มคอ - ศูนย์ พัฒนา ประสิทธิภาพ บุคลากร

Download Report

Transcript มคอ - ศูนย์ พัฒนา ประสิทธิภาพ บุคลากร

ปานสิริ พันธุส์ วุ รรณ
มคอ. และ TQF ย่อมาจากอะไร?
เป็ นกรอบที่แสดงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ ซึ่งประกอบด้ วย
่ งู ขึนน
 ระดับคุณวุฒิ ความเชื่อมโยงต่อเนื่องจากคุณวุฒิระดับหนึ่งไปสู่ระดับทีส
 การแบ่งสายวิชา
 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิซ่ ง
ึ เพิ่มสูงขึนนตามระดับของ คุณวุฒิ ปริมาณการ
เรียนรู้ท่สี อดคล้ องกับเวลาที่ต้องใช้ ลักษณะของหลักสูตรในแต่ละระดับคุณวุฒิ
 การเปิ ดโอกาสในเทียบโอนผลการเรียนรู้จากประสบการณ์ ซึ่งเป็ นการส่งเสริมการเรียนรู้
ตลอดชีวติ
 ระบบและกลไกที่ให้ ความมั่นใจในประสิทธิผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของสถาบันอุดมศึกษาว่าสามารถผลิตบัณฑิตให้ บรรลุคุณภาพตาม
มาตรฐานผลการเรียนรู้
หลักการสาคัญ
1. เป็ นเครื่องมือในการนาแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัด
การศึกษาตาม ที่กาหนดใน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฯ ในส่วนที่เกี่ยวกับ
มาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสู่การปฏิบัติใน
สถานศึกษาอย่างเป็ นรูปธรรม
2. มุ่งเน้ นที่ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ซึ่งเป็ นมาตรฐานขันนต่าเชิงคุณภาพ
เพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต โดยเริ่มที่ผลผลิตและผลลัพธ์ของการจัดการศึกษา
คือ กาหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวังไว้ ก่อน หลังจากนันนจึง
พิจารณาถึงองค์ประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้ องในกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่
จะส่งเสริมให้ บัณฑิตบรรลุถงึ มาตรฐานผลการเรียนรู้นนนั อย่างสอดคล้ องและ
ส่งเสริมกันอย่างเป็ นระบบ
หลักการสาคัญ
3. มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องหลักสูตรและการ
จัดการเรียนการสอนเข้ าไว้ ด้วยกันและเชื่อมโยงให้ เป็ นเรื่องเดียวกันซึ่งจะ
สามารถอธิบายให้ ผ้ ูเกี่ยวข้ องได้ เข้ าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับความหมายและความ
มีมาตรฐานในการจัดการศึกษาของคุณวุฒิหรือปริญญาในระดับต่างๆ
4. มุ่งให้ คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบันใด ๆ ของประเทศไทยเป็ นที่ยอมรับและ
เทียบเคียงกันได้ ในสถาบันอุดมศึกษาที่ดีทนงั ใน และต่างประเทศ โดยเปิ ด
โอกาสให้ สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดหลักสูตรตลอดจนกระบวนการเรียนการ
สอนได้ อย่างหลากหลาย มั่นใจถึงคุณภาพของบัณฑิต ที่จะสามารถประกอบ
อาชีพได้ อย่างมีความสุขและภาคภูมใิ จเป็ นที่พึงพอใจของนายจ้ าง
วัตถุประสงค์ของการจัดทากรอบ มคอ.
1. เพื่อเป็ นกลไกหรือเครื่องมือในการนาแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา และมาตรฐานการอุดมศึกษาไปสู่การปฏิบัติได้ อย่าง
เป็ นรูปธรรม ด้ วยการนาไปเป็ นหลักในการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียน
การสอน และการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาตามที่กาหนด
2. เพื่อกาหนดเป้ าหมายในการผลิตบัณฑิตให้ ชัดเจนโดยกาหนดมาตรฐานผลการ
เรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวังในแต่ละคุณวุฒิ/ปริญญาของสาขา/สาขาวิชาต่างๆ
และเพื่อให้ สถาบันอุดมศึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญในสาขา/สาขาวิชาได้
ใช้ เป็ นหลัก และเป็ นแนวทางในการวางแผน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงและ
พัฒนาการจัดการศึกษา เช่น การพัฒนาหลักสูตร การปรับเปลี่ยนกลวิธกี ารสอน
วิธกี ารเรียนรู้ ตลอดจนกระบวนการวัดและการประเมินผลนักศึกษา
วัตถุประสงค์ของการจัดทากรอบ มคอ.
3. เพื่อเชื่อมโยงระดับต่างๆของคุณวุฒิในระดับอุดมศึกษาให้ เป็ นระบบ
เพื่อบุคคลจะได้ มีโอกาสเพิ่มพูนความรู้ได้ อย่างต่อเนื่องและหลากหลาย
ตามหลักการศึกษาตลอดชีวิต มีความชัดเจนและโปร่งใส สามารถ
เทียบเคียงกับมาตรฐานคุณวุฒิในระดับต่างๆ กับนานาประเทศได้
4. เพื่อช่วยให้ เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในสถาบันอุดมศึกษาและเป็ นกลไกใน
การประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ง และใช้ เป็ น
กรอบอ้ างอิงสาหรับผู้ประเมินของการประกันคุณภาพภายนอกเกี่ยวกับ
คุณภาพบัณฑิต และการจัดการเรียนการสอน
วัตถุประสงค์ของการจัดทากรอบ มคอ.
5. เพื่อเป็ นกรอบของการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการสร้ างความเข้ าใจและ
ความมั่นใจในกลุ่มผู้ท่เี กี่ยวข้ อง อาทิ นักศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ประกอบการ
ชุมชน สังคมและสถาบันอื่นๆ ทันงในและต่างประเทศเกี่ยวกับความหมาย
ของคุณวุฒิ คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และ
สมรรถนะในการทางาน รวมทันงคุณลักษณะอื่นๆ ที่คาดว่าบัณฑิตจะพึงมี
6. เพื่อประโยชน์ในการเทียบเคียงมาตรฐานคุณวุฒิระหว่าง
สถาบันอุดมศึกษา ทันงในและต่างประเทศ ในการย้ ายโอนนักศึกษา
ระหว่างสถาบันอุดมศึกษา การลงทะเบียนข้ ามสถาบัน และการรับรอง
คุณวุฒิผ้ ูสาเร็จการศึกษาทันงในและต่างประเทศ
วัตถุประสงค์ของการจัดทากรอบ มคอ.
7. เพื่อให้ มีการกากับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองของแต่ละสาขา/
สาขาวิชา
8. เพื่อนาไปสู่การลดขันนตอน/ระเบียบ (Deregulation) การดาเนินการ
ให้ กบั สถาบันอุดมศึกษาที่มีความเข้ มแข็ง
ระดับคุณวุฒิ (Levels of Qualifications)
ระดับที่ ๑ อนุปริญญา (๓ ปี )
ระดับที่ ๒ ปริญญาตรี
ระดับที่ ๓ ประกาศนียบัตรบัณฑิต
ระดับที่ ๔ ปริญญาโท
ระดับที่ ๕ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชันนสูง
ระดับที่ ๖ ปริญญาเอก
ส่วนประกอบ ของ มคอ.
มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวิชา
มคอ.2 มาตรฐานคุณวุฒกิ บั รายละเอียดของหลักสูตร
มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ.5 รายงานผลการดาเนิ นการของรายวิชา
มคอ.6 รายงานผลการดาเนิ นการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ.7 รายงานผลการดาเนิ นการของหลักสูตร
มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา



จัดทาโดยสมาคมวิชาชีพ/ที่ประชุมคณบดี สาขานันนๆ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตร์
ประกอบด้ วย หัวข้ อ
๑. ชื่อสาขา
๒. ชื่อปริญญา
๓. ลักษณะของสาขาวิชา
๔. คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์
๕. มาตรฐานผลการเรียนรู้
๖. องค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้ อง
๗. โครงสร้ างหลักสูตร
มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา
๘. เนืนอหาสาระสาคัญของสาขาวิชา
๙. กลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้
๑๐. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
๑๑. คุณสมบัตผิ ้ เู ข้ าศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู้
๑๒. คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
๑๓. ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ
๑๔. แนวทางการพัฒนาคณาจารย์
๑๕. การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
๑๖. การนามาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา…….สู่การปฏิบตั ิ
๑๗. การเผยแพร่หลักสูตรที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน
๑๘. รายชื่อและหน่วยงานของคณะกรรมการจัดทามาตรฐานคุณวุฒิ
ผลการเรียนรู ้ (Learning Outcomes)
สิ่งที่พัฒนาขึนนในตัวนักศึกษา ทันงจาก
 การเรียนในห้ องเรียน
 กิจกรรมในและนอกหลักสูตร
 ปฎิสม
ั พันธ์กบั นักศึกษาอื่น กับอาจารย์
 ประสบการณ์ท่เี กิดขึนนในช่ วงเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย
 ผลการเรียนรู้ ต้ องวัดได้ และครอบคลุมถึง
 สาระความรู้
ความเข้ าใจในเนืนอหาวิชา
 ทักษะหรือความสามารถในการนาความรู้ไปใช้
 พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสย
ั
ผลการเรียนรู ้ (Learning Outcomes)
สกอ.กาหนดให้ ครอบคลุมอย่างน้ อย 5 ด้ าน (domains)
1. ด้ านคุณธรรม จริยธรรม
2. ด้ านความรู้
3. ด้ านทักษะทางปัญญา
4. ความด้ านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
5. ด้ านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
6. ด้ านทักษะพิสยั (สาหรับสาขา/สาขาวิชาที่เน้ นทักษะทางปฏิบตั ิ)
1.คุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral)
การพัฒนานิสยั ในการประพฤติอย่างมี
 คุณธรรม จริยธรรม
 และด้ วยความรับผิดชอบทันงในส่วนตนและส่วนรวม
 ความสามารถในการปรับวิถีชีวิตในความขัดแย้ งทางค่านิยม

