เอกสาร powerpoint - คณะ ทรัพยากร ชีวภาพ และ เทคโนโลยี

Download Report

Transcript เอกสาร powerpoint - คณะ ทรัพยากร ชีวภาพ และ เทคโนโลยี

“กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ: แนวคิด
นโยบาย และแนวปฏิบตั ิ ”
โดย
ดร.ณรงค์ฤทธ์ ิ วราภรณ์
คณะกรรมการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชาคอมพิวเตอร์
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วันที่ 11 สิงหาคม 2553
เอกสารโดยคณะทางานหลักสูตรนาร่อง มคอ.
1
กรอบมาตรคุณวุฒิ
ระดับอดุ มศึกษา
แห่ งชาติ (มคอ.)
บัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยงั่ ยืน
2
3
4
5
6
TQF มีไว้ทำไม
• สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรให้กบั ผูจ้ ้างงาน โรงเรียน
ผูป้ กครอง นักเรียน ฯลฯ
• สร้างความมีมาตรฐานและการเทียบเคียงกันระหว่างหลักสูตร
ทัง้ ในประเทศ และระหว่างประเทศ เป็ นการสร้างความสามารถ
ในการแข่งขัน และเอื้ออานวยต่อการเทียบโอนของนักศึกษา
และการหางานทาของบัณฑิต
• เป็ นแหล่งอ้างอิงสาหรับสถาบันการศึกษา ในการกาหนด
มาตรฐานและการประเมินผลสัมฤทธ์ ิ
7
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
(Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF : HEd)
หมายถึง กรอบที่แสดงระบบคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ของประเทศ ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ระดับ คุณ วุฒิ การแบ่ง สายวิ ช า ความ
เชื่อมโยงต่อเนื่ องจากคุณวุฒิระดับหนึ่ งไปสู่ระดับที่สงู ขึน้ มาตรฐานผล
การเรียนรู้ของแต่ ละระดับคุณวุฒิซึ่งเพิ่มสูงขึ้นตามระดับของคุณวุฒิ
ลัก ษณะของหลัก สู ต รในแต่ ล ะระดับ คุ ณ วุ ฒิ ปริ ม าณการเรี ย นรู้ ที่
สอดคล้องกับเวลาที่ ต้องใช้ การเปิดโอกาสให้เที ยบโอนผลการเรียนรู้
จากประสบการณ์ ซึ่ ง เป็ นการส่ ง เสริ มการเรี ย นรู้ต ลอดชี วิ ต รวมทัง้
ิ ท ธิ ผ ลการด าเนิ นงานตาม
ระบบและกลไกที่ ใ ห้ ค วามมันใจในประส
่
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของสถาบันอุดมศึกษา
ว่าสามารถผลิตบัณฑิตให้บรรลุคณ
ุ ภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู้
8
มคอ. บอกให้รวู้ ำ่ เรียนแล้วได้อะไร
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ด้านความรู้
บัณฑิตมีคณ
ุ ภาพ พัฒนาชาติยงยื
ั่ น
ด้านทักษะทางปัญญา
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ด้ า นทัก ษะการวิ เ คราะห์ เ ชิ งตัว เลขการสื่ อ สารและการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
10
มคอ. บอกให้รวู้ ำ่ เรียนแล้วได้อะไร
ระดับที่๔ ปริญญาโท
(๑) ด้านคุณธรรม จริยธรรม
สำมำรถจัดกำรปญั หำทำงคุณธรรม จริยธรรมทีซ่ บั ซ้อนเชิงวิชำกำรหรือวิชำชีพ โดย
คำนึงถึงควำมรูส้ กึ ของผูอ้ ่นื และเมือ่ ไม่มขี อ้ มูลทำงจรรยำบรรณวิชำชีพหรือไม่มี
ระเบียบข้อบังคับ เพียงพอทีจ่ ะจัดกำรกับปญั หำทีเ่ กิดขึน้ ก็สำมำรถวินิจฉัยอย่ำงผูร้ ู้
ด้วยควำมยุตธิ รรมและชัดเจน มีหลักฐำน และตอบสนองปญั หำเหล่ำนัน้ ตำม
