช้
ส่ วนประกอบของ DSS (ต่ อ)
ระบบชุ ดคาสั่ งของ DSS (DSS Software System) เป็ นส่ วนประกอบ
สาคัญที่ช่วยอานวยความสะดวกในการโต้ ตอบระหว่ างผู้ใช้ กบั
ฐานข้ อมูลและฐานแบบจาลอง โดยระบบชุ ดคาสั่ งของ DSS จะมีหน้ าที่
จัดการ ควบคุมการพัฒนา จัดเก็บ และเรียกใช้ แบบจาลองต่ างๆ โดย
ระบบชุ ดคาสั่ ง ของ DSS จะมีหน้ าที่จัดการ ควบคุมการพัฒนา จัดเก็บ
และเรียกใช้ แบบจาลองต่ างๆเพือ่ นามาประมวลผลกับข้ อมูลขาก
ฐานข้ อมูล นอกจากนีร้ ะบบชุ ดคาสั่ งยังมีหน้ าที่ให้ ความช่ วยเหลือผู้ใช้ ใน
การโต้ ตอบกับ DSS โดยที่สามารถแสดงความสั มพันธ์ ของ
ส่ วนประกอบทั้ง 3 ส่ วนคือ 1. ผู้ใช้ 2. ฐานแบบจาลอง 3. ฐานข้ อมูล
7. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
(Executive Information System)
ความหมายของ EIS
ระบบ EIS คือระบบสารสนเทศทีผ่ ้ ูบริหารระดับสู ง
สามารถใช้ เป็ นเครื่องมืออานวยความสะดวกรวดเร็วในการ
บริหารและสนับสนุนการตัดสิ นใจ โดยให้ ข้อมูลทีท่ นั กับความ
ต้ องการเพือ่ ใช้ ในการกาหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจวัตถุประสงค์
และเป้าหมาย ตลอดจนการวางแผนกลยุทธ์ นอกจากนีย้ งั ช่ วย
อานวยประโยชน์ ในด้ านการติดต่ อสื่ อสารทั้งระหว่ างผู้บริหาร
ระดับสู งด้ วยกัน ระหว่ างบุคคลากรในองค์ กรหรือการ
ติดต่ อสื่ อสารระหว่ างองค์ กรอีกด้ วย
คุณลักษณะของ EIS
1. คุณภาพของข้ อมูล
2. การสื่ อสารระหว่ างผู้ใช้ กบั ระบบ หรือส่ วนต่ อประสาน
ระหว่ างผู้ใช้ กบั ระบบ
3. ความสามารถทางเทคนิค
4. การนาเสนอข้ อมูล
5. ความคล่ องตัวของระบบ
6. ความรวดเร็วและความต้ องในการประมวลผล
7. ความน่ าสนใจของการวางรู ปแบบระบบ
8. ความปลอดภัยของระบบ
9. การคัดเลือกข้ อมูลเพือ่ ใช้ กบั ระบบ
10. รู ปแบบการวิเคราะห์ ข้อมูล
11. รู ปแบบการออกรายงาน
การเปรียบเทียบ EIS กับระบบสารสนเทศอืน่ ๆ
1. ระบบสารสนเทศเพือ่ การปฏิบัตกิ าร
(Transactions Processing Systems หรือ TPS)
2. ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
(Management Information Systems หรือ MIS)
3. ระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการตัดสิ นใจ
(Decision Support Systems หรือ DSS)
4. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร
(Executive Information Systems หรือ EIS)
ข้ อเปรียบเทียบความแตกต่ างระหว่ างระบบสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการปฏิบัตงิ านในแต่ ละระดับของการบริหาร
หัวข้ อ
ระบบสารสนเทศเพือ่
ระบบสารสนเทศเพือ่ ระบบสารสนเทศเพือ่
สนับสนุนการ
การปฏิบัตกิ าร
การจัดการ
ตัดสิ นใจ
ระบบสารสนเทศ
สาหรับผู้บริหาร
1. วัตถุประสงค์ หลัก ใช้ กบั งานด้ านการ
ใช้ ควบคุมตรวจสอบ ใช้ สนับสนุนการ
ใช้ สนับสนุนการ
ปฏิบัตกิ ารต่ างๆ ของ การปฏิบัตกิ ารและ ปฏิบัตกิ ารด้ านการ ตัดสิ นใจของ
องค์ กร
สรุปสภาพการณ์
วางแผนและตัดสิ นใจ ผู้บริหารระดับสู ง
2. จุดเด่ นของระบบ
เน้ นข้ อมูลการ
ปฏิบัตกิ ารและ
ประสิ ทธิภาพของ
การปฏิบัติ
เน้ นการจัดการการ
ควบคุมผลสรุปการ
ปฏิบัตกิ าร
3. ผู้ใช้ ระบบ
ผู้ปฏิบัตงิ าน ผู้จัดการ ผู้จัดการและผู้
และควบคุมการ
ควบคุมการ
ปฏิบัตงิ าน
ปฏิบัตงิ านผู้บริหาร
ทุกระดับ
เน้ นการวางแผน
ตัดสิ นใจในเรื่อง
ทั่วไปขององค์ กร
เน้ นการให้ ข้อมูลที่
เป็ นประโยชน์ ด้านกล
ยุทธ์ การคาดการ
ล่ วงหน้ า
ผู้บริหารขององค์ กร
ทุกระดับ
เน้ นผู้บริหาร
ระดับสู งโดยเฉพาะ
4. ความสามารถในการ ไม่ มี หรือเป็ นการ
สนับสนุนการ
ตัดสินใจแบบง่ ายๆ ใน
ตัดสินใจ
ระดับการปฏิบัตกิ าร
ใช้ ข้อมูลสนับสนุนใน
รูปแบบทั่วๆ ไปที่มี
ระยะเวลาและรูปแบบ
ตามกาหนดตายตัว
ให้ ข้อมูลสนับสนุนการ
ตัดสินใจเฉพาะเรื่อง
หรือจากสถานการณ์
เฉพาะ
มีข้อมูลสนับสนุน
ทางอ้อมสาหรับการ
ตัดสินใจระดับสู ง ไม่ มี
กฎเกณฑ์ ตายตัวขึน้ กับ
การนาไปเลือกใช้
5. รูปแบบของการ
ตัดสินใจ
