ทิศทาง TQF มทร พระนคร

Download Report

Transcript ทิศทาง TQF มทร พระนคร

นวัตกรรมการเรียนการสอนกับเกณฑ์ มาตรฐานหลักสู ตร
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษาและ
การประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรฐาน
อุดมศึ กษา
ของไทย
มาตรฐาน
อุดมศึ กษา
ของไทย
World
Ranking
(Advanced
Level)
สถาบันอุดมศึ กษาของไทย
สถาบันอุดมศึ กษา
กลุมใหม
่
่
มรภ.
มทร.
กลุมมี
่
ศักยภาพ
กลุม
่ World
Class
- สถาบัน
- คณะ
- หลักสูตร
อ้างอิง: เลขาธิการ กกอ. (ศ.พิเศษทศพร ศิ รส
ิ ั มพันธ)์ )
2
Criteri
a
(objectivity
)
Quick win
Program
(the winners)
สถาบันอุดมศึ กษาของไทย
กลุม
่
World
Class
- สถาบัน
กลุมมี
่
ศั กยภาพ
พัฒนาเพือ
่ เข้าสู่ - คณะ
อันดับโลก
- หลักสูตร
(World
Ranking:
QS100)
ต้องการการพัฒนาเพือ
่
ยกระดับ
สถาบันอุดมศึ กษา
มรภ.
มทร.
กลุมใหม
่
่
เน้น
การ
พัฒนา
ท้องถิน
่
และ
ชุมชน
เน้น
ดาน
้
เทคนิ
คและ
การ
ปฏิบต
ั ิ
Capacitybuilding
Program
พัฒนา
เพือ
่ ให้ได้
คุณภาพ
มาตรฐาน
ระดับประเท
ศ
3 เศษท
อ้างอิง: เลขาธิการ กกอ. (ศ.พิ
ทิศทางนโยบายด้ านการอุดมศึกษาของไทย

เน้นเรือ
่ งคุณภาพมาตรฐาน

ปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานหลักสูตร
eLearning
 International Programs / ASEAN
 เน้นความรวมมื
อระหวางสถาบั
นอุดมศึ กษาและ
่
่
ภาคอุตสาหกรรม

พัฒนาธรรมาภิบาลในการบริหารมหาวิทยาลัย
 ก้าวสู่ World Class University
4
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒
และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ กับ TQF
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐาน
การศึกษาปฐมวัย
สพฐ.
มาตรฐานที่ ๒ :
แนวการจัดการศึกษาจัดการเรียนรู้ ที่
มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็ นสาคัญ และการ
บริหารโดยใช้ สถานศึกษา
เป็ นฐาน
มาตรฐาน
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
สพฐ.
มาตรฐาน
การอาชีวศึกษา
สอศ.
มาตรฐานที่ ๓ :
แนวการสร้ างสังคมแห่ งการเรียนรู้ /
สังคมแห่ งความรู้ การสร้ างวิถกี าร
เรียนรู้และแหล่ งการเรียนรู้ให้
เข้ มแข็ง
มาตรฐานการอุดมศึกษา
สกอ.
ระดับนโยบาย
มาตรฐานที่ ๑ :
คุณลักษณะของคนไทยที่
พึงประสงค์ ท้งั ในฐานะพลเมือง
และพลโลก คนไทยเป็ นคนเก่ง
คนดี และมีความสุ ข
มาตรฐานการอุดมศึกษา
ระดับนโยบาย
มาตรฐานด้ านคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานด้ านการบริหาร
จัดการการอุดมศึกษา
มาตรฐานด้ านการสร้ างและ
พัฒนาสังคมฐานความรู้
และสังคมแห่ งการเรียนรู้
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)
มาตรฐานคุณวุฒิ สาขา/
สาขาวิชาที่ ๒
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/
สาขาวิชาที่ ๓
สกอ.