หลักกำร เหตุผล และค่ำนิยมอันดีงำม ให้ขอ้ สรุปของปญั หำด้วยควำมไวต่อ
ควำมรูส้ กึ ของผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบ ริเริม่ ในกำรยกปญั หำทำงจรรยำบรรณทีม่ อี ยูเ่ พือ่
กำรทบทวนและแก้ไข สนับสนุนอย่ำงจริงจังให้ผอู้ ่นื ใช้กำรวินิจฉัยทำงด้ำนคุณธรรม
จริยธรรมในกำรจัดกำรกับข้อโต้แย้งและปญั หำทีม่ ผี ลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ่นื
แสดงออกซึง่ ภำวะผูน้ ำในกำรส่งเสริมให้มกี ำรประพฤติปฏิบตั ติ ำมหลักคุณธรรม
จริยธรรม ในสภำพแวดล้อมของกำรทำงำนและในชุมชนทีก่ ว้ำงขวำงขึน้
11
(๒) ด้านความรู้
(๒) ด้านความรู้
มีควำมรูแ้ ละควำมเข้ำใจอย่ำงถ่องแท้ ในเนื้อหำสำระหลักของสำขำวิชำ
ตลอดจนหลักกำรและทฤษฎีทส่ี ำคัญและนำมำประยุกต์ในกำรศึกษำ
ค้นคว้ำทำงวิชำกำรหรือกำรปฏิบตั ิ ในวิชำชีพ มีควำมเข้ำใจทฤษฎี กำร
วิจยั และกำรปฏิบตั ทิ ำงวิชำชีพนัน้ อย่ำงลึกซึง้ ในวิชำหรือกลุม่ วิชำเฉพำะใน
ระดับแนวหน้ำ มีควำมเข้ำใจในวิธกี ำรพัฒนำควำมรูใ้ หม่ๆและกำรประยุกต์
ตลอดถึงผลกระทบของผลงำนวิจยั ในปจั จุบนั ทีม่ ตี ่อองค์ควำมรูใ้ นสำขำวิชำ
และต่อกำรปฏิบตั ใิ นวิชำชีพ ตระหนักในระเบียบข้อบังคับทีใ่ ช้อยูใ่ น
สภำพแวดล้อมของระดับชำติและนำนำชำติทอ่ี ำจมีผลกระทบต่อสำขำ
วิชำชีพ รวมทัง้ เหตุผล และกำรเปลีย่ นแปลงทีอ่ ำจจะเกิดขึน้ ในอนำคต
12
( ๓ ) ด้านทักษะทางปัญญา
(๓) ด้านทักษะทางปัญญา
ใช้ควำมรูท้ ำงภำคทฤษฎีและภำคปฏิบตั ใิ นกำรจัดกำรบริบทใหม่ทไ่ี ม่คำดคิดทำงวิชำกำร
และวิชำชีพ และพัฒนำแนวคิดริเริม่ และสร้ำงสรรค์เพือ่ ตอบสนองประเด็นหรือปญั หำ
สำมำรถใช้ดุลยพินิจในกำรตัดสินใจในสถำนกำรณ์ทม่ี ขี อ้ มูลไม่เพียงพอ สำมำรถ
สังเครำะห์และใช้ผลงำนวิจยั สิง่ ตีพมิ พ์ทำงวิชำกำร หรือรำยงำนทำงวิชำชีพ และ
พัฒนำควำมคิดใหม่ๆ โดยกำรบูรณำกำรให้เข้ำกับองค์ควำมรูเ้ ดิมหรือเสนอเป็ นควำมรู้
ใหม่ทท่ี ำ้ ทำยสำมำรถใช้เทคนิคทัวไปหรื
่
อเฉพำะทำง ในกำรวิเครำะห์ประเด็นหรือ
ปญั หำทีซ่ บั ซ้อนได้อย่ำงสร้ำงสรรค์ รวมถึงพัฒนำข้อสรุปและข้อเสนอแนะทีเ่ กีย่ วข้อง
ในสำขำวิชำกำรหรือวิชำชีพสำมำรถวำงแผนและดำเนินกำรโครงกำรสำคัญหรือ
โครงกำรวิจยั ค้นคว้ำทำงวิชำกำรได้ดว้ ยตนเอง โดยกำรใช้ควำมรูท้ งั ้ ภำคทฤษฎีและ
ภำคปฏิบตั ิ ตลอดถึงกำรใช้เทคนิคกำรวิจยั และให้ขอ้ สรุปทีส่ มบูรณ์ซ่งึ ขยำยองค์
ควำมรูห้ รือแนวทำงกำรปฏิบตั ใิ นวิชำชีพทีม่ อี ยูเ่ ดิมได้อย่ำงมีนยั สำคัญ
13
(๔) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
และความรับผิดชอบ
(๔) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
สำมำรถแก้ไขปญั หำทีม่ คี วำมซับซ้อน หรือควำมยุง่ ยำกระดับสูงทำง
วิชำชีพได้ดว้ ยตนเองสำมำรถตัดสินใจในกำรดำเนินงำนด้วยตนเอง
และสำมำรถประเมินตนเองได้ รวมทัง้ วำงแผนในกำรปรับปรุงตนเอง
ให้มปี ระสิทธิภำพในกำรปฏิบตั งิ ำนระดับสูงได้ มีควำมรับผิดชอบใน
กำรดำเนินงำนของตนเอง และร่วมมือกับผูอ้ ่นื อย่ำงเต็มทีใ่ นกำร
จัดกำรข้อโต้แย้งและปญั หำต่ำง ๆ แสดงออกทักษะกำรเป็ นผูน้ ำได้