เป็ นแบบเดิมซ้าๆ กัน มี เป็ นแบบเดิมซ้าๆ กัน มี มีโครงสร้ างไม่ ค่อย
โครงสร้ างแน่ นอน
โครงสร้ างแน่ นอน
ชัดเจน
ตายตัว
ตายตัว
มีการปรับเปลีย่ น
โครงสร้ างบ่ อย รูปแบบ
ไม่ ชัดเจน
6. การใช้ ระบบ
มีคาสั่ง ขั้นตอนหรือ
กระบวนการใช้ ระบบ
สอดคล้องกับขั้นตอน
การปฏิบัตงิ าน
มีข้นั ตอนการใช้ ระบบ
ที่ไม่ ซับซ้ อน
ต้ องเป็ นระบบที่ใช้ ง่าย
ไม่ ต้องจดจาคาสั่ ง
ขั้นตอนหรือ
กระบวนการใช้ ระบบ
7. รูปแบบการนาเสนอ
เป็ นตัวอักษร
เป็ นตัวอักษรเพือ่ การ เป็ นตัวอักษรกราฟิ ก
เรียกดู การออกรายงาน หรือตาราง
กราฟิ ก หรือตาราง
ต้ องเป็ นระบบที่ใช้ ง่าย
ไม่ ต้องจดจาคาสั่ ง
ขั้นตอนหรือ
กระบวนการใช้ ระบบ
เป็ นรูปแบบต่ างๆ เช่ น
กราฟิ ก ตาราง ไม่ เน้ น
ตัวอักษร
8. ความคล่ องตัว
ของระบบ
มีกฎเกณฑ์ การ
ทางานที่ชัดเจน ไม่
ค่ อยมีการ
ปรับเปลีย่ น
9. ความปลอดภัย
ของข้ อมูล
มีระดับแตกต่ างตาม ต้ องการความ
หน้ าที่ความ
ปลอดภัยสู ง
รับผิดชอบของผู้ใช้
ระบบ
10. ข้ อมูลที่นาเสนอ รายการปฏิบัตงิ าน
ค่ อนข้ างมีกฎเกณฑ์
แน่ นอนตายตัว
สามารถปรับเปลีย่ น
ได้ เล็กน้ อย
ข้ อมูลสรุปการ
ปฏิบัตงิ าน
11. การจัดการข้ อมูล เก็บข้ อมูลเฉพาะการ เก็บข้ อมูลสรุปผล
ปฏิบัตงิ านนั้นๆ
การปฏิบัตงิ าน
ทั้งหมด
สามารถปรับเปลีย่ น มีความยืดหยุ่นสู ง
ได้ ตามสถานการณ์ ไม่ มีกฎเกณฑ์
และสิ่ งแวดล้ อมใน ตายตัว
ขณะนั้น
ต้ องการความ
ปลอดภัยสู ง
ต้ องการความ
ปลอดภัยสู งเป็ น
พิเศษ
ข้ อมูลสรุปการ
ตัดสิ นใจ การ
วางแผน
ข้ อมูลสรุปการ
ตัดสิ นใจ ระดับสู ง
เก็บข้ อมูลเพือ่ การ
ตัดสิ นใจในการ
ดาเนินธุรกิจ
เก็บข้ อมูล ปัจจัย
สาคัญที่มีผลต่ อ
ความสาเร็จของ
องค์ กร
12. แหล่ งข้ อมูล
แต่ ละขอบเขตธุรกิจ
ในองค์ กร เป็ นข้ อมูล
ปัจจุบันที่ใช้ ในการ
ปฏิบัตงิ าน
ใช้ ข้อมูลหลายแหล่ ง
ทั้งในและนอก
องค์ กร เป็ นข้ อมูล
ประวัติ ปัจจุบัน และ
อนาคต
ใช้ ข้อมูลหลายแหล่ ง
ทั้งในและนอก
องค์ กร เป็ นข้ อมูล
ประวัติ ปัจจุบัน และ
อนาคต
13. ฮาร์ ดแวร์ และขีด ขนาดใหญ่ กลาง
ขนาดใหญ่ กลาง
ความสามารถ
หรือเล็ก ขีด
หรือเล็ก ขีด
ความสามารถเป็ นไป ความสามารถสู ง
ตามลักษณะการใช้
งาน
ขนาดใหญ่ กลาง
หรือเล็ก ขีด
ความสามารถสู ง
ขนาดใหญ่ กลาง
หรือเล็ก ขีด
ความสามารถสู ง
14. ซอฟต์ แวร์
ซอฟต์ แวร์ ขีด
ความสามารถสู งที่ทา
แบบจาลอง การ
วิเคราะห์ การนาเสนอ
ข้ อมูล ใช้ ภาษาระดับ
4 ขึน้ ไป
ซอฟต์ แวร์ ขีด
ความสามารถสู งที่ทา
แบบจาลอง การ
วิเคราะห์ การนาเสนอ
ข้ อมูล ใช้ ภาษาระดับ
4 ขึน้ ไป
เป็ นซอฟต์ แวร์ เพือ่
การคานวณและ
ประมวลผลจานวน
มากใช้ ภาษาระดับ 24 ในการสร้ าง
โปรแกรมประยุกต์
แต่ ละขอบเขตธุรกิจ
ในองค์ กร เป็ นข้ อมูล
ปัจจุบันที่ใช้ ในการ
ปฏิบัตงิ าน
ซอฟต์ แวร์ ขีด
ความสามารถสู งที่
ทาแบบจาลอง การ
วิเคราะห์ การ
นาเสนอข้ อมูล ใช้
ภาษาระดับ 4 ขึน้ ไป
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ระบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)
 ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) หมายถึง การพัฒนาให้ ระบบ
คอมพิวเตอร์ มลี กั ษณะการทางานใกล้ เคียงกับระบบการ
ประมวลผลและการตอบสนองของมนุษย์ ทมี่ ตี ่ อแต่ ละ
สถานการณ์ เพือ่ ให้ คอมพิวเตอร์ สามารถปฏิบัตงิ านแทนที่
มนุษย์ ได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ
ประเภทของปัญญาประดิษฐ์ (AI)
1. การประมวลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) หรือ
บางครั้งเรียกว่ าภาษาธรรมชาติ
2. ระบบภาพ (Vision System) ถูกพัฒนาขึน้ เพือ่ ลอกเลียนการ
มองเห็นของบุคคล
3. ระบบเครือข่ ายเส้ นประสาท (Neural Networks) เป็ นระบบ
คอมพิวเตอร์ ทถี่ ูกพัฒนาให้ จาลองการทางานของสมองและระบบ
เส้ นประสาทของมนุษย์
4. หุ่นยนต์ (Robotics) เป็ นสาขาสาคัญของปัญญาประดิษฐ์ ที่ได้ รับ
ความสนใจจากบุคคลทัว่ ไป หุ่นยนต์ ถูกพัฒนาขึน้ เพือ่ จาลองการ