รายละเอียดของหลักสู ตร (Programme Specification)
ในแต่ ละสาขาวิชาของสถาบันฯต่ างๆ
ม/ส
ระดับการนาไปสู่การปฏิบตั ิ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/
สาขาวิชาที่ ๑
กรอบคุณวุฒแ
ิ หงชาติ
(National Qualifications
่
Framework: Thailand NQF)
* ความรู้
* ทักษะ
* คุณลักษณะที่พึงประสงค์
* ผลลัพธ์การเรี ยนรู้ตามระดับคุณวุฒิการศึกษา จากการประยุกต์ใช้ความรู้
ทักษะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
มาตรฐานผลการเรียนรู้ (Domains of Learning)
ของคุณวุฒิทุกระดับในประเทศไทย
1. ด้ านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Morals)
2. ด้ านความรู้ (Knowledge)
3. ด้ านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills)
4. ด้ านทักษะความสั มพันธ์ ระหว่ างบุคคลและความรับผิดชอบ
(Interpersonal Skills and Responsibility)
5. ด้ านทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่ อสารและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
บางสาขาวิชาอาจเพิม่ มาตรฐานผลการเรียนรู้ ทางด้ านทักษะพิสัย (Domain of
Psychomotor Skills) หรื อบางสาขาวิชาต้องการให้บณ
ั ฑิตของสาขาวิชามีมาตรฐาน
ผลการเรี ยนรู ้มากกว่าหรื อพิเศษกว่าบัณฑิตในสาขาวิชาอื่นก็สามารถกาหนดเพิ่มเติมได้
8
การปฏิบัติตามแบบ มคอ.1-7
มคอ.1
มคอ.2
มคอ.3
มคอ.4
มคอ.5
มคอ.6
มคอ.7
-อาจารย์
ผูส้ อน
-จัดทาเมื่อ
สอบเสร็ จ
สิ้ นในแต่
ละภาค
-อาจารย์
ผูด้ ูแลการ
ฝึ กงาน/
สหกิจศึกษา
-จัดทาเมื่อ
เสร็ จสิ้ น
การฝึ กภาค
สนาม
-อาจารย์
ผูร้ ับผิดชอบ
หลักสูตร
-จัดทาเมื่อ
สิ้ นปี การศึกษา
/สิ้ นภาค
การศึกษา
ผู้ดาเนินการ
สกอ.ร่ วมกับ
คณาจารย์
ผูท้ รงคุณวุฒิ
ในสาขา
ผูใ้ ช้บณ
ั ฑิต
และผูแ้ ทน
องค์กร
วิชาชีพ
(ถ้ามี)
-คณะกรรมการ
พัฒนาหลักสู ตร
-อาจารย์ ผู้รับผิด
ชอบหลักสู ตร
-จัดทาก่ อนขอ
อนุมัตติ ่ อสภา
สถาบันอุดมศึกษา
-เป็ น มคอ. เพียง
ฉบับเดียวที่ส่ง
สกอ.
-อาจารย์
ผูส้ อน
-จัดทาก่อน
เปิ ดสอน
-อาจารย์
ผูด้ ูแลการฝึ ก
งาน/สหกิจ
ศึกษา
-จัดทาก่อน
เปิ ดสอน
9
สัญญาว่ าจะทาอะไร
Field
Experience
Field
มคอ.4 FieldExperience
Experience Spec
Course Specification
Course Specification
มคอ.3 Course Specification
มคอ.2 Program Specification
ทาแล้ วตามสัญญาหรื อไม่
Field Experience Report
Field Experience Repport
มคอ.6 Field Experience Report
Course Report
Course Report
มคอ. 5 Course Report
มคอ. 7 Program Report
10
ตัวบ่ งชี้การประกันคุณภาพ
ตัวบ่ งชี้ที่ 2.1 : ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสู ตร
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
คาอธิบายตัวบ่ งชี้ :
สถาบันอุดมศึกษามีหน้าที่พฒั นาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
ปรัชญา ปณิ ธาน วิสยั ทัศน์ พันธกิจและความพร้อมของสถาบัน
ตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการทางด้านวิชาการและวิชาชีพของ
สังคม มีการประเมินหลักสูตรอย่างสม่าเสมอตามหลักเกณฑ์และตัว
บ่งชี้ของการประกันคุณภาพหลักสูตร มีการวางระบบและกลไก
บริ หารหลักสู ตรอย่างมีประสิ ทธิภาพและมีการปรับปรุ งหลักสูตรให้
ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
เกณฑ์ มาตรฐานทัว่ ไป
1. มีระบบและกลไกการเปิ ดหลักสู ตรใหม่และปรับปรุ งหลักสู ตรตามแนวทาง
ปฏิบตั ิที่กาหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่กาหนด
2. มีระบบและกลไกการปิ ดหลักสู ตรตามแนวทางปฏิบตั ิที่กาหนดโดย
คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดาเนินการตามระบบที่กาหนด
3. ทุกหลักสู ตรมีการดาเนินงานให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตร
ระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (การดาเนินงาน
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง ต้องมีการประเมินผลตาม
“ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรื อสาขาวิชา เพื่อการ
ประกันคุณภาพหลักสู ตรและการเรี ยนการสอน” กรณี ที่หลักสู ตรใดยังไม่มปี ระกาศ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรื อสาขาวิชา ให้ประเมินตามตัวบ่งชี้กลางที่กาหนดในภาคผนวก
ก) สาหรับหลักสู ตรสาขาวิชาชีพต้องได้รับการรับรองหลักสู ตรจากสภาหรื อองค์กร
วิชาชีพที่เกี่ยวข้องด้วย
4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนิ นการได้ครบถ้วน
ทั้งข้อ 1 ข้อ 2 และ ข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการประเมินหลักสูตร
ทุกหลักสู ตรอย่างน้อยตามกรอบเวลาที่กาหนดในเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรฯ กรณี
หลักสู ตรที่ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุม
กากับให้การดาเนิ นงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ข้อแรกและอย่างน้อย
ร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ที่กาหนดในแต่ละปี ทุกหลักสู ตร
5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกากับให้มีการดาเนิ นการได้ครบถ้วนทั้งข้อ
1 ข้อ 2 และ ข้อ 3 ข้างต้นตลอดเวลาที่จดั การศึกษา และมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสู ตร
ตามผลการประเมินในข้อ 4 กรณี หลักสูตรที่ดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมกากับให้การดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ 3 ผ่าน
เกณฑ์การประเมินครบ ทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสู ตร
เกณฑ์ การประเมิน :
1. เกณฑ์ทวั่ ไป
2. เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค 1 ค 2 และ ง
คะแนน 1
คะแนน 2
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
1 ข้อตามเกณฑ์ 2 ข้อตามเกณฑ์
ทัว่ ไป
ทัว่ ไป
คะแนน 3
มีการดาเนินการ
3 ข้อตามเกณฑ์
ทัว่ ไป
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
4 หรื อ 5 ข้อ
ครบ 5 ข้อ ตาม
ตามเกณฑ์ทวั่ ไป เกณฑ์ทวั่ ไป และ
ครบถ้วนตาม
เกณฑ์มาตรฐาน
เพิ่มเติมเฉพาะ
กลุ่ม
หลักฐานแสดงการปฏิบัติตามตัวบ่ งชี้ของ TQF
ตัวบ่งชี้
*ตัวอย่ างหลักฐานที่ควรมี
1. อ า จ า ร ย ์ ป ร ะ จ า - รายงานการประชุมคณาจารย์
หลัก สู ต รอย่างน้ อยร้ อยละ ประจาหลักสูตรทีเ่ ข้าร่วมอย่าง
80 มีส่วนรวมในการประชุ
ม น้อยร้อยละ 80 โดยมีระเบียบ
่
เ พื่ อ ว า ง แ ผ น ติ ด ต า ม วาระเกีย่ วกับการวางแผน การ
