๔. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
Download
Report
Transcript ๔. ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
การวัดคุณลักษณะผู้เรียน
สู่ ยุคการปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑)
ดร. สุ ทธศรี วงษ์ สมาน
รองเลขาธิการสภาการศึกษา
๔ กันยายน ๒๕๕๓
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
1
๑. สรุปผลการปฏิรูปการศึกษา
ที่ผ่านมา
2
๑. สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา
คุณภาพผู้เรียน
- ระดับปฐมวัย พัฒนาการด้ านสติปัญญาต่ากว่ าด้ านอื่น
มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สร้ างสรรค์ ร้ อยละ ๑๑.๐
- กศ. ขั้นพืน้ ฐาน ผลสั มฤทธิ์ วิชาหลัก ป.๖ ม.๓ ม.๖ ลดลง
ทุกวิชาต่ากว่ า ๕๐% ยกเว้ นภาษาไทย มีความสามารถคิด
วิเคราะห์ ร้ อยละ ๑๐.๔
3
๑. สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา
ปี การศึกษา ๒๕๕๒ คะแนนเฉลีย่ O- net ใน ๘ กลุ่มสาระการ
เรี ยนรู้ ป.๖ เฉลี่ยสู งขึ้น แต่ ของ ม. ๓ และ ม.๖ ไม่ ต่างจากปี ที่
ผ่ านมา โดย
ป.๖ คะแนนเฉลีย่ สู งสุ ดวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา ๖๔.๗๖
ต่าสุ ดวิชา ภาษาอังกฤษ ๓๑.๗๕
ม.๓ คะแนนเฉลีย่ สู งสุ ดวิชา สุ ขศึกษาและพลศึกษา
๕๖.๗๐ ต่าสุ ดวิชาภาษาอังกฤษ ๒๒.๕๔
ม.๖ คะแนนเฉลีย่ สู งสุ ดวิชา ภาษาไทย ๔๖.๔๗ ต่าสุ ด
วิชาภาษาอังกฤษ ๒๓.๙๘
4
๑. สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา
คะแนนเฉลีย่ GAT ๑๓๐.๘๒
คะแนนเฉลีย่ PAT ๑ ความถนัดทางคณิตศาสตร์ ๖๓.๙๗
คะแนนเฉลีย่ PAT ๒ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ๘๗.๑๗
คะแนนเฉลี่ ย PAT๓ ความถนั ด ทางวิ ศ วกรรมศาสตร์
๑๐๓.๑๙
คะแนนเฉลีย่ PAT ๔ ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
๑๐๓.๐๗
คะแนนเฉลีย่ PAT ๕ ความถนัดทางวิชาชีพครู ๑๔๒.๑๗
คะแนนเฉลี่ย PAT ๖
ความถนัดทางศิ ลปกรรมศาสตร์
๑๓๔.๔๙
คะแนนเฉลีย่ PAT ๗ ความถนัดทางภาษาต่ างๆ ๘๘.๐๐
– ๑๑๕.๒๓
5
๑. สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา
คุณภาพผู้เรียน
- อาชีวศึกษา มีสมรรถนะไม่ สอดคล้ องกับความต้ องการ
ของผู้ใช้ ขาดทักษะความรู้ พนื้ ฐานทีจ่ าเป็ น อัตราการมี
งานทาภายใน ๑ ปี ต่า ทั้ง ปวช. และ ปวส. ร้ อยละ ๑๒.๕
และ ๒๖.๕๓ ตามลาดับ มีสถาบันที่ได้ รับรองมาตรฐาน
ร้ อยละ ๘๙.๖
6
๑.สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา (ต่ อ)
- อุดมศึกษา คุณภาพโดยรวมยังไม่ น่าพึงพอใจ ไม่
สอดคล้องกับความต้ องการของสถานประกอบการ
มีสถาบันทีไ่ ด้ รับรองมาตรฐาน ร้ อยละ ๙๔.๙
- การศึกษานอกระบบ คะแนนเฉลีย่ ในทุกวิชา ต่ากว่ า
ร้ อยละ ๕๐ และต่ากว่ าคะแนนเฉลีย่ ของการทดสอบ
ระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน
ขาดแคลนครู ท้ งั เชิ งปริมาณและคุณภาพ ครู สอนไม่ ตรงวุฒิ
จากนโยบายจากัดอัตรากาลังคนภาครัฐ ปี ๒๕๔๓-๔๙
ศธ. สู ญเสี ยอัตรา ๕๓,๙๔๘ อัตรา
(เกษียณ ๗๔,๗๘๔ คน ได้ คนื ๒๐,๘๓๖ อัตรา)
ในอีก ๕ ปี จะมีครู และผู้บริ หารเกษียณประมาณกว่ า
ร้ อยละ ๕๐
7
๑.สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา (ต่ อ)
การบริหารจัดการ เขตพืน้ ที่การศึกษาและสถานศึกษา
ยังไม่ มีอสิ ระและคล่ องตัว การมีส่วนร่ วมของเอกชน
และทุกภาคส่ วนมีน้อย
ประชากรผู้ด้อยโอกาสจานวนมากไม่ สามารถเข้ าถึง
บริการการศึกษา โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในท้ องถิ่นห่ างไกล
และทุรกันดาร จากข้ อมูลพบว่ า ในปี การศึกษา ๒๕๕๐
มีจานวนผู้ด้อยโอกาสถึง ๑,๙๐๖,๕๒๘ คน ส่ วนใหญ่
เป็ นเด็กยากจน รองลงมาเป็ นเด็กถูกทอดทิง้ และ
ชนกลุ่มน้ อย
8
๑.สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา (ต่ อ)
การศึกษาเฉลีย่ ของคนไทย (อายุ ๑๕-๕๙ ปี ) ๘. ๙ ปี
มีประชากรไทยอายุ ๑๕ ปี ขึน้ ไป ทีไ่ ม่ รู้ หนังสื อร้ อยละ ๕.๙
การผลิตกาลังคนไม่ สอดคล้ องกับความต้ องการทั้งปริมาณและ
คุณภาพไม่ เน้ นสมรรถนะทาเป็ น ทาได้
มีการระดมทรัพยากรและลงทุนจากทุกภาคส่ วนค่ อนข้ างน้ อย
และการบริหารจัดการยังไม่ มีประสิ ทธิภาพ
9
๑.สรุปผลปฏิรูปการศึกษา ๙ ปี ที่ผ่านมา (ต่ อ)
มีการนาเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาไปใช้ เพือ่ การเรียนการ
สอน และการเรียนรู้ด้วยตนเองน้ อย
ยังไม่ สามารถบังคับใช้ กฎหมายได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ บาง
เรื่องยังขาดกฎหมายรองรับ
การเรียนรู้ตลอดชีวติ การศึกษานอกระบบ และตาม
อัธยาศัย คุณภาพยังไม่ น่าพอใจ และการเรียนรู้
ตลอดชีวติ ยังไม่ เป็ นวิถีชีวติ ของประชาชน
10
๒. ภาพอนาคตที่มีผลกระทบต่ อ
การศึกษาและสมรรถนะการแข่ งขันของ
ประเทศไทยเทียบกับนานาชาติ
๒.ภาพอนาคตที่จะมีผลกระทบต่ อการศึกษา
การเปลีย่ นแปลงประชากร วัยเด็กลดลง วัยสู งอายุมาก
พลังงานและสิ่ งแวดล้ อม การประหยัดพลังงานและ
รักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้ อม
ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวตั น์ การเคลือ่ นย้ ายคน
เงิน เทคโนโลยี ข้ อมูล ข่ าวสาร ความรู้ อย่ างเสรี
ความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ภาวะวิกฤตด้ านเศรษฐกิจและสั งคม
การมีงานทาและตลาดแรงงาน
ทิศทางการพัฒนาประเทศที่เน้ นการกระจายอานาจ
การพัฒนาฐานราก / ชุมชน
ความต้ องการได้ รับการศึกษาอบรมของประชาชน
12
๓.ข้ อเสนอการปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษที่สอง (๒๕๕๒-๒๕๖๑)
19
การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษทีส่ อง
วิสัยทัศน์