ทางานของมนุษย์
5. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ระบบคอมพิวเตอร์ ทถี่ ูกพัฒนา
ให้ สามารถรับรู้ และทางานเฉพาะด้ านได้ อย่ างผู้เชี่ยวชาญ
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
 ระบบผู้เชี่ ยวชาญ หมายถึง ชุ ดคาสั่ งของคอมพิวเตอร์ ที่
เก็บรวบรวมความรู้ เกีย่ วกับปัญหาเฉพาะเรื่องและ
กระบวนการอนุมาน เพือ่ นาไปสู่ ผลสรุปของปัญหานั้น
ข้ อจากัดของระบบผู้เชี่ยวชาญ
 เป็ นการยากทีจ
่ ะรวบรวมความรู้ ได้ ครบถ้ วน
 ยากทีจ
่ ะดึงความรู้ มาจากคนทีเ่ ป็ นผู้เชี่ยวชาญ
 วิธีแก้ ปัญหาอาจมีหลายวิธีจากผู้เชี่ ยวชาญหลายคน
 นักวิศวกรความรู้ ขาดแคลน หายากและค่ าตอบแทนสู ง
 คาตอบของระบบผู้เชี่ ยวชาญอาจไม่ ถูกต้ องนัก ถ้ าไม่ มก
ี าร
รวบรวมความรู้ ทดี่ พี อ
 ระบบผู้เชี่ ยวชาญไม่ สามารถจัดการกับความรู้ ทไี่ ม่
แน่ นอนได้
ส่ วนประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System)
1. ฐานความรู้ (Knowledge Base)
2. เครื่องอนุมาน (Inference Engine)
2.1 การอนุมานแบบไปข้ างหน้ า (Forward Chaining Inference)
2.2 การอนุมานแบบย้ อนหลัง (Backward Chaining Inference)
3. ส่ วนดึงความรู้ (Knowledge Acquisition Subsystem)
4. ส่ วนอธิบาย (Explanation Subsystem)
5. การติดต่ อกับผู้ใช้ (User Interface)
9. ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
(Business Information Systems)
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ เป็ นระบบสารสนเทศทีถ่ ูกพัฒนาขึน้ เพือ่
สนับสนุนให้ การดาเนินงานของธุรกิจให้ ดาเนินการอย่ างเป็ นระบบ
โดยถูกออกแบบและพัฒนาให้ ปฏิบัตงิ านตามหน้ าทีท่ างธุรกิจ สามารถ
จาแนกระบบสารสนเทศตามหน้ าทีท่ างธุรกิจตามหน้ าที่ ดังต่ อ ไปนี้
1. ระบบสารสนเทศด้ านการบัญชี (Accounting Information System)
2. ระบบสารสนเทศด้ านการเงิน (Financial Information System)
3. ระบบสารสนเทศด้ านการตลาด (Marketing Information System)
4. ระบบสารสนเทศด้ านการผลิตและการดาเนินการ (Production and
Operations Information System)
5. ระบบสารสนเทศด้ านทรัพยากรบุคคล (Human Resource
Information System)
10. การจัดการความรู้
การบริหารจัดการความรู้
 การบริ หารจัดการความรู้ เป็ นกระบวนการ รวบรวม
จัดการ ความรู้ ความชานาญ ไม่ ว่าความรู้ น้ันจะอยู่ใน
คอมพิวเตอร์ ในกระดาษ หรือตัวบุคคล โดยมีจุดมุ่งหมาย
เพือ่ จัดการให้ บุคลากร ได้ รับความรู้ และแลกเปลีย่ นความรู้
ทาให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมจากเดิม โดยให้ เกิด
ประสบการณ์ และความชานาญเพิม่ ขึน้
 การบริ หารจัดการความรู้ คือ ระบบบริ หารจัดการความรู้
ให้ เป็ นระเบียบ ครบถ้ วน ง่ ายต่ อการเรียกใช้ จัดเก็บตาม
ความต้ องการ เก็บรักษาความรู้ ให้ ควบคู่กบั องค์ กร
ตลอดไป โดยนาเทคโนโลยีเข้ ามาใช้ ในการจัดการ
ข้ อมูล สารสนเทศ และความรู้
 ข้ อมูล คือ ข้ อมูลดิบ ข้ อเท็จจริ งต่ างๆ ไม่ มก
ี ารประมวลผล
และยังไม่ มคี วามหมาย
 สารสนเทศ คือ การรวบรวมข้ อมูลมาจัดเก็บ ประมวลผล
และจัดการ ให้ สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ ได้
 ความรู้ คือ สารสนเทศทีส
่ ามารถตีความ ทาความเข้ าใจ และ
นาไปใช้ ในการแก้ ปัญหาหรือการตัดสิ นใจในการดาเนิน
ธุรกิจให้ ประสบความสาเร็จ ซึ่งต้ องอาศัยประสบการณ์ ใน
การเรียนรู้ เกีย่ วกับวิธีการเลือกสารสนเทศมาใช้ ในการแก้ ไข
ปัญหาได้ อย่ างเหมาะสม (สารสนเทศเดียวกัน อาจจะ
ตีความหมายเป็ นความรู้ ทแี่ ตกต่ างกัน จากมุมมองและ
พืน้ ฐานของประสบการณ์ ทตี่ ่ างกัน)
ข้ อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้ อมูล
ประมวลผล
สารสนเทศ
นาไปใช้ ประโยชน์
ความรู้
ความรู้ ในองค์ กร
 Explicit Knowledge ความรู้ ที่ชัดแจ้ ง ความรู้ ที่เป็ นเหตุและผลที่
สามารถจะบรรยาย/ถอดความ ออกมาได้ ในรู ปของทฤษฎี การแก้ ไข