และทบทวนการดาเนินงาน การติดตาม และการดาเนินงาน
หลักสูตร
ดาเนินงานหลักสูตร
2 . มี ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง - แสดงเอกสารหลักสูตร มคอ.2
ห ลั ก สู ต ร ต า ม แ บ บ มคอ.2 ทีไ่ ด้รบ
ั การประทับตรา
ม ค อ . 2 ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ รับทราบจาก สกอ. หรือ
ก ร อ บ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ - รายงานการประชุมสภา
หลักฐานแสดงการปฏิบัติตามตัวบ่ งชี้ของ TQF
ตัวบ่งชี้
*ตัวอย่ างหลักฐานที่ควรมี
3. มีรายละเอียดของรายวิชา - มีการจัดทา มคอ.3 และ มคอ.4
แ ล ะ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง มคอ.4 (ถ้ามี) ทุกวิชาก่อนการ
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ภ า ค ส น า ม เปิ ดสอนในภาคเรียน (แสดง
( ถ้ า มี ) ต า ม แ บ บ ม ค อ . 3 หลักฐานเป็ นรูปเล่มเอกสาร หรือ
และ มคอ.4 อยางน
หรือ FILE)
่
้ อยกอน
่
การเปิ ดสอนในแต่ ละภาค
ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห้ ค ร บ ทุ ก
รายวิชา
4. จั ด ท ารายงานผลการ - มีแบบรายงานตาม มคอ.5 และ
ด า เ นิ น ก า ร ข อ ง ร า ย วิ ช า และมคอ.6 (ถ้ามี) ของวิชาทีเ่ ปิ ด
หลักฐานแสดงการปฏิบัติตามตัวบ่ งชี้ของ TQF
ตัวบ่งชี้
*ตัวอย่ างหลักฐานที่ควรมี
5 . จั ด ท า ร า ย ง า น ผ ล ก า ร -มีการจัดทารายงานผลการ
ด า เ นิ น ก า ร ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ดาเนินการของหลักสูตร (มคอ.7)
ตามแบบ มคอ.7 ภายใน (มคอ.7) ภายใน 60 วันหลัง
60 วันหลังสิ้ นสุดปี การศึ กษา สิน
้ สุดปีการศึกษา (แสดง
หลักฐานเป็ นรูปเล่มเอกสาร หรือ
หรือ File electronic)
6. มีการทวนสอบผลสั มฤทธิ ์ - มีหลักฐานของรายวิชาทีไ่ ด้รบ
ั
ของนักศึ กษาตามมาตรฐาน การทวนสอบผลสัมฤทธิข
์ อง
ผลการเรี ย นรู้ ที่ก าหนดใน นักศึกษาตามมาตรฐานผลการ
มคอ.3 และมคอ.4 (ถ้ามี) เรียนรู้ จานวนอย่างน้อยร้อยละ
หลักฐานแสดงการปฏิบัติตามตัวบ่ งชี้ของ TQF
ตัวบ่งชี้
*ตัวอย่ างหลักฐานที่ควรมี
7. มี ก ารพัฒ นา/ปรับ ปรุ ง -แสดงข้อมูลทีม่ ก
ี ารนาผลการ
การจัด การเรี ย นการสอน ประเมินการดาเนินงานทีร่ ายงาน
ก ล ยุ ท ธ ์ ก า ร ส อ น ห รื อ รายงานใน มคอ.7 ปี ทแ
ี ่ ล้ว มาใช้
การประเมิน ผลการเรีย นรู้ มาใช้ในการพัฒนา/ปรับปรุงการ
จ า ก ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ก า ร การจัดการเรียนการสอน กล
ด า เนิ นงา นที่ ร า ยง า นใ น ยุทธ์การสอน และการ
มคอ.7 ปี ทแ
ี่ ลว
ประเมินผล
้
8. อาจารยใหม
่ (ถ้ามี) ทุก - ถ้ามีคณาจารย์ใหม่ ให้แสดง
์
คน ได้ รับ การปฐมนิ เ ทศ รายชือ่ คณาจารย์ใหม่ทุกคนที ่
หลักฐานแสดงการปฏิบัติตามตัวบ่ งชี้ของ TQF
ตัวบ่งชี้
*ตัวอย่ างหลักฐานที่ควรมี
9. อาจารย ์ประจ าทุ ก คน - หลักฐานการจัดให้คณาจารย์
ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า ท า ง ประจาทุกคนเข้ารับการพัฒนา
วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ
อยางน
อย่างน้อยปีละหนึง่ ครัง้
่
้ อยปี ละหนึ่งครัง้
10. จ า น ว น บุ ค ล า ก ร - ถ้ามีบุคลากรสนับสนุ นการ
สนับสนุ นการเรียนการสอน เรียนการสอน ให้แสดงรายชือ่