คนไทยได้ เรียนรู้ตลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ
20
เป้าหมาย
ภายในปี ๒๕๖๑ มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่ าง
เป็ นระบบ โดยเน้ นเป้าหมายหลักสามประการ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้
เพิม่ โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ อย่ างทัว่ ถึง
และมีคุณภาพ
ส่ งเสริมการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนของสั งคม
ในการบริหารและจัดการศึกษา
21
กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔ ใหม่
พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
พัฒนาคุณภาพครู ยุคใหม่
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และ
แหล่ งเรียนรู้ ยุคใหม่
พัฒนาคุณภาพการบริ หารจัดการใหม่
22
๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
ให้มีนิสัยใฝ่ เรี ยนรู ้ เรี ยนรู ้ได้ดว้ ยตนเอง แสวงหาความรู ้
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สามารถสื่ อสาร คิด วิเคราะห์
แก้ปัญหา คิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบ
วินยั คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม ทางานเป็ นกลุ่มได้อย่าง
เป็ นกัลยาณมิตร มีศีลธรรม คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม
จิตสานึกและความภูมิใจในความเป็ นไทย ยึดมัน่ การ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รง
เป็ นประมุข รังเกียจการทุจริ ตและต่อต้านการซื้อสิ ทธิ์ ขาย
เสี ยง
23
๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
- พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู้
- ผลิตและพัฒนากาลังคนทีม่ ีคุณภาพ
มีสมรรถนะ และความรู้ ความสามารถ
24
๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
๑.๑ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู้
- ให้ มีระบบการวัด ประเมินผลทีเ่ ป็ น
มาตรฐาน เทียบเคียงกันได้
- แก้ ปัญหา พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
- ส่ งเสริมบทบาท สร้ างความเข้ มแข็ง
ครอบครัว
25
๑.๒ ผลิตและพัฒนากาลังคนทีม่ ีคุณภาพ มี
สมรรถนะ และความรู้ ความสามารถ
- พัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่ งชาติ
และคุณวุฒิวชิ าชีพ
- จัดการอาชีวศึกษา โดยเน้ นการปฏิบัติ
ขยายทวิภาคี และสหกิจศึกษา
- การจัดตั้งสถาบันอาชีวศึกษาให้ สอดคล้อง
กับการพัฒนากลุ่มจังหวัด
26
๒. พัฒนาคุณภาพครู ยุคใหม่
ให้ เป็ นผู้เอือ้ อานวยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็ น
วิชาชีพทีม่ ี คุณค่ า สามารถดึงดูดคนเก่ งคนดี มีใจรักใน
วิชาชีพมาเป็ นครู โดย
- พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากร กศ.
- การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
- การใช้ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
27
๒.๑ พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากร
ทางการศึกษา
๑) ปรับระบบการผลิต คัดสรร ค่ าตอบแทน และ
สวัสดิการ ให้ สามารถดึงดูดคนเก่ งและดี มีใจรัก
ในวิชาชีพมาเป็ นครู
๒) ให้ มีสถาบันอุดมศึกษาทีเ่ น้ นความเป็ นเลิศ
ด้ านการผลิตครู วิจยั และพัฒนาเกีย่ วกับวิชาชีพ
ครู รวมทั้งมีระบบประกันและรับรองคุณภาพ
มาตรฐานวิชาชีพครู และสถาบันผลิตครู
28
๒.๒ การพัฒนาครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา
๑) ปรับปรุงและพัฒนาระบบและเกณฑ์ การประเมิน
สมรรถนะวิชาชีพครูให้ เชื่อมโยงกับความสามารถในการ
จัดการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาผู้เรียนเป็ นสาคัญ
๒) เร่ งจัดตั้งกองทุนพัฒนาและกองทุนส่ งเสริมครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
๓) พัฒนาครู คณาจารย์ โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน ให้ สามารถ
จัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ พัฒนาครู
ประจาการทีส่ อนไม่ ตรงวิชาเอก มีระบบและมาตรการจูง
ใจให้ ครู คณาจารย์ ผู้บริหาร และบุคลากรการศึกษา
พัฒนาตนเองอย่ างต่ อเนื่อง
29
๒.๓ การใช้ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
๑) คืนครู ให้ กบั ผู้เรียน โดยลดภาระงานอืน่ ที่ไม่
จาเป็ น และจัดให้ มีบุคลากรสายสนับสนุนให้
เพียงพอ
๒) ปรับปรุงเกณฑ์ กาหนดอัตราครู โดยพิจารณา
จากภาระงานที่ชัดเจน และจัดให้ มีจานวนครู
พอเพียงตามเกณฑ์ และมีวุฒติ รงตามวิชาทีส่ อน
๓) แยกบัญชีเงินเดือนและวิทยฐานะของข้ าราชการ
ครู และบุคลากรการศึกษาออกจากกัน
30
๓. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้
ยุคใหม่
เพือ่ ส่ งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียนอย่ างต่ อเนื่อง
ตลอดชีวติ และมีคุณภาพ โดย
- พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาทุกระดับ/ประเภทให้
สามารถเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ที่มีคุณภาพ
- พัฒนาแหล่งเรี ยนรู้อื่นสาหรับการศึกษาและเรี ยนรู้
ทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
เช่น ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์
สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี และศูนย์การกีฬาและนันทนาการ เป็ นต้น
31
๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
เน้ นการกระจายอานาจสู่ สถานศึกษา เขตพืน้ ที่
และ อปท. การมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วน มี
ระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
โดย
๔.๑ กระจายอานาจการบริ หารและการจัด
การศึกษาให้กบั สถานศึกษาและเขตพื้นที่
การศึกษา
๔.๒ พัฒนาระบบบริ หารจัดการตามหลักธรร
มาภิบาลให้มีประสิ ทธิภาพ
32
๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
๔.๓ พัฒนาการบริหารจัดการเพือ่ เพิม่ โอกาส
ทางการศึกษา อย่ างมีคุณภาพ
๔.๔ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพือ่ สนับสนุน
การมีส่วนร่ วมของประชาชน ภาคเอกชน และ
ทุกภาคส่ วนในการจัดการศึกษาและสนับสนุน
การศึกษาและเรียนรู้ ให้ มากขึน้
-
-
ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของบุคคล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรชุมขน องค์กรเอกชน องค์กร
วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
สถาบันสังคมอื่นในการจัดการศึกษามากขึ้น
ส่ งเสริ มบทบาทขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
ในการจัดและสนับสนุนการจัดการศึกษา
33
๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
๔.๕ เพิม่ ประสิ ทธิภาพการบริหารจัดการ
ทรัพยากรเพือ่ การศึกษา
- ปรับระบบการบริ หารจัดการ
การเงินและงบประมาณ โดยเน้น demand side
- วางแผนอย่างเป็ นขั้นตอนและ
จัดระบบบริ หารจัดการรองรับการยุบ เลิก ควบ
รวมสถานศึกษาขนาดเล็ก
34
• ข้ อเสนอกลไกหลัก
เพือ่ ขับเคลือ่ นการปฏิรูปการศึกษา
๑ คณะกรรมการขับเคลือ่ นการปฏิรูปการศึกษา
- คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง นายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน
- คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง มีรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิการ
เป็ นประธานฯ
คณะกรรมการทั้ง ๒ คณะ ให้ยบุ เลิกเมื่อสิ้ นสุ ด
ระยะเวลาปฏิรูป โดยให้สานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา ปฏิบตั ิหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ
35
๒ จัดตั้งหน่ วยงาน/ปรับบทบาทหน่ วยงานเพือ่ เป็ น
กลไกรับรองคุณภาพมาตรฐาน และเพิม่ โอกาสทาง
การศึกษาและการเรียนรู้ อย่ างต่ อเนื่องตลอดชีวติ
ได้แก่
๒.๑ สถาบันคุรุศึกษาแห่งชาติ เพื่อพัฒนานโยบาย
และวางแผนการผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์
และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ
๒.๒ สถาบันคุณวุฒิวชิ าชีพแห่งชาติ
๒.๓ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติ
และกองทุน
๒.๔ ปรับบทบาท สนง.ส่ งเสริ มการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็ น สนง.