ปัญหา คู่มือ และฐานข้ อมูล (ทุกคนสามารถเข้ าถึง/ซื้อได้ )
 Tacit Knowledge ความรู้ โดยนัย คือ ความรู้ ที่ได้ มาจาก
ประสบการณ์ และไม่ สามารถบรรยายเป็ นถ้ อยคา ถ้ อยความ หรือ
สู ตรได้ และขึน้ อยู่กบั ความเชื่อ รวมทั้งทักษะเชิงวิชาการของบุคคล
ที่จะ กลัน่ กรองความรู้ ความรู้ ชนิดนีส้ ามารถพัฒนาและแบ่ งปันกัน
ได้ และเป็ นความรู้ ที่จะทาให้ เกิดความได้ เปรียบในการแข่ งขัน
โมเดลการสร้ างความรู้ (SECI Model)
Nonaka & Takeuchi SECI model
(โนนากะ กับ ทาเคอุชิ)
หลักสาคัญการสร้ างความรู้ ในหน่ วยงานหรือองค์ กร คือการ
สั งเคราะห์ หรือหลอมรวมความรู้ ทชี่ ัดแจ้ ง กับความรู้ ทฝี่ ังลึก
ยกระดับขึน้ ไปเป็ นความรู้ ทสี่ ู งขึน้ ลึกซึ้งขึน้ เป็ นองค์ รวม
ยิง่ ขึน้ โดยผ่ านกระบวนการ 4 ส่ วน ทีเ่ รียกว่ า เซกิ (SECI)
โมเดลการสร้ างความรู้ (SECI Model)
Tacit (นัย) Knowledge
Socialization
Tacit
Knowledge
กระบวนการของการแลกเปลีย่ นความรู้
ฝังลึก ผ่านการแลกเปลีย่ นประสบการณ์
เป็ นตัวขับเคลือ่ นที่สาคัญ
(การเป็ นพีเ่ ลีย้ ง)
Internalization
กระบวนการนาแจ้ งฝังเข้ าเป็ นลึก เป็ น
การเรียนรู้ที่แจ้ งได้ นาไปสู่ การปฏิบัติ
(role play, การอ่าน, การฝึ กงาน)
Externalization
กระบวนการเปลีย่ นลึกเป็ นแจ้ ง ถูก
codefied และเหตุผลสาหรับ actions
หรือตัดสินใจ ทาให้ คนเข้ าถึงความรู้ได้
(expert system, การเขียน case study)
Combination
เปลีย่ นแจ้ งให้ เข้ าระบบความรู้ แจ้ ง และ
มีการเพิม่ เข้ าในระบบฐานข้ อมูลของ
องค์การ (web forum, best practice
database)
Explicit (ชัดแจ้ ง) Knowledge
Explicit
Knowledge
สรุป SECI
 การแลกเปลีย
่ นความรู้ ระหว่ างกัน คือ บ่ อเกิดแห่ งปัญญาและเป็ น
ที่มาของทรัพย์ สินทางปัญญา
 SECI จะขยายฐานและความลึกของความรู้ ให้ เติบโตไม่ มีทส
ี่ ิ้นสุ ด
และเป็ นการเรียนรู้ อย่ างต่ อเนื่องและยัง่ ยืน
 การสร้ างความรู้ ให้ อยู่ค่ ูกบ
ั องค์ การจะต้ องอาศัยความร่ วมมือของ
บุคลากรทั้งองค์ กร ไม่ ใช่ เพียงฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ง แต่ องค์ การจะต้ อง
สร้ างบรรยากาศทีเ่ อือ้ ต่ อการเรียนรู้ จะเกิดเป็ นวัฒนธรรมการ
เรียนรู้ ขององค์ การในทีส่ ุ ด องค์ การใดทีม่ ีการสร้ างสรรค์ ความรู้
อย่ างไม่ หยุดยั้งจะเป็ นแรงผลักดันอันยิง่ ใหญ่ ทจี่ ะทาให้ เกิดการ
สร้ างสรรค์ ความรู้ ใหม่ ๆ ในองค์ การต่ อไป
11. เทคโนโลยีสารสนเทศกับกลยุทธ์ ธุรกิจ
กลยุทธ์ ธุรกิจ
"กลยุทธ์ ยุทธวิธี หรือยุทธศาสตร์ " แปลมาจากภาษาอังกฤษ
"Strategy" ซึ่งมีรากศัพท์ มาจากภาษากรีกว่า "Strategies"
หมายถึง "Generalship" หรือศาสตร์ และศิลป์ ในการ บังคับบัญชา
กองทัพ ปกติกลยุทธ์ เป็ นคาศัพท์ ที่ใช้ ในทางทหารในเรื่องเกีย่ วกับ
การสงคราม และแนวทางในการเอาชนะศัตรู ซึ่งได้ รับความสนใจ
จากนักการทหารในทุกประเทศจากอดีตจนถึงปัจจุบนั เนื่องจากใน
อดีตการปกครองและการทหารจะมีความสั มพันธ์ กนั อย่ างใกล้ ชิด
โดยผู้ปกครองมักจะเป็ นผู้นาทางการทหาร หรือผู้นาทางการทหาร
มักจะเข้ ามามีบทบาทและอานาจทางการเมือง กลยุทธ์ จึงได้ รับ
ความสนใจจากนักการเมืองและนักปกครองที่พยายามศึกษาและนา
หลักการมาประยุกต์ ในการสร้ างฐานอานาจ การขึน้ สู่ อานาจ การ
รักษาอานาจ และการปกครองคนหมู่มากให้ อยู่ร่วมกันอย่ างสงบสุ ข
การจาแนกกลยุทธ์
1. กลยุทธ์ ระดับบริษทั หรือองค์ การ (Corporate Strategy) จะ
ถูกกาหนดให้ ผ้ ูบริหารระดับสู งขององค์ การ
2. กลยุทธ์ ระดับธุรกิจ (Business Strategy) จะให้ ความสาคัญ
กับการแข่ งขันของธุรกิจในแต่ ละอุตสาหกรรม กลยุทธ์ ระดับ
นีม้ กั ถูกกาหนดโดย "ผู้บริหารหน่ วยธุรกิจ" เพือ่ ให้ หน่ วย
ธุรกิจสามารถดาเนินการได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ สอดคล้ อง
และเป็ นไปในทิศทางเดียวกับภารกิจ (Mission) และ
วัตถุประสงค์ (Objective) ขององค์ การ