( ถ้ า มี ) ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า รายชือ่ อย่างน้อยร้อยละ 50 ของ
วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ของบุคลากรเหล่านัน
้ ทีเ่ ข้ารับ
ไมน
่ ้ อยกวาร
่ ้อยละ 50 ตอ
่ การพัฒนาวิชาการ และ/หรือ
หลักฐานแสดงการปฏิบัติตามตัวบ่ งชี้ของ TQF
ตัวบ่งชี้
*ตัวอย่ างหลักฐานที่ควรมี
11. ระดับ ความพึ ง พอใจ - รายงานผลการสารวจระดับ
ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ปี สุ ด ท้ า ย / ความพึงพอใจของนักศึกษาปี
บัณ ฑิต ใหม่ที่ม ีต่อคุ ณ ภาพ สุดท้าย/บัณฑิตใหม่ทม
ี ่ ตี ่อ
ห ลั ก สู ต ร เ ฉ ลี่ ย ไ ม่ น้ อ ย คุณภาพหลักสูตร มีคา่ เฉลีย่ ไม่
กว่า 3.5 จากคะแนนเต็ ม ไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม
5.0
เต็ม 5.0
12. ระดับ ความพึ ง พอใจ - รายงานผลการสารวจระดับ
ข อ ง ผู้ ใ ช้ บั ณ ฑิ ต ที่ มี ต่ อ ความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ
ั ฑิตที ่
บัณ ฑิต ใหม่ เฉลีย
่ ไม่น้อย ทีม่ ต
ี ่อบัณฑิตใหม่ มีคา่ เฉลีย่ ไม่
กว่ า3.5 จากคะแนนเต็ ม ไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม
หลักฐานแสดงการปฏิบัติตามตัวบ่ งชี้ของ TQF
ตัวบ่งชี้
13. ตัวบ่งชี้อ น
ื่ ๆ ทีเ่ ป็ นไป
ตามมาตรฐานคุณวุฒส
ิ าขา
(มคอ.1) หรือ ที่ห ลัก สู ต ร
ข อ ง ส ถ า บั น ฯ ก า ห น ด
เพิ่ม เติมอย่างอิส ระ (ระบุ )
...
*ตัวอย่ างหลักฐานที่ควรมี
แสดงหลักฐานทีไ่ ด้ดาเนินการ
ตามตัวบ่งชี้ทรี ่ ะบุ
การทวนสอบผลสั มฤทธิ์ของนักศึกษา
การทวนสอบ หมายถึง การดาเนินการหาหลักฐานด้วยวิธีการใด ๆ เช่น การสังเกต
การตรวจสอบ การประเมิน การสัมภาษณ์ ฯลฯ เพื่อยืนยันพิสูจน์วา่ สิ่ งที่กาหนด
ขึ้นนั้นได้มีการดาเนิ นการและบรรลุเป้ าหมายตามวัตถุประสงค์ การทวนสอบ
มาตรฐานผลการเรี ยนรู ้ของนักศึกษาเป็ นส่ วนหนึ่ งของความรับผิดชอบในระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษา
กลยุทธ์ที่ใช้โดยปกติทวั่ ไปของสถาบันอุดมศึกษาในการทวนสอบมาตรฐานผลการ
เรี ยนรู ้ของนักศึกษา ได้แก่ การตรวจสอบการให้คะแนนจากกระดาษคาตอบข้อสอบ
ของนักศึกษาและงานที่รับมอบหมาย การประเมินหลักสูตรโดยนักศึกษาและผูส้ าเร็ จ
การศึกษา การประเมินภาควิชาและหลักสู ตรโดยบุคลากรภายนอก และการรายงาน
เกี่ยวกับทักษะของบัณฑิตโดยผูใ้ ช้บณ
ั ฑิต การทวนสอบมาตรฐานบางส่ วนอาจจะ
ดาเนินการโดยสถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ ที่มีความร่ วมมือทางการศึกษา
กลยุทธ์ ในการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
กลยุทธ์ที่ใช้โดยปกติทวั่ ไปของสถาบันอุดมศึกษาในการทวนสอบ
มาตรฐานผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา ได้แก่ การตรวจสอบการให้คะแนน
จากกระดาษคาตอบข้อสอบของนักศึกษาและงานที่รับมอบหมาย การ
ประเมินหลักสูตรโดยนักศึกษาและผูส้ าเร็ จการศึกษา การประเมิน
ภาควิชาและหลักสูตรโดยบุคลากรภายนอก และการรายงานเกี่ยวกับ
ทักษะของบัณฑิตโดยผูใ้ ช้บณ
ั ฑิต
การทวนสอบมาตรฐานบางส่ วนอาจจะดาเนินการโดย
สถาบันอุดมศึกษาอื่นๆ ที่มีความร่ วมมือทางการศึกษา
-ร่ าง- ตัวอย่ างการประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
ตัวบ่ งชีผ้ ลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) ของหลักสูตร
