ดูข้อมูล - สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ

Download Report

Transcript ดูข้อมูล - สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ

แนวทางการพัฒนาและปรับปรุ งหลักสูตรรองรับ
Creative economy
รองศาสตราจารย์ชยยศ สันติวงษ์
18 กรกฎาคม 2555
1. ผลผลิตบัณฑิตคุณสมบัตไิ ม่ตรง
2. รายวิชาไม่ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง
3. ปจั จุบนั เปลีย่ นแปลงเร็ว
4. ไม่มห
ี ลัก แกนของยุทธศาสตร์
5. เรียนแล้วไม่ได้ใช้ในทางปฏิบตั จิ ริง
1. คิดจากตัวเองออกไป คิดในสิง่ ทีต่ วั เองอยากเห็น อยากให้เป็ น
2. ผูส้ อนต่างคนต่างเสนอวิชาทีต่ นเองคิดว่าจาเป็ น สาคัญ
3. ดูของทีอ่ ่นื มีอะไรแล้วก็นามาปรับปรุงหรือเลียนแบบ
4. ไปค้นคว้าในเว็บ
5. ออกแบบหลักสูตรแล้วให้ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียมาวิพากษ์
หลักสูตร ในมุมมองว่าพวกเขาเป็ นส่วนหนึ่งของของเรา ไม่ได้
มองว่าเราเป็ นส่วนหนึ่งของเขา
1. คิดจากข้างนอกเข้ามา คิดในสิ่ งเป็ นไปตามความจริ ง คือการมองภาพ
2.
3.
4.
5.
6.
อนาคต (Scenario) มองสภาพแวดล้อมทัว่ ไป ระดับมหภาค สภาพแวดล้อม
เฉพาะ (ธุรกิจ)
มองภาพรวมและเราอยูต่ รงส่ วนไหนของภาพรวมในตลาด ในบทบาท
ภารกิจอะไร
องค์ความรู ้หลักที่ตอ้ งมี คืออะไรบ้าง เช่น ด้านเทคนิค ด้านสังคมภาครัฐ
ด้านภาวะผูน้ า วางตาแหน่งคุณสมบัติบณ
ั ฑิตที่พึงประสงค์
ให้ผมู ้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยแสดงความเห็น ความต้องการต่อตาแหน่งคุณสมบัติ
บัณฑิตที่พึงประสงค์ในข้อ 3 โดยเฉพาะบัณฑิตที่จบไปทางานแล้ว
ผูป้ ระกอบการเอกชน หน่วยงานภาครัฐ
คุณสมบัติบณ
ั ฑิตที่พึงมีตอ้ งมี Competencies อะไรบ้าง
เขียน Knowledge Value chain ออกมา จะเป็ นวิชาที่ควรต้องเรี ยน
 มองภาพอนาคต Scenario
 สภาพแวดล้อมธุรกิจหรือตลาด
 ทิศทางและความสอดคล้องของกลยุทธ์
 การกาหนดตาแหน่ ง Outcome
 กาหนดคุณลักษณะของบัณฑิต Output
 How to (process)
 วิเคราะห์ Competencies skills
General
environment
ต้นน้ า
กลางน้ า
direction
ปลายน้ า
Supporting /Infra.
positioning
หลักสูตร
Competencies
Process
Specific
environment
outcome
บัณฑิต
output
Internal
environment
Scenario
Market
Demand
ต้นน้ า
กลางน้ า
direction
ปลายน้ า
Supporting /Infra.
positioning
หลักสูตร
Competencies
Process
outcome
บัณฑิต
General
Environment
Emerging technology
Global competition
Specific
Environment
New Business model
New product/service
output
Internal
environment
Mega
Right think
What it should be?
Think right
Who are you?
Macro
Micro
Do the right things
Where you want go?
Do the right things right
How to get there?
Process
Right people
What and how to do