อย่ำงเหมำะสมตำมโอกำสและสถำนกำรณ์เพือ่ เพิม่ พูนประสิทธิภำพ
ในกำรทำงำนของกลุ่ม
14
(๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(๕) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
สำมำรถคัดกรองข้อมูลทำงคณิตศำสตร์และสถิตเิ พือ่ นำมำใช้ในกำรศึกษำ
ค้นคว้ำปญั หำสรุปปญั หำและเสนอแนะแก้ไขปญั หำในด้ำนต่ำง ๆ
สำมำรถสือ่ สำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ ได้อย่ำงเหมำะสมกับกลุ่มบุคคล
ต่ำงๆ ทัง้ ในวงกำรวิชำกำรและวิชำชีพ รวมถึงชุมชนทัวไป
่ โดยกำร
นำเสนอรำยงำนทัง้ ในรูปแบบทีเ่ ป็ นทำงกำรและไม่เป็ นทำงกำรผ่ำนสิง่
ตีพมิ พ์ทำงวิชำกำรและวิชำชีพ รวมทัง้ วิทยำนิพนธ์หรือโครงกำร
ค้นคว้ำทีส่ ำคัญ
15
หลักการสาคัญของ TQF
1. เป็ นเครื่องมือในการนาแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การจัดการศึกษาตามที่ กาหนดใน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฯ ในส่วนที่
เกี่ยวกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาสู่การ
ปฏิบตั ิ ในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็ นรูปธรรม
2. มุ่งเน้ นที่ Learning Outcomes ซึ่งเป็ นมาตรฐานขัน้ ตา่ เชิงคุณภาพเพื่อ
ประกันคุณภาพบัณฑิต
3. มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องหลักสูตรและ
การจัดการเรียนการสอนเข้าไว้ด้วยกันและเชื่อมโยงให้เป็ นเรื่องเดียวกัน
4. เป็ นเครื่องมือการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความเข้าใจและ
ความมัน่ ใจในกลุ่ ม ผู้ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง/มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย เช่ น นั ก ศึ ก ษา
ผู้ป กครอง ผู้ป ระกอบการ ชุ ม ชน สัง คมและสถาบัน อื่ น ๆ ทัง้ ในและ
ต่างประเทศเกี่ยวกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่คาดว่าจะพึงมี
16
หลักการสาคัญของ TQF (ต่อ)
5. มุ่งให้คณ
ุ วุฒิหรือปริญญาของสถาบันใดๆของประเทศไทย
เป็ นที่ยอมรับและเทียบเคียงกันได้กบั สถาบันอุดมศึกษาที่ ดีทงั ้ ใน
และต่างประเทศ โดยเปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัด
หลักสูตรตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย
โดยมันใจถึ
่
งคุณภาพของบัณฑิตซึ่งจะมีมาตรฐานผลการเรียนรู้
ตามที่ม่งุ หวัง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุขและภาคภูมิใจ
เป็ นที่พึงพอใจของนายจ้าง
6. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
17
วัตถุประสงค์ของการดาเนินการ TQF
1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในการจัดการศึกษาของ
สถาบันอุดมศึกษา และเป็ นการประกันคุณภาพขัน้ ตา่ ของบัณฑิต
ในแต่ละสาขา/สาขาวิชาของคุณวุฒิในระดับต่างๆ
2. เพื่อให้แต่ละสาขา/สาขาวิชามีการกากับดูแลคุณภาพการผลิต
บัณฑิตกันเองโดยบัณฑิตในสาขา/สาขาวิชาเดียวกันของแต่ละ
สถาบันฯมีคณ
ุ ภาพไม่ตา่ กว่าที่กาหนดไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับการศึกษาของสาขา/สาขาวิชานัน้ ๆ
3. เพื่อนาไปสู่การลดขัน้ ตอน/ระเบียบ (deregulations) ในการ