ชนิดของตัวบ่ งชี ้ : กระบวนการ เกณฑ์ มาตรฐาน : ระดับ
ดัชนีบ่งชีผ้ ลการดาเนินงาน*
ปี
การประเมิน
ตนเอง
255….*
*
มี
ไม่ มี
หลักฐาน
(1) อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้ อยร้ อยละ 80 มีสว่ นร่วมใน
การประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงาน
หลักสูตร
(2) มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้ องกับ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรื อมาตรฐานคุณวุฒิสาขา/
สาขาวิชา (ถ้ ามี)
(3)มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์
ภาคสนาม (ถ้ ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้ อยก่อน
การเปิ ดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ ครบทุกรายวิชา
(4)จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผล
การดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ ามี) ตามแบบ
มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ ้นสุดภาคการศึกษาที่
เปิ ดสอนให้ ครบทุกรายวิชา
(5) จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ
มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ ้นสุดปี การศึกษา
* ดัชนีบง่ ชี ้ผลการดาเนินงานให้ เป็ นไปตามที่ระบุในแต่ละหลักสูตร
**โปรดทาเครื่ องหมาย “X” ตามดัชนีบง่ ชี ้ที่ระบุในหลักสูตรของปี การศึกษาที่ประเมิน
การประเมิน
ของ
คณะกรรมการ
มี
ไม่ มี
ความคิดเห็นของ
คณะกรรมการ
การประกันคุณภาพ กับ มคอ.2
หมวด 7 การประกันคุณภาพหลักสู ตร
1. การบริ หารหลักสูตร
2. การบริ หารทรัพยากรการเรี ยนการสอน
3. การบริ หารคณาจารย์
4. การบริ หารบุคลากรสนับสนุนการเรี ยนการสอน
5. การสนับสนุนและให้คาแนะนานักศึกษา
6. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และหรื อความพึงพอใจของผูใ้ ช้บณ
ั ฑิต
7. ตัวบ่ งชี้ผลการดาเนินงานของหลักสู ตร (สอดคล้องกับ IQA และ EQA)
หมวด 8 การประเมินและปรับปรุ งการดาเนินการของหลักสู ตร
1.การประเมินประสิ ทธิผลของการสอน
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดของหลักสู ตร
4. การทบทวนผลการดาเนินงานและการวางแผนปรับปรุ ง
-ร่ าง- ตัวอย่ างกลไกการดาเนินการภายในสถาบันฯ จากกรณีศึกษาของ มศก.
มหาวิทยาลัยอาจใช้ แบบฟอร์ มอื่นๆ เพื่อยืนยันการดาเนินการของตนเอง
การประเมินผลการดาเนินงานตามที่วางแผนไว้ ในหมวดที่ 8 ข้ อ 3 ของรายละเอียดหลักสูตร (มคอ.2)
ประจาปี การศึกษา 255…..
วัน-เวลาที่ประเมิน..................................................................
สถานที่..................................................................................
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย…………………………………………………………………………………………………..
ภาษาอังกฤษ……………………………………………………………………………………………….
2. สถานภาพของหลักสูตร
หลักสูตร (ใหม่/ปรับปรุง) พ.ศ. ....................................
เริ่มเปิ ดสอนภาคการศึกษา..........................................ปี การศึกษา...................................................
3 รายชื่อคณะกรรมการประเมินหลักสูตร
รายชื่อ
1.
2.
3.