การปฏิบัติตนตามศีลธรรม ทันงในเรื่องส่วนตัวและสังคม
2. ด้านความรู ้ (Knowledge)
ความสามารถใน
 การเข้ าใจ การนึกคิด และการนาเสนอข้ อมูล
 การวิเคราะห์และจาแนกข้ อเท็จจริงในหลักการ
ทฤษฎี กระบวนการต่างๆ
 การเรียนรู้ด้วยตนเองได้
3. ด้านทักษะทางปั ญญา (Cognitive Skills)
ความสามารถในการ
 วิเคราะห์สถานการณ์
 ใช้ ความรู้ ความเข้ าใจในแนวคิด หลักการ
ทฤษฎี และกระบวนการต่างๆ
 คิดวิเคราะห์และการแก้ ปัญหา เมื่อต้ องเผชิญ
กับสถานการณ์ใหม่ๆ ที่ไม่ได้ คาดคิดมาก่อน
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(Interpersonal Skills and Responsibility)
ความสามารถใน
 การทางานเป็ นกลุ่ม
 การแสดงถึงภาวะผู้นา
 ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม
 การวางแผนและรับผิดชอบ ในการเรียนรู้ของ
ตนเอง
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร
และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
(Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ความสามารถใน
 การวิเคราะห์เชิงตัวเลข
 การใช้ เทคนิคทางคณิตศาสตร์และสถิติ
 การสื่อสารทันงการพูด การเขียน
 การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. ด้านทักษะพิสยั (Domain of Psychomotor Skill)
สาขาวิชาที่ต้องการทักษะทางกายภาพสูง ต้ องเพิ่มการเรียนรู้
เช่น
การเต้ นรา ดนตรี การวาดภาพ การแกะสลัก
พลศึกษา การแพทย์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์
มคอ.2 มาตรฐานคุณวุฒิกบั รายละเอียดของหลักสูตร