ดาเนินการให้กบั สถาบันอุดมศึกษาที่มีความเข้มแข็งและความ
18
พร้อมในการจัดการศึกษา
มาตรฐานการอุดมศึกษา
ระดับนโยบำย
มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานด้านการบริหาร
จัดการการอุดมศึกษา
มาตรฐานด้านการสร้างและ
พัฒนาสังคมฐานความรู้
และสังคมแห่งการเรียนรู้
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF)
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/
สาขาวิชาที่ 2
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/
สาขาวิชาที่ 3
ระดับกำรนำไปสูก่ ำรปฏิบตั ิ
มาตรฐานคุณวุฒิ
สาขา/สาขาวิชาที่ 1
สกอ.
รายละเอียดของหลักสูตร(Programme Specification) แต่ละ
สาขาวิชาของสถาบันฯต่างๆ
ม/ส
20
21
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
ใช้ทุกระดับ
22
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
ผลการเรียนรู้
มาตรฐาน
23
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
24
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
25
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
26
27
31
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ิ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
28
32
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ิ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
29
33
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ิ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
30
34
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เรื่อง แนวทางการปฏิบตั ิ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ต่อ)
31
35
มคอ. มีอะไรบ้าง
มคอ. ๑ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา...
สาขา/สาขาวิชา............
มคอ. ๒ รายละเอียดของหลักสูตร
มคอ. ๓ รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. ๔ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. ๕ รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. ๖ รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์
ภาคสนาม
มคอ. ๗ รายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร
32
มีมาตรฐาน แต่ยงั แต่งต่าง โดดเด่น ไม่ใช่เหมือนกันหมด
•
•
•
•
ยังมีความหลากหลายของหลักสูตร
บริหารจัดการตนเอง
ปกป้ องชื่อเสียงของ สถาบันฯ หลักสูตร
นาไปสู่การขึน้ ทะเบียนหลักสูตรที่ได้มาตรฐาน การเทียบเคียง
ข้ามประเทศ
33
การนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติส่กู ารปฏิบตั ิ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2545
มาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานการอุดมศึกษา
ด้ านคุณภาพบัณฑิต
ด้ านการบริหารการจัดการ
การอุดมศึกษา
ด้ านการสร้ างและพัฒนาฐานความรู้
และสั งคมแห่ งการเรียนรู้
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับ....สาขา/สาขาวิชา......
34
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
มคอ.1
สกอ.