คุณวุฒิ
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
สถานที่ตดิ ต่ อ
กลไกของสถาบันอุดมศึกษากับการดาเนินการตาม TQF
1. สรางความรู
กการ/
้
้ ความเขาใจในหลั
้
วัตถุประสงคของ
TQF และนาไปใช้
์
ประโยชนในการจั
ดการเรียนการสอนให้
์
คุ้มคา่
2. สราง
Model ในการพัฒนาคุณภาพ
้
บัณฑิตของสถาบัน อุดมศึ กษาให้ชัดเจน
โดยวิเคราะหวิ
์ สัยทัศน์ พันธกิจ ทิศทาง
ของสถาบันฯ
ญกาลังใจและส่งเสริมนวัตกรรม
3. สรางขวั
้
การเรียนการสอนแบบใหมๆ่
กลไกของสถาบันอุดมศึกษากับการดาเนินการตาม TQF (ต่อ)
5. จัดระบบภายในสถาบันอุดมศึกษาโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
ส่ งเสริมและพัฒนากลยุทธ์ การสอนของคณาจารย์ การพัฒนากระบวนการเรียน
การสอน การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับรายละเอียดของ
หลักสู ตรทีพ่ ฒ
ั นาขึน้ มาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา
6. พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ พัฒนาระบบติดตามและประเมินการ
ดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา หรือปรับ
ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ ครอบคลุมการติดตามและ
ประเมินผลการดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ฯ หรือมาตรฐานคุณวุฒิ
สาขาวิชา
แบบ มคอ. ๓ เปรียบเทียบกับ มคอ. ๕ รายละเอียดของรายวิชา (ต่ อ)
หมวดที่ ๑ ข้ อมูลทัว่ ไป
หมวดที่ ๑ ข้ อมูลทัว่ ไป
หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
-
หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ
-
หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
-
หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล
หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุ งการดาเนินการ
รายวิชา
หมวด ๒ การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับ
แผนการสอน
หมวด ๓ สรุ ปผลการจัดการเรียนการสอนของ
รายวิชา
หมวด ๔ ปัญหาและผลกระทบของการดาเนินการ
หมวด ๕ การประเมินรายวิชา
หมวด ๖ แผนการปรับปรุง
หลักสูตรและการรายงานผลการดาเนินการ
มคอ.๒
หมวดที่ ๑ ข้อมูลทัว่ ไป
หมวดที่ ๒ ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ
และโครงสร้างหลักสูตร
หมวดที่ ๔ ผลการเรี ยนรู้ กลยุทธ์การสอน
และการประเมินผล
หมวดที่ ๕ หลักเกณฑ์ในการประเมินผล
นักศึกษา
หมวดที่ ๖ การพัฒนาคณาจารย์
หมวดที่ ๗ การประกันคุณภาพหลักสู ตร
หมวดที่ ๘ การประเมินและปรับปรุ งการ
ดาเนินการของหลักสูตร
มคอ.๗
หมวดที่ ๑ ข้อมูลทัว่ ไปของหลักสู ตร
หมวดที่ ๒ ข้อมูลเชิงสถิติของผลการ
ดาเนินการของหลักสู ตร
หมวดที่ ๓ การเปลี่ยนแปลงที่มี
ผลกระทบที่มีต่อหลักสู ตร
หมวดที่ ๔ ข้อมูลสรุ ปรายวิชาของ
หลักสูตร
หมวดที่ ๕ การบริ หารหลักสูตร
หมวดที่ ๖ สรุ ปการประเมินหลักสูตร
หมวดที่ ๗ คุณภาพของการสอน
หมวดที่ ๘ ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับคุณภาพหลักสู ตรจาก
ผูป้ ระเมินอิสระ
หมวดที่ ๙ แผนการดาเนินการเพื่อพัฒนา
หลักสูตร
นวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรม หมายถึง ความคิดและการกระทาใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน
หรื อการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมให้ดีข้ ึนและเมื่อนามาใช้งานก็ทา
ให้งานมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง สิ่ งที่ก่อให้เกิ ดประโยชน์ทางการศึกษา เป็ น
การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่หรื อปรับปรุ งสิ่ งเดิมเพื่อลดต้นทุนทางการศึกษา ลด
ระยะเวลา และปรับปรุ งวิธีปฏิบตั ิงานให้มีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ขึ้น