จัดทาโดยหลักสูตร
ประกอบด้ วย 8 หมวด
1 ข้ อมูลทั่วไป
2 ข้ อมูลเฉพาะหลักสูตร
3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้ างหลักสูตร
4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนิสติ
6 การพัฒนาคณาจารย์
7 การประกันคุณภาพหลักสูตร
8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และ
โครงสร้างหลักสูตร

คณะต้ องดาเนินการปรับปรุงหลักสูตรโดยมีโครงสร้ างหลักสูตร
สอดคล้ องกับ มคอ 1
 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า … หน่วยกิต
โดยมีสดั ส่วนจานวนหน่วยกิต ของแต่ละหมวดวิชา ดังนีน
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า …. หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต
หมวดที่4: ผลการเรียนรู ้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล

การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิ สติ
 การพัฒนาผลการเรียนรูใ้ นแต่ละด้าน
 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู จ้ าก
หลักสูตรสูร่ ายวิชา (curriculum mapping)
หมวดที่4: ผลการเรียนรู ้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิ สติ
คุณลักษณะพิเศษ
มีศักยภาพในการสื่อสาร
กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
จัดรายวิชาสัมมนาเป็ นวิชาบังคับไว้ ใน
หลักสูตร เพื่อให้ นิสติ ได้ มีโอกาสพูดสื่อสาร
ให้ อาจารย์ และนิสติ ด้ วนกันเองเข้ าใจ
และประเมินผลโดยผู้เข้ าฟัง
หมวดที่4: ผลการเรียนรู ้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
ผลการเรียนรูใ้ นแต่ละด้าน
หลักสูตรต้องแปลงผลการเรียนรูจ้ าก มคอ. 1
เพิ่ม กลยุทธ์และวิธีประเมินผล
ผลการเรียนรู ้ ของ สาขาแพทยศาสตร์
1. ด้ านคุณธรรม จริยธรรม = 8
2. ด้ านความรู้ = 10
3. ด้ านทักษะทางปัญญา = 10
4. ความด้ านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ = 4
5. ด้ านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
= 10
6. ด้ านทักษะพิสยั (สาหรับสาขา/สาขาวิชาที่เน้ นทักษะทางปฏิบตั ิ) = 4
หมวดที่4: ผลการเรียนรู ้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
ผลการเรี ยนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
1. มีความรับผิดชอบในการเรี ยน
(ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา ถูกกาลเทศะ
ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน เข้ ากับผู้อื่นได้ )
2. มีจริยธรรมในการทางานร่วมกับ
ผู้อื่น (เคารพสิทธิและรับฟั งความ
คิดเห็นของผู้อื่นและทางานร่ วมกับ
ผู้อื่นได้ )
3. มีจริยธรรมในการวิจยั
กลยุทธ์การสอน
กลยุทธ์การประเมินผลการเรี ยนรู้
หมวดที่4: ผลการเรียนรู ้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
ผลการเรี ยนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
กลยุทธ์การสอน
กลยุทธ์การประเมินผลการเรี ยนรู้
1. มีความรับผิดชอบในการเรี ยน
1. มีการสอนสอดแทรกในรายวิชา 1. สังเกตจากพฤติกรรมการ
(ซื่อสัตย์ ตรงต่อเวลา ถูกกาลเทศะ
ต่างๆ รวมทั ้งรายวิชาสัมมนา ที่
แสดงออกและการแสดง
ปลูกฝั งหลักคุณธรรมจริยธรรม
ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน เข้ ากับผู้อื่นได้ )
ความคิดเห็น
2. มีจริยธรรมในการทางานร่วมกับ
2. ประเมินจากความรับผิดชอบ
ให้ แก่นิสติ
ผู้อื่น (เคารพสิทธิและรับฟั งความ 2. มอบหมายงานให้ ทาเป็ นกลุ่ม
ในหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย
คิดเห็นของผู้อื่นและทางานร่ วมกับ
และเสริมประสบการณ์จากการ
หรื อสอบถามจากเพื่อน
ผู้อื่นได้ )
ทาวิจยั ในกลุม่ วิจยั เดียวกัน
ร่วมงาน
3. มีการสอนจริยธรรมในการวิจยั 3. การแสดงความคิดเห็นในการ
3. มีจริยธรรมในการวิจยั
ในรายวิชา bioethics,
ตอบคาถาม พฤติกรรมการ
research and methodology
แสดงออกขณะทางานวิจยั
และเรี ยนรู้จากกรณีศกึ ษาจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจ้ ากหลักสูตรสู่รายวิชา
รายวิชา
1.คุณธรรม
จริยธรรม
1
2
3
2.ความรู้
1
3.ทักษะทาง
4.ทักษะ
5.ทักษะการ
ความสัมพันธ์ วิเคราะห์ เชิงตัวเลข
ปั ญญา
ระหว่ าง
การสื่อสาร และ
บุคคลและ การใช้ เทคโนโลยี
ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 4
2
3
4
● ○ ○ ● ●
●
○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○
● ● ○ ● ●
●
○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○
พศก 502 วิธีวิทยาวิจยั และชีวสถิติ
● ● ● ● ●
●
○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ● ● ● ●
ชวพ 501 ชีวภาพการแพทย์ 1
● ○ ○ ● ●
●
○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○
ชวพ 502 ชีวภาพการแพทย์ 2
● ○ ○ ● ●
●
○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○
ชวพ 671 สัมมนาทางชีวภาพการแพทย์ 1
● ● ● ● ●
●
● ● ● ● ● ○ ● ● ● ● ●
ชวพ 672 สัมมนาทางชีวภาพการแพทย์ 2
● ● ● ● ●
●
● ● ● ● ● ○ ● ● ● ● ●
หมวดวิชาแกน กาหนดให้ เรียน 12 หน่ วยกิต
พศก 501 ชีววิทยาของเซลล์และโมเลกุล
พศก 511 เครื่ องมือและเทคนิคในการวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ
มคอ.ใด ใครทา ทาเมือ่ ใด
มคอ.1 มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวิชา
 มคอ.2 มาตรฐานคุณวุฒกิ บั รายละเอียดของหลักสูตร
 มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา
หลักสูตร
ก่อนเปิ ดสอนโดยผูร้ บั ผิดชอบรายวิชา
 มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
 มคอ.5 รายงานผลการดาเนิ นการของรายวิชา
30 วันหลังสิ้นสุดภาคการศึกษา
โดยผูร้ บั ผิดชอบรายวิชา
 มคอ.6 รายงานผลการดาเนิ นการของประสบการณ์ภาคสนาม
 มคอ.7 รายงานผลการดาเนิ นการของหลักสูตร 60 วันหลังสิ้นสุดปี การศึกษา
โดยหลักสูตร
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification)