การศึกษาตลอดชีวิต
36
๓ มอบหมายให้ หน่ วยงานทีม่ อี ยู่แล้ ว ปฏิบัติ
ภารกิจเพิม่ เติมหรือเร่ งรัดดาเนินการ ดังนี้
๓.๑ ให้สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
และสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ดาเนินการประกันการเรี ยนรู ้และ
รับรองมาตรฐานผูเ้ รี ยน โดยประเมินผลการ
เรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนในชั้นเรี ยนสุ ดท้ายของแต่ละ
ช่วงชั้นให้เป็ นการวัดผลระดับชาติ เพื่อให้
สามารถใช้การวัดประเมินผลที่เป็ นมาตรฐาน
สามารถเทียบเคียงกันได้
37
๓.๒ ให้ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
- ขับเคลื่อนการกระจายอานาจสู่เขตพื้นที่และ
สถานศึกษาโดยให้มีองค์คณะบุคคลที่มีความรู้ มี
ความเข้าใจ และประสบการณ์เกี่ยวกับการกระจาย
อานาจ
- สนับสนุนส่ งเสริ มการศึกษาทางเลือก โดยให้
มีองค์คณะบุคคลเพื่อดาเนินการ โดยคานึงถึงความ
สอดคล้องกับหลักการและแนวทางจัดการศึกษาตาม
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ และนโยบายรัฐบาล
38
• ข้ อเสนอกลไกสนับสนุนต้ องพัฒนา/ปรับปรุง
๑ การพัฒนาระบบการเงิน การคลัง
๒ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสารเพือ่ การศึกษา
๓ การปรับปรุงแก้ ไข บังคับใช้ กฎหมาย
การศึกษาและทีเ่ กีย่ วข้ อง
39
เป้ าหมายและตัวบ่งชี้การปฏิรปู
การศึกษาในทศวรรษที่สอง พ.ศ.