หลักสาคัญในการพิจารณาว่ าเป็ นนวัตกรรม (ชัยยงค์ พรหมวงศ์)
•เป็ นสิ่ งใหม่ท้ งั หมดหรื อบางส่ วน
•มี ก ารน าวิ ธี ก ารจัด ระบบมาใช้ โดยพิ จ ารณาองค์ป ระกอบทั้ง
ส่ วนข้อมูลที่ ใส่ เข้าไป กระบวนการ และผลลัพธ์ ให้เหมาะสม
ก่อนที่จะทาการเปลี่ยนแปลง
•มี การพิสูจน์ดว้ ยการวิจยั หรื ออยู่ระหว่างการวิจยั ว่าจะช่ วยให้
การดาเนินงานบางอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น
•ยังไม่เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบงานในปั จจุบนั หากกลายเป็ นส่ วน
หนึ่งของระบบงานที่ดาเนินอยูใ่ นขณะนี้ ไม่ถือว่าเป็ นนวัตกรรม
หลักสาคัญในการนานวัตกรรมเข้ ามาใช้ (กิดานันท์ มลิทอง)
•นวัตกรรมที่จะนามาใช้น้ นั มีจุดเด่นที่เห็นได้ชดั กว่าวัสดุ อุปกรณ์ หรื อ
วิธีการที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั มากน้อยเพียงใด
•นวัตกรรมนั้นมีความเหมาะสมหรื อไม่กบั ระบบหรื อสภาพที่เป็ นอยู่
•มีการวิจยั หรื อกรณี ศึกษาที่ยืนยันแน่นอนแล้วว่า สามารถนามาใช้ได้ดี
ในสภาวการณ์ที่คล้ายคลึงกันนี้
•นวัตกรรมนั้นมีความเกี่ยวข้องกับความต้องการของผูใ้ ช้อย่างจริ งจัง
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
ครอบคลุมนวัตกรรมการจัดการศึกษาประกอบด้วย
หลักสูตร
การเรี ยนการสอน
สื่ อและเทคโนโลยีทางการศึกษา
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การบริ หารการศึกษา
นวัตกรรมทางด้ านหลักสู ตร
เป็ นการใช้วิธีก ารใหม่ ๆ ในการพัฒนาหลักสู ตรให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการของบุคคลให้
มากขึ้น
นวัตกรรมทางด้ านการเรียนการสอน
เป็ นการใช้วิธีการใหม่ ๆ ในการพัฒนาวิธีสอนที่ตอบสนองการเรี ยน
รายบุคคล การสอนแบบผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง การเรี ยนแบบมี ส่วน
ร่ วม การเรี ยนรู้แบบแก้ปัญหา
นวัตกรรมทางด้ านสื่ อการเรียนการสอน
เกี่ ย วข้อ งกับ เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ แ ละเทคโนโลยี ส ารสนเทศ
เพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองทั้งแบบบุคคล กลุ่ม หรื อมวลชน
นวัตกรรมทางด้ านการวัดและประเมินผล
เป็ นการใช้เครื่ องมื อเพื่อการวัดผลและประเมินผล รวมทั้งการวิจยั
ทางการศึกษา ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
นวัตกรรมทางด้ านการบริหารจัดการ
เป็ นการใช้สารสนเทศในการบริ หารจัดการเพื่อการตัดสิ นใจของ
ผูบ้ ริ หารให้มีความทันสมัย และมีความเป็ นปัจจุบนั มากที่สุด
กระบวนการสร้ างนวัตกรรม
1. Conception
2. Self Assessment
3. Implementation
4. Improvement
1. Develop Ideas (Idea Generation)
2. Check compatibility with company objectives (Screening)
3. Check commercial and technical feasibility (Feasibility)
4. Implementation
การประเมินนวัตกรรมการศึกษา
ความมีประสิ ทธิภาพ (Efficiency) พิจารณาว่าผูเ้ รี ยนมีพฤติกรรมการ
เรี ยนรู้ตรงตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ภายหลังการใช้นวัตกรรมการสอน
ความมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล (Productivity) พิ จ ารณาจากนวัต กรรมช่ ว ยให้
ผูเ้ รี ยนบรรลุเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์การเรี ยนการสอน โดยผู้ เรี ยน
เกิดพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
ความประหยัด (Economy) เมื่อนานวัตกรรมไปใช้สอนแล้วเกิดความ
คุม้ ค่าการลงทุน แรงงาน เวลา ความคงทนถาวร
คุณลักษณะที่ดี นวัตกรรมมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เหมาะสม
กับวัย เนื้อหา สถานการณ์
จบ-ขอบคุณ