มหาวิทยาลัย
ไม่
ใช่
1
ติดตำม
กำรดำเนินกำร
ตำม TQF
5 ปี
1 ปี
7
รายงานประจาภาค
2
3-4
ใช่
1
5-6
รายละเอียดของ
หลักสูตร
เสนอ
รายละเอียดของรายวิ ชา
และภาคสนาม/ฝึ กงาน
การวัดและประเมินผล
นักศึกษา/บัณฑิ ตได้รบั การพัฒนาให้ มีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่
กาหนดไว้ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
(บัณฑิ ตมีคณ
ุ ภาพเป็ นที่พึงพอใจของผูจ้ ้างงานและสังคม)
กก.อ.กำหนดหลักเกณฑ์กำรปรับปรุง
ผลกำรเรียนรูท้ ค่ี ำดหวัง
เกณฑ์มำตรฐำนหลักสูตร
เกณฑ์กำหนดชือ่ ปริญญำ
หลักเกณฑ์กำรเทียบโอน
เกณฑ์/แนวทำงอื่น ๆ
กระบวนการเรียนการสอน
รายงานรายวิชา
เผยแพร่
หลักสูตรที่
ดาเนิ นการ
ได้
มาตรฐาน
TQF
ประกาศ กกอ. เรื่อง แนวทางการปฏิ บตั ิ ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา
วางแผนปรับปรุง + พัฒนา
/ประจาปี การศึกษา
ประกาศ ศธ. เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ .พ.ศ. 2552
สภำ
สถำบัน
อนุมตั เสนอ
ิ
สกอ.
รับทราบ
หลักสูตร
และ
บันทึกไว้
ในฐาน
ข้อมูล
(POD Network)
Teaching Unit
การจัดสิ่ งอานวยความ
สะดวก สภาพแวดล้อม
35
แนวทางสู่
การปฏิบัติ
บัณฑิตมีคุณภาพ พัฒนาชาติยงั่ ยืน
36
มำตรฐำนกำรอุดมศึกษำ
มาตรฐานการอุดมศึกษา
มาตรฐานการสร้างและ
พัฒนาสังคมฐานความรู้
และสังคมแห่งการเรียนรู้
ระดับนโยบย
มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต
มาตรฐานการบริหาร
จัดการการอุดมศึกษา
กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
มาตรฐาน
สาขาวิชาที่ 2
ระดับกำรนำไปสูก่ ำรปฏิบตั ิ
มาตรฐาน
สาขาวิชาที่ 1
มาตรฐาน
สาขาวิชาที่ 3
มคอ. 2, 3, 4, 5, 6, 7
37
การถ่ายทอดผลการเรียนรู้
จากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯสู่หลักสูตร
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯแห่งชาติ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา
หลักสูตร
การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร
แบบเดิม
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
กลุ่มเนื้ อหาสาระสาคัญ
กลุ่มเนื้ อหาสาระสาคัญ
โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา
ผลการเรียนรู้
โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา
39
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes)
• ผลการเรียนรู้ ต้องวัดได้ และครอบคลุมถึง
คุณธรรม จริยธรรม
ความรู้
ทักษะทางปัญญา
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รับผิดชอบ (ทักษะทางสังคม)
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการ
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.
2.
3.
4.
++ ด้านทักษะพิสยั (Psychomotor Skill)
ผลการเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตร มาจากไหน?