 ปี 2555 มูลค่าตลาดสูงถึง 1.8 แสนล้านบาท หรือกว่า 20% ของค่าจีดพ
ี ขี อง
ประเทศ ตัง้ เป้าว่าในปี 2555 นี้ อุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จะเติบโตขึน้ เป็ น 2
เท่า หรือประมาณ 1.8 แสนล้านบาท หรืออยูใ่ นสัดส่วนที่ 20% ของค่าจีดพี ใี นปี
2555 รัฐพร้อมทีจ่ ะเดินหน้าสนับสนุ นในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง โดยเฉพาะในส่วนของธุรกิจ
ภาพยนตร์และเพลง
 ตัวเลขการส่งออกอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ของไทยปี 2548 ทีผ่ า่ นมา มีสว่ นแบ่ง
ในตลาดโลกคิดเป็ นร้อยละ 1.3 จัดอยูใ่ นอันดับที่ 17 ของโลกและมีอตั ราการขยายตัว
เฉลีย่ ร้อยละ 5 ต่อปี (ช่วงปี 2543-2548) ขณะทีใ่ นเอเชีย อยูใ่ นอันดับที่ 4
 ปจั จุบนั ครีเอทีฟ อีโคโนมี หรือ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ซึง่ ประกอบไปด้วย 4 กลุม
่
ใหญ่ 15 สาขา เช่น งานฝีมอื ธุรกิจอาหารไทย ทีส่ าคัญคือกลุม่ ภาพยนตร์ เพลง
สิง่ พิมพ์ ออกแบบ และแฟชัน่ มีมลู ค่าถึงปีละ 900,000 ล้านบาท คิดเป็ นตัวเลขที่
10% ของค่าจีดพี รี วมของประเทศไทย
 เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ นัน้ จะสร้างให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทัง้ ต่อภาคการผลิต บริการ
ภาคการขาย หรือแม้แต่อุตสาหกรรมบันเทิง เป็ นแนวคิดทีอ่ ยูบ่ นการทางานแบบใหม่
ทีม่ ปี จั จัยหลักมาจากความสามารถ และทักษะพิเศษของบุคคล จึงเป็ นระบบเศรษฐกิจ
ใหม่ ทีม่ กี ระบวนการนาเอาวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีมารวมเข้าด้วยกัน
ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมความคิดสร้างสรรค์ (Creative Industry) หรือ
อุตสาหกรรมเชิงวัฒนธรรม (Culture Industry) ซึง่ ประเทศไทยนัน้ มีแวดล้อม
ครบครัน
 อารมณ์ความรูส้ กึ แรงบันดาลใจ ชือ่ เสียงและความกระหายใคร่รู้
 ความคิดทีแ่ ตกต่างทัง้ ในวงการวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุ ษยศาสตร์ให้สามารถ
เรียนรูแ้ ละต่อยอดซึง่ กันและกันได้ โดยเฉพาะการทาให้ศลิ ปิน รูจ้ กั ความต้องการของ
ลูกค้า เข้าใจความสาคัญของการตรงต่อเวลา เช่นเดียวกัน Creative Manager
จะต้องทาให้นกั วิทยาศาสตร์ วิศวกรทัง้ หลาย ยอมรับว่าอารมณ์ความรูส้ กึ อัน
ละเอียดอ่อนของมนุ ษย์กเ็ ป็ นสิง่ ทีม่ คี ุณค่าและประสิทธิภาพในแบบของตน
เช่นเดียวกับเครือ่ งยนต์กลไก
 แก่นแท้ของ Creative Economy ซึง่ ก็คอื การบริหารจัดการ “คน” อย่าง
สร้างสรรค์ นันเอง
่
 อุตสาหกรรมทีเ่ ป็ นผลผลิตของความคิดสร้างสรรค์ ทักษะ และความสามารถพิเศษ ของ
บุคคล ซึง่ สามารถใช้หาประโยชน์ทางเศรษฐกิจเพือ่ สร้างความมังคั
่ งและสร้
่
างงาน ผ่าน
การสังสมและการใช้
่
ประโยชน์ของทรัพย์สนิ ทางปญั ญา13 กลุม่ ด้วยกัน ครอบคลุม
สาขาธุรกิจดังต่อไปนี้