๒๕๖๑
40
๔ เป้ าหมาย ๒๐ ตัวบ่งชี้
๑. คนไทยและการศึกษาไทยมีคณ
ุ ภาพ
และได้มาตรฐานระดับสากล
๒. คนไทยใฝ่ รู้
๓. คนไทยใฝ่ ดี
๔. คนไทยคิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปัญหาได้
41
ึ ษาไทยมี
๑ คนไทยและการศก
คุณภาพและได้มาตรฐานระด ับ
สากล
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ ิ ทางการเรียนในวิชาหลักจาก
การทดสอบระดับชาติ มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่า
ร้อยละ ๕๐
๑.๒ ผลสัมฤทธ์ ิ ทางการศึกษาด้านคณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์เพิ่มขึน้ เป็ นไม่ตา่ กว่าค่าเฉลี่ย
นานาชาติ (ผลทดสอบ PISA)
42
๑.๓ ความสามารถด้านภาษาอังกฤษเพิ่มขึน้
ร้อยละ ๓ ต่อปี
๑.๔ ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพิ่มขึน้
ร้อยละ ๓ ต่อปี
๑.๕ สัดส่วนผูเ้ รียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
ประเภทอาชีวศึกษา : สามัญศึกษา เป็ น ๖๐ : ๔๐
๑.๖ ผูส้ าเร็จอาชีวศึกษาและอุดมศึกษามี
คุณภาพระดับสากล และเป็ นไปตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิ
๑.๗ จานวนปี การศึกษาเฉลี่ยของคนไทย
(อายุ ๑๕-๕๙ ปี ) เพิ่มขึน้ เป็ น ๑๒ ปี
43
๒ คนไทยใฝ่รู ้ : สามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ย
ตนเอง ร ักการอ่าน และแสวงหา
ความรูอ
้ ย่างต่อเนือ
่ ง
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๒.๑ ผูเ้ รียนทุกระดับการศึกษาไม่ตา
กว่าร้อยละ ๗๕ มีทกั ษะในการแสวงหา
ความรู้ได้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่ อง
๒.๒ อัตราการรู้หนังสือของประชากร
(อายุ ๑๕ - ๖๐ ปี ) เป็ นร้อยละ ๑๐๐
44
๒.๓ ผูเ้ ข้ารับบริการในแหล่งเรียนรู้
เพิ่มขึน้ ปี ละอย่างน้ อยร้อยละ ๑๐
๒.๔ คนไทยใช้เวลาอ่านหนังสือนอกเวลา
เรียน/นอกเวลาทางาน โดยเฉลี่ยอย่าง
น้ อยวันละ ๖๐ นาที
๒.๕ สัดส่วนผูท้ ี่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการ
เรียนรู้ต่อประชากรอายุ ๖ ปี ขึน้ ไปเป็ น
ร้อยละ ๕๐
45
เป้าหมาย ๓ คนไทยใฝ่ดี : มีคณ
ุ ธรรม
พืน
้ ฐาน มีจต
ิ สานึก และค่านิยมทีพ
่ งึ ประสงค์
เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวม มีจต
ิ สาธารณะ มี
วัฒนธรรมประชาธิปไตย
ตัวบ่งชี้และค่าเป้ าหมาย
๓.๑ ผูเ้ รียนทุกระดับการศึกษาไม่ตา่ กว่า
ร้อยละ ๗๕ มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรมและมีความ
เป็ นพลเมือง
๓.๒ จานวนคดีเด็กและเยาวชนที่ถกู
ดาเนินคดีโดยสถานพินิจฯ ลดลงร้อยละ๑๐
ต่อปี
46
๓.๓ จานวนเด็กอายุตา่ กว่า๑๕ ปี ที่ตงั ้ ครรภ์
ลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี
๓.๔ จานวนเด็กเข้ารับการบาบัดยาเสพติด
ลดลงร้อยละ ๑๐ ต่อปี
๓.๕ สัดส่วนคนไทยที่ประกอบกิจกรรมทาง
ศาสนา และกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ ต่อผูอ้ ื่น
และสังคมอย่างสมา่ เสมอเพิ่มขึน้ ร้อยละ ๕
ต่อปี
47
เป้าหมาย ๔ คนไทยคิดเป็น ทาเป็น แก้ปญ
ั หาได้
มีท ักษะในการคิดและปฏิบ ัติ มีความ
สามารถในการแก้ปญ
ั หา มีความคิดริเริม
่
ื่ สาร
สร้างสรรค์ มีความสามารถในการสอ
ตัวบ่ งชี้และค่ าเป้ าหมาย
๔.๑ ผูเ้ รียนไม่ตา่ กว่าร้อยละ ๗๕ มี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ มีวิจารณญาน มีความคิด
สร้างสรรค์
48
๔.๒ ผูส้ าเร็จการอาชีวศึกษาและการ
อุดมศึกษามีสมรรถนะเป็ นที่พึงพอใจ
ของผูใ้ ช้ และมีงานทาภายใน ๑ ปี
รวมทัง้ ประกอบอาชีพอิสระเพิ่มขึน้
๔.๓ กาลังแรงงานที่มีการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาขึน้ ไปเพิ่มขึน้ เป็ นร้อยละ