3. กลยุทธ์ ระดับหน้ าที่ (Functional Strategy) จะถูกกาหนด
โดยหัวหน้ าหน่ วยงานตามหน้ าทีท่ างธุรกิจ เพือ่ สนับสนุน
และสอดคล้ องกับกลยุทธ์ ระดับทีส่ ู งกว่ า
ความหมายของระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ (SIS) คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ในระดับ
ใดก็ตามขององค์ การซึ่งสามารถเปลีย่ นแปลงวัตถุประสงค์ การ
ดาเนินงาน ผลผลิต การบริการหรือความสั มพันธ์ กบั สิ่ งแวดล้ อม
ต่ างๆ ขององค์ การ เพือ่ ทีจ่ ะสร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขันกับ
องค์ การ (Laudon & Laudon, 1995)
 ระบบสารสนเทศเชิ งกลยุทธ์ (SIS) คือ ระบบสารสนเทศที่
สนับสนุนหรือสร้ างตัวแปรและกลยุทธ์ ความได้ เปรียบในการ
แข่ งขัน SIS อาจจะเป็ นระบบสารสนเทศแบบใดก็ได้ TPS, MRS,
DSS, ฯลฯ ทีช่ ่ วยทาให้ ความได้ เปรียบในการแข่ งขันเพิม่ ขึน้ ลด
ความเสี ยเปรียบในการแข่ งขัน หรือช่ วยในการบรรลุผลด้ านกลยุทธ์
อืน่ ๆ (Normann, 1994)
สรุป SIS คือ ระบบสารสนเทศใดๆ ทีช่ ่ วยสนับสนุน กลยุทธ์ การสร้ าง
ความได้ เปรียบในการแข่ งขันขององค์ กร

กลยุทธ์ ในการสร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขัน
1. กลยุทธ์ การใช้ ต้นทุนต่า (Cost Leadership Strategy) เช่ น Air Asia ใช้
ระบบการจองตั๋ว ผ่ านระบบ Internet ช่ วยลดต้ นทุนการจ้ างพนักงานตัวแทน
จาหน่ าย
2. กลยุทธ์ สร้ างความแตกต่ าง (Differentiation Strategy) เช่ น โทรศัพท์ มือถือ
Hutch นาระบบ GIS เข้ ามาใช้ เพือ่ อานวยความสะดวกแก่ลูกค้ าในการเลือก
เส้ นทางเดินทาง หรือตรวจสอบทีอ่ ยู่ของอีกฝ่ าย
3. กลยุทธ์ ในการเน้ นกลุ่มเป้าหมาย (Focus Strategy) เช่ น บริษัท บัตรกรุงไทย
(KTC) เสนอทางเลือกการใช้ บัตรให้ แก่สมาชิก โดยเจาะกลุ่มเป้าหมาย
พฤติกรรมการใช้ ของลูกค้า
4. กลยุทธ์ ด้านนวัตกรรม (Innovation Strategy) เช่ น ร้ านหนังสื อ online ชื่อ
amazon.com ได้ นาระบบ E-commerce มาใช้ ในการดาเนินธุรกิจ โดยทีร่ ้ าน
ไม่ มีสถานทีท่ ตี่ ้งั ให้ ลูกค้ าได้ ไปเยีย่ มชมเลือกซื้อหนังสื อ แต่ สามารถทากาไร
ได้ หลายร้ อยล้านดอลล่าต่ อปี
5. กลยุทธ์ ด้านพันธมิตร (Alliance Strategy) เช่ น บริษัท ชิน คอร์ ป ร่ วมมือกับ
แอร์ เอเชีย ดาเนินธุรกิจสายการบินแบบประหยัด (low cost) และพัฒนา
ระบบเกีย่ วกับระบบการให้ บริการ ตลอดจนแลกเปลีย่ นข้ อมูลต่ างๆ ร่ วมกัน
12. พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ความหมายของพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ได้ มีผู้ความหมายไว้ หลายความหมาย เช่ น
 กิจกรรมเชิ งพาณิชย์ ที่ดาเนินการโดยมีการแลกเปลีย
่ น เก็บรักษา หรื อสื่ อสาร
ข้ อมูลข่ าวสาร โดยผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการแลกเปลีย่ นข้ อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ อีเมล์ และอืน่ ๆ (Hill, 1997)
 การใช้ วธ
ิ ีการอิเล็กทรอนิกส์ ในการดาเนินงานให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ ทางธุรกิจ
รวมทั้งการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่ น EDI การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การ
ประมูลอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีการสื่ อสารคมนาคมอืน่ ๆ โทรทัศน์ และการ
ใช้ อนิ เทอร์ เน็ต (Palmer, 1997)
 การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรื อการขนส่ งผลิตภัณฑ์ และบริ การ
โดยสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ (World Trade Organization: WTO)
 การซื้อขายสิ นค้ า บริ การ และสารสนเทศผ่ านเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง
อินเตอร์ เน็ต (Turban et al, 2000)
สรุป การทาธุรกรรมทุกรูปแบบโดยการครอบคลุมถึงการซื้อ-ขายสิ นค้า/บริการ การ