Advertising

Architecture

Crafts and designer furniture

Fashion clothing

Film, video and other audiovisual production

Graphic design

Educational and leisure software

Live and recorded music

Performing arts and entertainments

Television, radio and internet broadcasting

Visual arts and antiques

Writing and publishing
 ปราโมทย์ วิทยาสุข ผูอ้ านวยการสานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ กล่าวว่า
OKMD มีบทบาทสาคัญในการผลักดันสังคมไทยให้เป็ นสังคมแห่งการเรียนรู้
สนับสนุ นแนวความคิดเรือ่ งเศรษฐกิจสร้างสรรค์และผลักดันอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ให้
เป็ นกลไกสาคัญในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทยมาอย่างต่อเนื่อง โดยหัวใจหลักของ
“เศรษฐกิจสร้างสรรค์” คือ การขับเคลือ่ นเศรษฐกิจบนพืน้ ฐานของการใช้ความรู้ และ
ความคิดสร้างสรรค์มาประยุกต์ใช้กบั การศึกษา ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา รากฐานทาง
วัฒนธรรม การสังสมความรู
่
ข้ องสังคม ตลอดจนเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่เพือ่
สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั สินค้าและผลิตภัณฑ์
 การสร้างมูลค่าทีเ่ กิดจากความคิดของมนุ ษย์" สาขาการผลิตทีพ
่ ฒ
ั นาไปสู่ CE จะ
เรียกว่าอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industries หรือ CI) ซึง่ หมายถึง
กลุม่ กิจกรรมการผลิตทีต่ อ้ งพึง่ พาความคิดสร้างสรรค์เป็ นวัตถุดบิ สาคัญ
 เศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป็ นระบบเศรษฐกิจทีส่ ะท้อนถึงกระบวนการซึง่ รวมวัฒนธรรม
เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีเข้าไว้ดว้ ยกัน และสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในปจั จุบนั ซึง่
รัฐบาลให้ความสาคัญต่อแนวคิดดังกล่าว โดยมุง่ มันให้
่ เกิดระบบเศรษฐกิจทีผ่ สมผสาน
สินทรัพย์ทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทย เข้ากับองค์ความรูท้ ค่ี รอบคลุมทัง้ เทคโนโลยี
นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์เพือ่ ผลิตสินค้าและการบริการทีม่ คี ุณลักษณะโดดเด่น
เฉพาะตัว เพือ่ เป็ นการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจในอันทีจ่ ะสร้างงาน สร้างรายได้ และ
ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน

 การพัฒนาศูนย์กลางสร้างสรรค์ (Creative Space) ในทุกจังหวัดทัวประเทศไทย
่
เพือ่ เป็ นสถานทีพ่ บปะแลกเปลีย่ นของนักธุรกิจ ศิลปิน นักบริหารจัดการ นักวิชาการ
และผูใ้ ช้ชวี ติ เข้มข้นทางวัฒนธรรม จึงถือเป็ น "เครื่องมือสร้างสรรค์" ชิน้ หนึ่งทีช่ ว่ ย
เติมเต็มข้อมูลข่าวสารให้กบั บุคลากรในระบบเศรษฐกิจสร้าง -สรรค์ โดยไม่ตอ้ งพึง่ พา
เพียงเทคโนโลยีสารสนเทศทีป่ ระเทศไทยยังพัฒนาได้ไม่สมบูรณ์เต็มที่ Creative
Space จึงถือเป็ นสิง่ จาเป็ นอย่างยิง่ ในการบริหารชุมชนสร้างสรรค์ (Creative
Community) เพือ่ ให้สามารถผลิตสินค้าและบริการสร้างสรรค์ (Creative
Product) ทีน่ าไปสูก่ ารจ้างงานและการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจสร้างสรรค์
(Creative Economy) อย่างยังยื
่ น
 การสร้าง Creative Space เป็ นเพียงจุดเริม่ ต้นของการพัฒนา Creative
Economy แต่สงิ่ ทีเ่ หนือกว่านัน้ คือ การพัฒนา Creative Space ให้เป็ น
สถานทีซ่ ง่ึ เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่เพียงการมาพบปะแลกเปลีย่ นของผูค้ น
ทีห่ ลากหลายความคิดและมุมมองเท่านัน้ แน่นอนว่า รูปร่างและทิวทัศน์ของสถานที่
จะต้องออกแบบให้มคี วามงดงามเพือ่ สร้างบรรยากาศทีด่ ใี ห้กบั ทุกคนทีเ่ ข้ามา
เยือน บังเกิดแรงบันดาลใจในการคิดสร้างสรรค์ แต่สงิ่ สาคัญยิง่ กว่าคือ ผูค้ นทีส่ ญ
ั จร
เข้ามาแลกเปลีย่ นความคิด ความรู้ และอารมณ์สนุ ทรีย์ จะต้องมีจติ ใจที่เปิดกว้าง มี
กลวิธใี นการสนทนา (Dialogue) ทีจ่ ะนาไปสูก่ ารยกระดับความคิดสร้างสรรค์ซง่ึ
กันและกัน จึงอาจต้องมี Creative Manager ทีค่ อยบริหารจัดการชุมชนให้
นาไปสูค่ วามคิดสร้างสรรค์ทม่ี คี ุณภาพเพียงพอทีจ่ ะแปรเปลีย่ นไปสู่ Creative
Product ได้สาเร็จ
 ยิง่ กว่านัน้ Creative Space ยังต้องรูจ้ กั วิธคี ดิ เชิงธุรกิจควบคู่ไปกับการผลิต
สินค้าสร้างสรรค์ โดยเฉพาะเมือ่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative
Industries) มีลกั ษณะทีจ่ บั ต้องได้ยากกว่าอุตสาหกรรมอืน่ ประกอบกับเมืองไทย
ยังขาดแคลนระบบการจัดการข้อมูลข่าวสาร (Knowledge Management)
ทีด่ พี อ จึงทาให้นกั ธุรกิจและกองทุนทัง้ หลายหวันเกรงและละเลยที
่
จ่ ะลงทุนใน
อุตสาหกรรมนี้ ถึงแม้จะมีอนาคตทีส่ ดใสก็ตาม ดังนัน้ จึงเป็ นหน้าทีข่ อง Creative
Space ทีจ่ ะต้องเข้าใจถึงวิธคี ดิ ของนักธุรกิจ เพือ่ ทีจ่ ะสามารถจัดทาข้อมูลและการ
สือ่ สารทางการตลาดทีเ่ หมาะสม ในการกระตุน้ ให้ผลู้ งทุนทัง้ หลายสนใจและพร้อมจะ
สนับสนุ น ดังนัน้ ลักษณะพิเศษของ Creative Economy จึงแตกต่างจาก
เศรษฐกิจทัวไป
่ ทีอ่ าศัยเพียงการวิจยั ตลาดก็สามารถผลิตสินค้าออกมาตอบสนองความ
ต้องการของผูบ้ ริโภคได้ ในขณะที่ Creative Product นัน้ มีความเป็ นนามธรรม
และขึน้ อยูก่ บั อารมณ์ความรูส้ กึ มากกว่า จึงทาให้ Creative Economy ต้องมี
การผลิตสร้างความรูเ้ พือ่ สือ่ สาร (Educated) กับผูบ้ ริโภคและสังคมอยู่ตลอดเวลา
 1) ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม (Heritage or Cultural Heritage) เป็ นกลุ่มอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ
ประวัติศาสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ และสภาพสังคม เป็ นต้น แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มการแสดงออกทางวัฒนธรรมแบบดั้งเดิม (Traditional Cultural Expression) เช่น ศิลปะและงานฝี มือ
เทศกาลงานและงานฉลอง เป็ นต้น และกลุ่มที่ต้งั ทางวัฒนธรรม (Cultural Sites) เช่น โบราณสถาน พิพิธภัณฑ์
ห้องสมุด และการแสดงนิทรรศการ เป็ นต้น
2) ประเภทศิลปะ (Arts) เป็ นกลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์บนพื้นฐานของศิลปะ และวัฒนธรรม แบ่งออกเป็ น
2 กุล่ม คือ งานศิลปะ (Visual Arts) เช่น ภาพวาด รู ปปั้ น ภาพถ่าย และวัตถุโบราณ เป็ นต้น รวมทั้ง
ศิลปะการแสดง (Performing Arts) เช่น การแสดงดนตรี การแสดงละคร การเต้นรา โอเปร่ า ละครสัตว์ และ
การเชิดหุ่นกระบอก เป็ นต้น
3) ประเภทสื่ อ (Media) เป็ นกลุ่มสื่ อผลิตงานสร้างสรรค์ที่สื่อสารกับคนกลุ่มใหญ่ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ งาน
สื่ อสิ่ งพิมพ์ (Publishing and Printed Media) เช่น หนังสื อ หนังสื อพิมพ์ และสิ่ งตีพิมพ์อื่นๆ เป็ นต้น และงาน
โสตทัศน์ (Audiovisual) เช่น ภาพยนตร์โทรทัศน์ วิทยุ และการออกอากาศอื่นๆ เป็ นต้น
4) ประเภท (Functional Creation) เป็ นกลุ่มของสิ นค้าและบริ การที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่
แตกต่างกัน แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มการออกแบบ (Design) เช่น การออกแบบภายใน กราฟิ ค แฟชัน่ อัญ
มณี และของเด็กเล่น เป็ นต้น ส่ วนกลุ่ม New Media ได้แก่ ซอฟต์แวร์ วิดีโอเกม และเนื้อหาดิจิตอล เป็ นต้น
และกลุ่มบริ การทางความคิดสร้างสรรค์ (Creative Services) ได้แก่ บริ การทางสถาปั ตยกรรม โฆษณา
วัฒนธรรมและนันทนาการ งานวิจยั และพัฒนา และบริ การอื่นที่เกี่ยวข้องกับดิจิตอล และความคิดสร้างสรรค์"
 1) งานฝี มอื และหัตถกรรม (Crafts)
 2) งานออกแบบ (Design)
 3) แฟชัน่ (Fashion)
 4) ภาพยนตร์และวิดโี อ (Film & Video)
 5) การกระจายเสียง (Broadcasting)
 6) ศิลปะการแสดง (Performing Arts)
 7) ธุรกิจโฆษณา (Advertising)
 8) ธุรกิจการพิมพ์ (Publishing)
 9) สถาปตั ยกรรม (Architecture)
 ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Ideas) ซึง่ มิได้ตดิ ตัวทุกคนมาแต่กาเนิด หาก
เกิดขึน้ จากการมีทกั ษะในการคิด (Thinking Skills) และการมีความคิดริเริม่
(Originality)
 “หลักสูตรวัฒนธรรมศึกษา” สามารถนามาใช้เป็ น Creative Infrastructure
 การสร้าง Creative Space สถานทีซ
่ ง่ึ เปิดกว้างและดึงดูดผูค้ นจากหลากหลาย
สาขาวิชาชีพ ทัง้ ศิลปิน นักธุรกิจ นักวิทยาศาสตร์ ครูอาจารย์ ดารา นักคิด ฯลฯ ให้
มาร่วมแลกเปลีย่ นประสบการณ์และต่อยอดความรูซ้ ง่ึ กันและกัน ทีน่ อกจากจะทาให้
“ความคิดสร้างสรรค์” ได้รบั การปรุงแต่งขัดเกลาจากความหลากหลายแล้ว ยังอาจต่อ
ยอดไปสูก่ ารสร้าง Creative Business ร่วมกัน
 Creative Space จึงเป็ นเสมือนจุดนัดพบหรือกลไกตลาดให้กบั Creative
Economy เพือ่ ใช้ในการจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจแบบใหม่ทพ่ี ง่ึ เริม่ ต้นนี้
ให้เกิดประโยชน์สงู สุด