ข้ อมูลเกี่ยวกับแนวทางการ บริหารจัดการของแต่ละรายวิชาเพื่อให้ การจัดการเรียน
การสอนสอดคล้ องและเป็ นไปตามที่วางแผนไว้ ในรายละเอียดของหลักสูตร
รายวิชาจะกาหนดเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ รายละเอียดของเนืนอหาความรู้ในรายวิชา ไว้
อย่างชัดเจน
แนวทางการปลูกฝังทักษะต่าง ๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่น ๆ ที่นักศึกษาจะได้ รับการ
พัฒนาให้ ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา
มีการกาหนด รายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาที่ใช้ ในการเรียน วิธกี ารเรียนการสอน
การวัดและประเมินผลในรายวิชา ตลอดจนหนังสือหรือสื่อทางวิชาการอื่น ๆ ที่
จาเป็ นสาหรับการเรียนรู้
นอกจากนีนยังกาหนด ยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชาและกระบวนการปรับปรุง
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification)
หมวดที่ 1
ข้ อมูลทั่วไป
หมวดที่ 2
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
หมวดที่ 3
ลักษณะและการดาเนินการ
หมวดที่ 4
การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
หมวดที่ 5
แผนการสอนและการประเมินผล
หมวดที่ 6
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
หมวดที่ 7
การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
(Field Experience Specification)