ชาระเงิน การโฆษณาโดยผ่ านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่ างๆ โดยเฉพาะเครื อข่ าย
ทางอินเตอร์ เน็ต
ขั้นตอนการเปิ ดร้ านเพือ่ ดาเนินการค้ าในระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนทีต่ ้ องปฏิบัตเิ พือ่ ความสาเร็จในการทาระบบพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนทีต่ ้ องปฏิบัตเิ พือ่ ความสาเร็จในการทาพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ มี 9
ขั้นตอน เรียบเรียงจากพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์ และกลยุทธ์ การทาเงิน
1. แต่ งตั้ง คณะกรรมการควบคุมดูแล (Committee) ซึ่งควรจะมี ฝ่ ายขาย
การตลาด และผู้บริหารทีม่ ีอานาจตัดสิ นใจเป็ นแกนหลัก
2. วิจัยตลาด (Marget Research) โดยผ่ านทางระบบค้ นหา เพือ่ หา
ช่ องว่ าง และโอกาสทางการตลาด
3. กาหนด กลุ่มเป้าหมาย (Marget Target) ที่เราจะขายสิ นค้ าให้ ซึ่งใน
ทีน่ ีจ้ ะเน้ นทีก่ ลุ่มทีม่ ีพฤติกรรมทีเ่ หมือนกัน
4. วางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) ด้ านสิ นค้ าว่ า จะขายอะไร หรือ
ปรับปรุงอย่ างไร ตั้งราคาเท่ าใด โดยปรับตามปัจจัย และพฤติกรรมทีใ่ ช้ ในการ
ตัดสิ นใจซื้อของกลุ่มเป้าหมาย และวาง กลยุทธ์ การพัฒนาเว็บเพจ หลังจากนั้น
มอบหมายให้ คณะทางานอีคอมเมอร์ ซทีแ่ ต่ งตั้งขึน้ มา เพือ่ นาไปปฏิบัติการ
ขั้นตอนทีต่ ้ องปฏิบัตเิ พือ่ ความสาเร็จในการทาระบบพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ (ต่ อ)
5. ทาการพัฒนาเว็บเพจ (Webpage Developing) ตามทีไ่ ด้ วางกลยุทธ์ ไว้ ซึ่ง
การจัดรู ปแบบจะต้ องสอดคล้ องกับพฤติกรรมในการตัดสิ นใจซื้อ
6. ติดตั้ง ระบบอีคอมเมิร์ซ (E-Commerce System) เลือกระบบตะกร้ า และ
วิธีการจ่ ายเงินทีเ่ หมาะสม
7. จดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration) (อาจจะทาการจดไว้
ก่ อนตั้งแต่ ข้นั ตอนแรก หากกลัวชื่อทีต่ ้ องการหมด และสามารถตกลงกันได้ ว่าจะ
เอาชื่อใด) และนาเว็บเพจที่ ออกแบบเสร็จแล้ ว เข้ าสู่ ระบบอินเทอร์ เน็ต หรือ
อัปโหลดขึน้ เว็บเซิร์ฟเวอร์ เสร็จแล้ วก็ทาการลงทะเบียนในระบบค้ นหา และ
ประชาสั มพันธ์
8. ตรวจวัดผลระยะเวลา 1 3 และ 6 เดือน (Evaluation) เพือ่ ปรับแต่ งจน
สอดคล้ องกับพฤติกรรม และความต้ องการของกลุ่มเป้ าหมาย
9. เฝ้ าดูแล (Monitor) และปรับปรุงเนือ้ หา ตามกาหนดระยะเวลา เช่ น ทุก
สั ปดาห์ หรือทุกเดือน
กลยุทธ์ ทจี่ าเป็ นสาหรับการทาพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
1. สิ นค้ าต้ องน่ าสนใจ และมีจานวนมากพอ เพือ่ ให้ ผู้ใช้ รู้ สึกเห็นความ
หลายหลาย และเข้ ามาทีร่ ้ านอีก
2. รายละเอียดสิ นค้ าครบถ้ วน ตรงตามความจริง ไม่ คุยสรรพคุณเกิน
จริงสิ นค้ ามีอยู่จริง และต้ องหาให้ ลูกค้ าได้ ทนั ทีทสี่ ั่ งซื้อ
3. การออกแบบเว็บต้ องดี น่ าดู น่ าสนใจ มีลูกเล่นทีด่ ี
4. การประชาสั มพันธ์ ต้องเยี่ยม มีการส่ งจดหมายข่ าว หรือโฆษณาผ่ าน
banner exchange
สิ่ งทีค่ วรมีสาหรับการเปิ ดร้ านบนอินเทอร์ เน็ต
1. หน้ าร้ าน และพืน้ ทีข่ องร้ าน ยิง่ กว้ างยิง่ ดี (Shop Showing)
2. ต้ องมีตะกร้ า ซื้อและคานวณเงินได้ ก่อนจ่ ายจริง (Shopping Cart)
3. อีเมล์ตอบรับ เมื่อมีผู้สนใจสั่ งสิ นค้ า ควรส่ งให้ ท้งั ลูกค้ า และผู้ขาย
(E-Mail response)
4. รับชาระด้ วยบัตรเครดิต หลังจากทุกอย่ างลงตัว
(Credit Card Acceptation)
5. สถิติ และรายงาน เห็นความก้าวหน้ าของเว็บ (Statistic)
6. เทมเพลตการออกแบบ ช่ วยให้ ออกแบบหน้ าร้ านได้ ง่ายขึน้ (Template)
7. การประชาสั มพันธ์ ต้ องถึงกลุ่มลูกค้ า (Advertising)
การจ่ ายเงิน
1. รับชาระเงินสด เมื่อส่ งสิ นค้ า
2. รับสิ นค้ าที่ร้าน พร้ อมชาระเงินสด
3. พัสดุเก็บเงินปลายทาง
4. การโอนเงิน หรือ เช็ค เข้ าบัญชี ก่ อนส่ งสิ นค้ า
5. ขอผู้ขายติดต่ อไปยังผู้ซื้อ หลังสั่ งซื้อ เพือ่ ตกลงกัน