•
•
•
•
•
สถานการณ์ภายนอก (เศรษฐกิจ/สังคม)
ปรัชญา ปณิธาน ของมหาวิทยาลัย
ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ ของหลักสูตร
ความต้องการของผูใ้ ช้บณ
ั ฑิต
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ (ถ้ายังไม่มีมาตรฐานคุณวุฒิ
สาขา/สาขาวิชา)
• มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา รวมถึง
– มาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
– ความต้องการของผูใ้ ช้บณ
ั ฑิตในสาขาวิชา
การบรรลุผลการเรียนรูข้ องบัณฑิต
• การดาเนินการหลักสูตร
– โครงสร้างหลักสูตร รายวิชา
– ปัจจัยนาเข้า (input) –นักศึกษา
– ทรัพยากร (resource)
• อาจารย์ / บุคลากรสนับสนุน
• ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน
– กระบวนการเรียนการสอน/การประเมินผลสัมฤทธ์ ิ ของนักศึกษา
• การบริหารจัดการ และกากับดูแล
– การวางแผน ติดตาม ทวนสอบ ประเมิน แก้ไข
การวางแผนหลักสูตร
กาหนดผลการเรียนรู้ ทัง้ 5 ด้าน (อย่างน้ อย)
กาหนดโครงสร้างหลักสูตร และรายวิชา
กระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ส่รู ายวิชา
กาหนดกลยุทธ์การสอนและการประเมินผลการเรียนรู้ สาหรับ
การเรียนรู้แต่ละด้าน
• กาหนดการติดตาม ทวนสอบผลสัมฤทธ์ ิ ของนักศึกษา
ประเมินผลการดาเนินการในระดับรายวิชา/หลักสูตร
• การบริหารจัดการ/การประกันคุณภาพ/การประเมิน
• กาหนดการทบทวนผลการดาเนินการและแก้ไขปรับปรุง
•
•
•
•
(ตย.) 3. Curriculum Mapping
คุณธรรม จริยธรรม
ทักษะทางปัญญา
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ
และซื่อสัตย์สจุ ริต
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
และสังคม
3. มีภาวะความเป็ นผูน้ าและผูต้ าม สามารถทางานเป็ น
ทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับ
ความสาคัญ
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น รวมทัง้
เคารพในคุณค่าและศักด์ ิ ศรีของความเป็ นมนุษย์
5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กร
และสังคม
6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์
ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่าง
เป็ นระบบ
2. สามารถสืบค้น ตีความ และ
ประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ใน
การแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3. สามารถรวบรวม ศึกษา
วิเคราะห์ และสรุปประเด็น
ปัญหาและความต้องการ
4. สามารถประยุกต์ความรู้และ
ทักษะกับการแก้ไขปัญหาทาง
คอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
1. คุณธรรม
จริยธรรม
รายวิชา
3.
ทักษะ
ทาง
ปัญญา
1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4
INT 100 การเรียนรูใ
้ น
ระดับอุดมศึกษา
INT 101 หลักสาคัญของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
INT 102 การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์1
INT 103 ปฏิบัตก
ิ ารการใช้
• • • • •
o
•
o
• •
• •
o
•
o o o o o o o
•
o o •
o o o o
•
o
o o
เอกสารที่ต้องจัดทาหลังการวางแผนหลักสูตร
• รายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) โดยกรรมการ
จัดทาหลักสูตร
• รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) และ รายละเอียด
ของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4) โดย อ.ผูส้ อน
• รายงานรายวิชา (มคอ.5) และ รายงานประสบการณ์
ภาคสนาม (มคอ.6) โดย อ.ผูส้ อน
• รายงานการดาเนินการหลักสูตร (มคอ.7) โดย
คณาจารย์ผร้ ู บั ผิดชอบหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน
1 อาจารย์ประจามีส่วนร่วมในการวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงาน
หลักสูตร
2 มีการจัดทารายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี)
3 มีการจัดทารายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม
(ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 ก่อนการเปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
4 มีการจัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดาเนินการ
ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลัง
สิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
5 มีการจัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60
วัน หลังสิ้นสุดปี การศึกษา
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน
6 มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการ
เรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปี ที่แล้ว
7 มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ ิ ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กาหนดในมคอ.3 และ
มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้ อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปี การศึกษา
8 อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รบั การปฐมนิเทศหรือคาแนะนาด้านการจัดการเรียนการสอน
9 อาจารย์ประจาทุกคนได้รบั การพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้ อยปี ละหนึ่ งครัง้
10 จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รบั การพัฒนาวิชาการ และ/หรือ
วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
11 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี สุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่
น้ อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
12 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บณ
ั ฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนน
เต็ม 5.0
บทสรุป
• รายละเอียดหลักสูตร
– เป็ นส่วนหนึ่ งของกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา
ด้านมาตรฐานคุณภาพบัณฑิต ให้เป็ นไปตามที่
กาหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
ของชาติและมาตรฐานคุณวุฒิของสาขาวิชา(ถ้ามี)
– เป็ นแผนการดาเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของ
หลักสูตร ที่คณาจารย์ทุกคนมีส่วนร่วม
– เป็ นคามันสั
่ ญญาที่สถาบันอุดมศึกษาให้กบั สังคม
Q&A
ขอขอบคุณ
[email protected]
50