ข้ อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการในรายวิชาหรือกิจกรรมที่นักศึกษาจะต้ อง
ออกฝึ กงาน ออกฝึ กภาคสนาม หรือสหกิจศึกษา ซึ่งจะต้ องวางแผนให้ สอดคล้ อง
และเป็ นไปตามที่กาหนดไว้ ในรายละเอียดของหลักสูตร
กาหนด วัตถุประสงค์ รายละเอียดของการดาเนินการ ของกิจกรรมนันนๆ ไว้ อย่าง
ชัดเจน
ความรู้ ความเข้ าใจที่นักศึกษาจะได้ รับจากการออกฝึ ก มีการกาหนดกระบวนการ
หรือวิธกี ารในการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ที่นักศึกษาจะได้ รับ
การพัฒนาให้ ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมาย
เกณฑ์การวัดและประเมินผลนักศึกษา และการประเมินการดาเนินการตาม
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 1
ข้ อมูลทั่วไป
หมวดที่ 2
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
หมวดที่ 3
ลักษณะและการดาเนินการ
หมวดที่ 4
การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
หมวดที่ 5
การวางแผนและการเตรียมการ
หมวดที่ 6
หมวดที่ 7
การประเมินนิสติ
การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของการฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
(Course Report)






รายงานผล การจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผ้ สู อนแต่ละรายวิชาเมื่อสินนภาคเรียน
เกี่ยวกับภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนในวิชานันนๆ
รายงานการดาเนินการสอนว่าครอบคลุมและเป็ นไปตามแผนที่วางไว้ ในรายละเอียดของ
รายวิชาหรือไม่ หากไม่เป็ นไปตามแผนที่วางไว้ ต้ องให้ เหตุผลและข้ อเสนอแนะ ในการ
ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของรายวิชาดังกล่าวในครันงต่อไป
รายงานผลการเรียนของนักศึกษา จานวนนักศึกษาตันงแต่เริ่มเรียนจนสินนสุด
ปัญหาในด้ านการบริหารจัดการและสิ่งอานวยความสะดวก
วิเคราะห์ผลการประเมินรายวิชาของนักศึกษา/หัวหน้ าภาค/หรือผู้ประเมินภายนอก
สารวจความคิดเห็นของผู้ใช้ บณ
ั ฑิต การวางแผนและให้ ข้อเสนอแนะ ต่อผู้ประสานงาน
หลักสูตรเพื่อปรับปรุงและพัฒนารายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (Course Report)
หมวดที่ 1
หมวดที่ 2
หมวดที่ 3
หมวดที่ 4
หมวดที่ 5
หมวดที่ 6
ข้ อมูลทั่วไป
การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน
สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ
การประเมินรายวิชา
แผนการปรับปรุง
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์
ภาคสนาม (Field Experience Report)




รายงานผลการฝึ กงาน ออกฝึ กภาคสนาม หรือ สหกิจศึกษา ว่าได้
บรรลุผลการเรียนตามแผนที่วางไว้ ในรายละเอียดของประสบการณ์
ภาคสนามหรือไม่
หากไม่เป็ นไปตามแผนต้ องให้ เหตุผลและข้ อเสนอแนะในการปรับปรุง
การฝึ กงาน ออกฝึ กภาคสนาม หรือ สหกิจศึกษา ในครันงต่อไป
รายงานนีนครอบคลุมถึงการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามตันงแต่เริ่มจนสินนสุด
ปัญหาด้ านการบริหาร จัดการ และสิ่งอานวยความสะดวก
การวิเคราะห์ผลการประเมินการฝึ กของนักศึกษา/อาจารย์ผ้ ูรับผิดชอบ/
พนักงานพี่เลีนยง
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์
หมวดที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป
หมวดที่ 2 การดาเนินการที่ต่างไปจากแผนการฝึ กประสบการณ์
ภาคสนาม
หมวดที่ 3 ผลการดาเนินการ
หมวดที่ 4 ปัญหา และผลกระทบด้ านการบริหาร
หมวดที่ 5 การประเมินการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
มคอ. 7 รายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร
(Programme Report)