6. การชาระเงินด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
การประยุกต์ ใช้ พาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ข้ อจากัดเกีย่ วกับพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ข้ อจากัดด้ านเทคนิค
1. ขาดมาตรฐานสากลทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับในด้ านคุณภาพ ความปลอดภัย
และความน่ าเชื่อถือ
2. ความกว้ างของช่ องทางการสื่ อสารมีจากัด
3. ซอฟแวร์ ยงั กาลังอยู่ระหว่ างการพัฒนา
4. ปัญหาความเข้ ากันได้ ระหว่ าง Internet และซอฟแวร์ ของ
E-commerce กับแอพพลิเคชั่น
5. ต้ องการ Web Server และ Network Server ที่ออกแบบมาเป็ น
พิเศษ
6. การเข้ าถึงอินเตอร์ เน็ตยังมีราคาแพงและไม่ สะดวก
ข้ อจากัดเกีย่ วกับพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ข้ อจากัดด้ านกฎหมาย
1. กฎหมายทีส่ ามารถคุ้มครองการทาธุรกรรมข้ ามรัฐหรือข้ าม
ประเทศ ไม่ มีมาตรฐานที่เหมือนกัน และมีลกั ษณะทีแ่ ตกต่ างกัน
2. การใช้ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ จะมีผล
ทางกฎหมายหรือไม่
3. ปัญหาเกิดจากการทาธุรกรรม เช่ น การส่ งสิ นค้ ามีลกั ษณะแตกต่ าง
จากที่โฆษณาบนอินเทอร์ เน็ต จะมีการเรียกร้ องค่ าเสี ยหายได้
หรือไม่
ข้ อจากัดเกีย่ วกับพาณิชย์ อเิ ล็กทรอนิกส์
ข้ อจากัดด้ านธุรกิจ
1. วงจรผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle) จะสั้ นลง เพราะการเข้ าถึงข้ อมูลทาได้
ง่ ายและรวดเร็ว การลอกเลียนผลิตภัณฑ์ จึงทาได้ รวดเร็ว เกิดคู่แข่ งเข้ ามาใน
ตลาดได้ ง่าย จะต้ องมีการสร้ างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ เสมอ
2. ความพร้ อมของภูมิภาคต่ างๆในการปรับโครงสร้ างเพือ่ รองรับการเจริญเติบโต
ของ E-Commerce มีไม่ เท่ ากัน
3. ภาษีและค่ าธรรมเนียม จาก E-Commerce จัดเก็บได้ ยาก ยังไม่ มีกฎหมาย
คุ้มครอง
4. ต้ นทุนในการสร้ าง E-Commerce ครบวงจรค่ อนข้ างสู ง เพราะรวมถึงค่ า
Hardware, Software ทีม่ ีประสิ ทธิภาพ ระบบความปลอดภัยทีน่ ่ าเชื่อถือ การ
จัดการระบบเครือข่ าย ตลอดจนค่ าจ้ างบุคลากร
5. ประเทศกาลังพัฒนาต้ องลงทุนทางด้ านเทคโนโลยีสูงมาก ในโครงสร้ าง
พืน้ ฐาน
6. เงินสดอีเล็กทรอนิกส์ ทาให้ เกิดการฟอกเงินได้ ง่าย เนื่องจากการใช้ เงินสด
อิเล็กทรอนิกส์ จะทาให้ การตรวจสอบที่มาของเงินทาได้ ยาก
13. แนวโน้ มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีในอนาคต
1. ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) หรือ AI
2. การจดจาเสี ยง (voice recognition)
3. ระบบเครือข่ าย (networking system)
4. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
5. ยูบิควิตสั เทคโนโลยี (Ubiquitous technology)
6. นาโนเทคโนโลยี
ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) หรือ AI
เป็ นการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ให้ มคี วามสามารถทีจ่ ะคิด
แก้ ปัญหาและให้ เหตุผลได้ เหมือนอย่ างการใช้ ภูมปิ ัญญาของ
มนุษย์ จริง ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ ในหลายสาขาวิชาได้ ศึกษา
และ ทดลองทีจ่ ะพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ให้ สามารถทางานที่
มีเหตุผล โดยการเลียนแบบการทางานของสมองมนุษย์ ซึ่ง
ความรู้ ทางด้ านนีถ้ ้ าได้ รับการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง จะสามารถ
นามาประยุกต์ ใช้ งานต่ างๆ อย่ างมากมาย เช่ น ระบบผู้เชี่ยวชาญ
หุ่นยนต์ ระบบปัญญาประดิษฐ์
การจดจาเสี ยง (voice recognition)
เป็ นความพยายามของนักวิทยาศาสตร์ ที่จะทาให้ คอมพิวเตอร์ จดจา
เสี ยงของผู้ใช้ ปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีสาขานีย้ งั ไม่ ประสบ
ความสาเร็จตามที่นักวิทยาศาสตร์ ต้องการ ถ้ าในอนาคต
นักวิทยาศาสตร์ ประสบความสาเร็จในการนาความรู้ ต่างๆ มาใช้ สร้ าง