 -Creative Product : สินค้าทีม่ กี ารผลิตซ้า โดยได้รบั การคุม้ ครองโดย
กฎหมายทรัพย์สนิ ทางปญั ญา อาทิ films, books, fashion, music,
design, textiles, ceramics
 -Creative Process : บริษท
ั ทีใ่ ห้บริการจากความคิดสร้างสรรค์ของมืออาชีพ
อาทิ architecture, design, advertising
 - Creative Media : ธุรกิจทีข่ ายสินค้าทีส่ ร้างสรรค์ผา่ นการเผยแพร่ อาทิ
newspaper, magazines, TV, radio broadcasts,
museums, galleries, cinema
Driving Forces
Sense
Co-value
Creation
Response
Stakeholders รัฐบาล องค์ กร สั งคม ชุ มชน
เศรษฐกิจ สังคม
สิ่ งแวดล้อม ยัง่ ยืน
อยู่ดี
Stakeholders
Value
Trend /Direction / challenge
Green & Culture
Tourism
Economic
Herb & Medical Hub
Modern agriculture
Productivity
Old town
GMS education Center
Aging heaven
+
มีเหตุมีผล
+
Social
GMS Agri
Expo 58
Environment
Sustain
happiness
ภูมิคุ้มกัน
พอประมาณ
Convergence
มีสุข
New capabilities
New ways
(Care &Share)
Network / Supply chain / CRM / CSR
Value
chain
Value
system
Value
Creation
Capital
Value
Trade Tourism Service
Agri
Art
Industry
/culture culture
Economic Value
wisdom
Culture
capital
Lanna wisdom
Value
added
Health
Heart Head Hand
Social value
ฟื้ นฟู
Environmental value
Connectivity Creativity
Natural
Resource
capital
Physical
capital
Green & Clean
Energy
ICT/BRT
DC. CY
Human
capital
อนุรักษ์ พัฒนา
Liquidity
Financial
capital
fund
ศูนย์เรี ยนรู้ Venture
Matching fund
Amazing
Chiangmai 5 อ.
อาหาร อากาศ อารมณ์ อุจจาระ
ออกกาลังกาย
Competitiveness
Improvement
Innovation
Science& Tech
Knowledge
capital
อุทยานวิทยาศาสตร์
เศรษฐกิจ
สร้ างคุณค่ าร่ วม
+
สั งคม
สิ่ งแวดล้อม
+
New capabilities
New ways
Network / Supply chain / SRM / CSR
ห่ วงโซ่ เชื่อมต่ อกัน
Fusion
ธรรมชาติ
การค้ า
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม
วัฒนธรรม
บริการ
ท่ องเที่ยว คุณค่ าทางสั งคม
Care and Share
Network
Inter chain
ห่ วงโซ่ อปุ ทาน
ต้ นนา้
Cluster Supply chain
ห่ วงโซ่ คุณค่ า
วิจัยพัฒนา
กลางนา้
ปลายนา้
จัดส่ ง การตลาด
Sense and Respond
Cross functional Value chain
สร้ างคุณค่ า
คุณค่ าของทุน
ภูมปิ ัญญา
เพิม่ มูลค่ า
ทุน
ทุนทรัพยากร
วัฒนธรรม ธรรมชาติ
คุณค่ าสิ่ งแวดล้ อม
linkage Matching Binding
Care and Share
Factor Core Market
ผลิต
ประเด็นยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์
Competitiveness
Improvement
ส่ งมอบ
และบริการ
Create Develop Delivery
เชื่อมต่ อกัน
ความคิด
สร้ างสรรค์
สภาพคล่อง
ทุนกายภาพ
ทุนมนุษย์
ทุนทาง
การเงิน
ธรรมชาติ
Value chain
Supply chain
Inter chain
เกษตรกรรม
หัตถกรรม
การค้า
วัฒนธรรม
Value
Creation
Capital
Value
Ideas
Clustering
เคหะกรรม
Value
chain
Supply
chain
อาหาร
Inter
chain
ท่องเที่ยว
Co-value
Creation
 Philosophy and psychology
 Life Science
 Cultural Study
 Art and Design
 Convergence or Emerging Technologies
 Smart Agriculture
 Value Management