การรายงานผลประจาปี โดยผู้ประสานงานหลักสูตรหรือผู้รับผิดชอบหลักสูตร
เกี่ยวกับผลการบริหารจัดการหลักสูตร เช่น
ข้ อมูลทางสถิติของนักศึกษาที่เรียนในหลักสูตร สภาพแวดล้ อมภายในและภายนอก
สถาบันที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร สรุปภาพรวมของรายงานผลของรายวิชาใน
หลักสูตร ประสิทธิภาพของการสอนในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้ าน การ
เทียบเคียงผลการดาเนินการกับมาตรฐานอื่นๆที่มี สรุปผลการประเมินหลักสูตรจาก
ความเห็นของผู้สาเร็จการศึกษา ผู้ใช้ บัณฑิต ตลอดจนข้ อเสนอในการวางแผนและ
พัฒนา รวมทันงแผนปฏิบัติการในการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้ อง
การรายงานผลนีนจะส่งไปยังหัวหน้ าภาควิชา/คณบดี และใช้ เป็ นข้ อมูลในการศึกษา
ด้ วยตนเองเพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรเป็ นระยะๆ และเป็ นข้ อมูลในการ
รับรองหลักสูตรจากผู้ประเมินภายนอกได้ ด้วย
มคอ. 7 รายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร
หมวดที่ 1
หมวดที่ 2
หมวดที่ 3
หมวดที่ 4
หมวดที่ 5
หมวดที่ 6
หมวดที่ 7
หมวดที่ 8
ข้ อมูลทั่วไป
ข้ อมูลเชิงสถิติ
การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร
ข้ อมูลสรุปรายวิชาของหลักสูตร
การบริหารหลักสูตร
สรุปประเมินหลักสูตร
คุณภาพของการสอน
ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพของหลักสูตรจาก
ผู้ประเมินอิสระ
หมวดที่ 9 แผนการดาเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร

ในบรรดา มคอ ทันง 7
 มคอ.3/4/5/6 ที่อาจารย์ผ้ ูรับผิดชอบรายวิชาทุกคนต้ องจัดทา และ
จัดทาหลายรอบ เพราะต้ องมีทุกวิชาในทุกภาคเรียน และต้ องประเมิน
แล้ วปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
 ถ้ าอาจารย์สอน 3 วิชา ก็ต้องทา มคอ.3 จานวน 3 วิชา โดยถ้ าปี
การศึกษาหนึ่งสอนสองครันงก็ต้องมี 6 ชุด
ทาไมต้องทา มคอ. ไม่ทาได้ไหม