ระบบการจดจาเสี ยง ก็จะสามารถสร้ างประโยชน์ ได้ อย่ างมหาศาลแก่
การใช้ งานคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยทีผ่ ู้ใช้ จะ
สามารถออกคาสั่ งและตอบโต้ กบั คอมพิวเตอร์ แทนการกดแป้นพิมพ์
ซึ่งจะส่ งผลให้ ผ้ ูทไี่ ม่ เคยชินกับการใช้ คอมพิวเตอร์ ให้ สามารถปรับตัว
เข้ ากับระบบได้ ง่าย เช่ น ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสู ง
การสั่ งงานระบบฐานข้ อมูลต่ างๆ และระบบรักษาความปลอดภัยของ
ข้ อมูล เป็ นต้ น ซึ่งจะช่ วยเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการทางานและขยาย
คุณค่ าเพิม่ ของเทคโนโลยีสารสนเทศทีม่ ีต่อธุรกิจ
ระบบเครือข่ าย (networking system)
โดยเฉพาะระบบเครือข่ ายเฉพาะพืน้ ที่ (local area network :
LAN) เป็ นระบบสื่ อสารเครือข่ ายทีใ่ ช้ ในระยะทางทีก่ าหนด
ส่ วนใหญ่ จะภายในอาคารหรือในหน่ วยงาน LAN จะมีส่วนช่ วย
เพิม่ ศักยภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลให้
สู งขึน้ รวมทั้งการเพิม่ ประสิ ทธิภาพในการทางาน การใช้ ข้อมูล
ร่ วมกัน และการเพิม่ ความเร็วในการติดต่ อสื่ อสาร นอกจากนี้
ระบบเครือข่ ายของคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลยังผลักดัน ให้ เกิด
การกระจายความรับผิดชอบในการจัดการเทคโนโลยี
สารสนเทศไปยังผู้ใช้ มากกว่ าในอดีต
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government)
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ คือ วิธีการบริหารจัดการภาครั ฐสมัยใหม่
โดยการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ ายสื่ อสารเพือ่ เพิม่
ประสิ ทธิภาพการ ดาเนินการของภาครัฐ ปรับปรุงการให้ บริการ
แก่ ประชาชน บริการข้ อมูลและสารสนเทศเพือ่ ส่ งเสริมการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสั งคม ทาให้ ประชาชนได้ รับการบริการ
จากภาครัฐทีด่ ขี นึ้ มีความใกล้ ชิดกับภาครัฐมากขึน้ อีกทั้งทาให้
ประเทศมีความสามารถในการแข่ งขันกับนานาประเทศได้ ดขี ึน้
ด้ วย ทีม่ ารัฐบาล อิเล็กทรอนิกส์ ของไทย โครงการรัฐบาล
อิเล็กทรอนิกส์ ดาเนินการโดยดาเนินงานร่ วมกับหน่ วยงาน
ต่ างๆ เพือ่ มุ่งให้ เห็นผลเป็ นรู ปธรรม
ยูบิควิตสั เทคโนโลยี (Ubiquitous technology)
เทคโนโลยีการสื่ อสาร ทุกที่ ทุกเวลา ยูบิควิตสั เทคโนโลยี
(Ubiquitous technology) สั งคมยูบิควิตสั (Ubiquitous
society) หรือ ยูบิคอมบ์ (Ubicomp) เป็ นทาให้ เกิด
สภาพแวดล้ อมของการสื่ อสารใหม่ และเป็ นแนวโน้ มของ
สั งคมสารสนเทศ ยูบิควิตสั เป็ นภาษาลาติน มีความหมายว่ า อยู่
ในทุกแห่ ง หรือ มีอยู่ทุกหนทุกแห่ ง มาร์ ค ไวเซอร์ (Mark
Weiser) แห่ งศูนย์ วจิ ัย Palo Alto ของบริษัท Xerox ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ได้ ให้ คานิยาม "ยูบิควิตสั คอมพิวติง" ไว้ ว่า เรา
สามารถเข้ าถึงคอมพิวเตอร์ ได้ ทุกหนทุกแห่ ง-สภาพแวดล้ อมที่
สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ เชื่อมต่ อกับเครือข่ าย ไม่ ว่าจะอยู่ในที่
แห่ งใด
นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology)
นาโนเทคโนโลยี อาณาจักรจิ๋ว นวัตกรรมแห่ งอนาคต นาโทเทคโนโลยี
กาลังเข้ ามามีบทบาทอย่ างยิง่ กับชีวติ ประจาวันของเราและเป็ นทีก่ ล่ าว
ขานกัน อย่ างมากในขณะนี้ คาว่ า "นาโน (nano)" แปลว่ า 1 ในพันล้ าน
ส่ วน เช่ น นาโนวินาที เท่ ากับ 10 ยกกาลัง-9 หรือ 0.000000001วินาที 1
นาโนเมตร เท่ ากับ 1/1,000,000,000 เมตร หรือ 0.000000001 เมตร นา
โนเทคโนโลยี คือ การทาให้ โครงสร้ างพืน้ ฐานของโมเลกุลขนาดระดับ
1 ถึง 100 นาโนเมตร กลายเป็ นวัสดุหรืออุปกรณ์ นาโนทีม่ ีประโยชน์
สามารถนามาใช้ สอยได้ ซึ่งต้ องอาศัยคุณสมบัตทิ างฟิ สิ กส์ เคมี และ
ชีววิทยา ของระบบทีอ่ ยู่กงึ่ กลางระหว่ างอะตอม โมเลกุล กับวัตถุขนาด
ใหญ่ และสามารถควบคุมคุณสมบัตทิ ้งั หลายได้
THE END