๖๕ และมีสมรรถนะทางวิชาชีพตาม
มาตรฐาน
49
มีการจัดตัง้ สานักงานส่งเสริมสังคม
แห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน
(สสค.) โดยไดัรบั ความเห็นชอบจาก
ครม. แล้วในคราวประชุม เมื่อ ๑๑
พฤษภาคม ๒๕๕๓
มีการกาหนดกรอบแนวทาง ยุทธศาสตร์
และกลไกขับเคลื่อนเพื่อการบรรลุ
เป้ าหมายการปฏิรปู ในทศวรรษที่สอง
(พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๖๑) และหน่ วยงาน
รับผิดชอบหลัก/ร่วม และตัวอย่างกลไก/
โครงการ/กิจกรรมขับเคลื่อน
จัดทาแผนปฏิบต
ั ิ การ (Roadmap) เพื่อ
ขับเคลื่อนการปฏิรปู การศึกษา
หน่ วยงานที่ เกี่ยวข้องนาแผนสู่การ
ปฏิบตั ิ
เร่งรัด ติดตาม ประเมินผล การปฏิบต
ัิ
ตามแผน ฯ
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามหลักสู ตร
วิสัยทัศน์
สมรรถนะสาคัญ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วดั
8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
กิจกรรมพัฒนา
รุ่งนภา นุตราวงศ์
ผู้เรียน
คุณภาพของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
วิสัยทัศน์
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน มุ่ง
พัฒนาผู้ เรี ย นทุ ก คน ซึ่ ง เป็ นก าลังของชาติ ใ ห้ เป็ น
มนุ ษ ย์ ที่ มี ค วามสมดุ ล ย์ ทั้ ง ด้ า นร่ างกาย ความรู้
คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทย และ
เป็ นพลโลก ยึ ด มั่ น ในการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข
มีความรู้ และทักษะพืน้ ฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ น
ต่ อการศึ กษาต่ อ การประกอบอาชี พและการศึ กษา
ตลอดชี วิต โดยมุ่งเน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญบนพืน้ ฐาน
ความเชื่อว่ า ทุกคนสามารถเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเอง
ได้ เต็มตามศักยภาพ.
54
จุดมุ่งหมาย
1. มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่ านิยมที่พึงประสงค์ เห็ นคุณค่ าของ
ตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาทีต่ นนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ อันเป็ นสากลและมีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้ เทคโนโลยีและมีทกั ษะชีวติ
3. มีสุขภาพและสุ ขภาพจิตทีด่ ี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึด
มั่ น ในวิ ถี ชี วิ ต และการปกครองในระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
5. มี จิ ต ส านึ ก ในการอนุ รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมและภู มิ ปั ญ ญาไทย การ
อนุ รักษ์ และพัฒนาสิ่ งแวดล้ อม มีจิตสาธารณะที่ม่ ุงทาประโยชน์
และสร้ า งสิ่ ง ที่ ดี ง าม ในสั ง คมและอยู่ ร่ วมกั น ในสั ง คมอย่ า งมี
ความสุ ข
55
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่ อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวติ
5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี.
56
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสั ตย์ สุจริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝ่ เรียนรู้
5. อยู่อย่ างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ.
57
กลุ่มสาระการเรียนรู้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
5. สุ ขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาต่ างประเทศ
58
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1. กิจกรรมแนะแนว
2. กิจกรรมนักเรียน
3. กิจกรรมเพือ่ สั งคมและสาธารณประโยชน์ .
59
ขอขอบคุณ
60