ตัวบ่งชี้ผลการดาเนิ นงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษา
 หลักสูตรทุกระดับคุณวุฒต
ิ อ้ งมีผลการดาเนิ นการที่บรรลุเป้ าหมาย
ตัวบ่งชี้ทง้ั หมดอยู่ในเกณฑ์ดี จึงจะได้รบั การเผยแพร่หลักสูตรที่ได้
มาตรฐานตามกรอบคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ตัวบ่งชี้ ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร
1. มีระบบและกลไกการเปิ ดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตรตาม
แนวทางปฏิบตั ทิ ่กี าหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ
ดาเนิ นการตามระบบที่กาหนด
2. มีระบบและกลไกการปิ ดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบตั ทิ ่กี าหนด
โดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนิ นการตามระบบที่
กาหนด
ตัวบ่งชี้ ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร
3.
ทุกหลักสูตรมีการดาเนิ นงานให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (การ
ดาเนิ นงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง ต้องมี
การประเมินผลตาม “ตัวบ่งชี้ผลการดาเนิ นงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิ
สาขา/สาขาวิชา เพือ่ การประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน” กรณี ท่ี
หลักสูตรใดยังไม่มีประกาศมาตรฐานคุณวุฒสิ าขาหรือสาขาวิชา ให้ประเมินตาม
ตัวบ่งชี้กลางที่กาหนดในภาคผนวก ก) สาหรับหลักสูตรสาขาวิชาชีพต้องได้รบั
การรับรองหลักสูตรจากสภาหรือองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องด้วย
ตัวบ่งชี้ ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร
4.
5.
มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนิ นการได้ครบถ้วนทัง้ ข้อ 1 ข้อ 2
และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตร
อย่างน้อยตามกรอบเวลาที่กาหนดในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ กรณี หลักสูตรที่
ดาเนิ นงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้
การดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรกและอย่างน้อยร้อย
ละ 80 ของตัวบ่งชี้ท่กี าหนดในแต่ละปี ทุกหลักสูตร
มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนิ นการได้ครบถ้วนทัง้ ข้อ 1 ข้อ 2
และข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตาม
ผลการประเมินในข้อ 4 กรณี หลักสูตรที่ดาเนิ นงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้การดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3
ผ่านเกณฑ์การประเมินครบ ทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร
เกณฑ์การประเมิน
1. เกณฑ์ทวั่ ไป
คะแนน 1
มีการดาเนิ นการ 1
ข้อ
คะแนน 2
มีการดาเนิ นการ 2
ข้อ
คะแนน 3
มีการดาเนิ นการ 3
ข้อ
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดาเนิ นการ 4
ข้อ
มีการดาเนิ นการ 5
ข้อ
2. เกณฑ์เฉพาะกลุ่ม ค1 ค2 และ ง
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
มีการ
ดาเนิ นการ 1
ข้อ
มีการดาเนิ นการ
2 ข้อ
มีการดาเนิ นการ
3 ข้อ
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดาเนิ นการ มีการดาเนิ นการครบ 5 ข้อตาม
4 ข้อ
เกณฑ์ทวั ่ ไป และครบถ้วนตาม
เกณฑ์มาตรฐานเพิม่ เติมเฉพาะกลุม่
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนิ นงาน (Key
Performance Indicators)
ตัวบ่ งชีผ้ ลการดาเนินงาน
(1) อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีสว่ นร่วมในการ
ประชุมเพือ่ วางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนิ นงานหลักสูตร
(2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือมาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/
สาขาวิชา (ถ้ามี)
(3) มีรายละเอียดของรายวิชาและรายละเอียดของประสบการณ์
ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และมคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิ ด
สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
255..
255..
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนิ นงาน (Key
Performance Indicators)
ตัวบ่ งชีผ้ ลการดาเนินงาน
255..
(4) จัดทารายงานผลการดาเนิ นการของรายวิชาและรายงานผลการ
ดาเนิ นการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และมคอ.6
ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิ ดสอนให้ครบทุกรายวิชา
(5) จัดทารายงานผลการดาเนิ นการของหลักสูตรตามแบบ
มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปี การศึกษา
(6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรูท้ ่ี
กาหนดในมคอ.3 และมคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่
เปิ ดสอนในแต่ละปี การศึกษา
(7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอนหรือ
การประเมินผลการเรียนรู ้ จากผลการประเมินการดาเนิ นการที่รายงานใน
มคอ.7 ปี ท่แี ล้ว
255..
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนิ นงาน (Key
Performance Indicators)
ตัวบ่ งชีผ้ ลการดาเนินงาน
(8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รบั การปฐมนิ เทศหรือคาแนะนาด้าน
การจัดการเรียนการสอน
(9) อาจารย์ประจาทุกคนได้รบั การพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ
อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้
(10) จานวนบุคลากรสนับสนุ นการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รบั การ
พัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ50ต่อปี
(11) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี สดุ ท้าย/บัณฑิตใหม่ท่ีมีต่อ
คุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไม่นอ้ ยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
(12) ระดับความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ
ั ฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่เฉลี่ยไม่นอ้ ย
กว่า3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
255.. 255..
มคอ. เพือ่ มศว
คุณภาพของนิสิต