ประวัติ พัฒนาการ และอนาคตของ Walai AutoLib

Download Report

Transcript ประวัติ พัฒนาการ และอนาคตของ Walai AutoLib

หน่ วยวิจัยนวัตกรรมสารสนเทศ
และระบบห้ องสมุด Walai AutoLib
Last update 02/07/2010
ประวัติและความเป็ นมา
 เริ่ มเมื่อต้นปี 2548 มีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้
ทดแทนระบบ VTLS Classic ที่ใช้งานอยู่
 โดยมีประเด็นที่ค่าบารุงรักษา และศักยภาพ
ของระบบเดิมที่ไม่สามารถตอบสนองความ
ต้องการของห้องสมุดในปัจจุบนั ได้ครบถ้วน
 มุ่งพัฒนาเพื่อใช้ภายในองค์กรเป็ นอันดับ
แรก ระบบต้องตอบสนองงานพื้นฐานของ
ห้ องสมุดมหาวิทยาลัยได้ครบถ้วน
VTLS Classic Screen
WULIB beta version Screen
WULIB current version Screen
WULIB Web 2.0 version Screen
July 2548
 ได้รับทุนพัฒนาจาก สกอ. วัตถุประสงค์คือ
โปรแกรมต้องเป็ นไปตามมาตรฐานสากล
 มีชุดคาสัง่ ที่รองรับงานพื้นฐานของห้องสมุด
มหาวิทยาลัยของประเทศไทย
 รองรับการการทางานร่ วมกันระหว่าง
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เช่น Union
Catalog, Broadcast Search เป็ นต้น
ปัญหาและอุปสรรคในระยะเริ่มต้ น
1
ความน่ าเชื่อถือของระบบของคนไทย
2
Site Reference ของระบบ
3
ปัญหาด้ าน User และ Change Management
4
ความซับซ้ อนของระบบงานห้ องสมุด
พัฒนาการของ Walai AutoLib
ระยะเริ่มต้ น
ปัจจุบัน
อนาคต
ความก้ าวหน้ าในการพัฒนาระบบ
Phase V
Phase N
Information Portal
Phase III
Phase IV
DCMS & UC
Phase I
Phase II
Library System
ผลงานระยะเริ่มต้ น
 พัฒนาระบบตาม TOR ของ สกอ.
 มีระบบย่อยจานวน 6 โมดูล ได้แก่ Policy
management, Acquisition, Cataloging,
Circulation, Serials Control, Web OPAC
 เริ่ มทดสอบโมดูลพื้นฐาน ณ ศูนย์บรรณสาร
และสื่ อการศึกษา ม.วลัยลักษณ์
 เริ่ มพัฒนา Authority Control และ Inventory
ตัวอย่ าง TOR ระยะที่ 1
ตัวอย่ าง TOR ระยะที่ 2
ผลงานในปัจจุบัน
 ระบบสามารถให้บริ การแก่
สมาชิกแบบครบวงจรทั้ง ณ จุด
ให้บริ การและผ่านเครื อข่าย
อินเทอร์เน็ต
 ระบบมีความยืดหยุน่ สู ง เพื่อ
รองรับนโยบายการให้บริ การที่
แตกต่าง ทั้งต่างห้องสมุดสาขา
และต่างสถาบัน
 Identified สมาชิกด้วยรหัสบาร์โค้ด ภาพถ่าย หรื อลายนิ้วมือ
 บันทึกภาพและอัพเดทข้อมูลสมาชิก ณ จุดบริ การ
 สนับสนุนอุปกรณ์เช่น Self Check, และ RFID
 เป็ นระบบ LMS ขนาดใหญ่ที่มีผใู ้ ช้มากสถาบันที่สุดในประเทศไทย
 เป็ นระบบจัดการเลขมาตรฐานสากลแห่งชาติ (ISN Management)
 กาลังจะเป็ น Core ของ Union Catalog และ TDCMS ของประเทศ
แผนงานในอนาคต
WULIB Project
Research &
Business Model
Library System
Digital Library
Hardware
งานวิจัยและพัฒนา
การเรียนการสอน
โมเดลเชิงธุรกิจ
สร้ างบัณฑิตสู่ ตลาดงาน
WULIB & Library 2.0
 พัฒนาแนวคิด Library 2.0 สู่ การประยุกต์เพื่อใช้
งานจริ งในห้องสมุด
 Onsite services เพื่อให้ผใู ้ ช้ได้รับความ
สะดวกสบาย มุ่งเน้นบริ การใหม่ๆ ทันสมัย ให้กบั
ผูใ้ ช้บริ การ
 Online services สามารถใช้บริ การจากที่ใดก็ได้
มีส่วนร่ วม ปฏิสมั พันธ์ เป็ นส่ วนหนึ่งของการ
ขับเคลื่อนบริ การของห้องสมุด
WULIB Web Portal
 Content Management System (CMS) สามารถ
รวบรวม สร้าง เผยแพร่ ให้บริ การสารสนเทศ
ร่ วมกันระหว่างห้องสมุดและผูใ้ ช้ผา่ นโมดูล CMS
โดยไม่ตอ้ งอาศัยผ่ายจัดทาเว็บของห้องสมุด
 Dynamic Search System ระบบสื บค้น
ทรัพยากรที่ง่ายต่อการใช้งาน สามารถทา Tag,
Rating, Review, Broadcast search ตลอดจนช่วย
ห้องสมุด Catalog ผ่านหน้าจอสื บค้นได้
WULIB & Informatics
 R&D เป็ นจุดตั้งต้นในการหาหัวข้อวิจยั สาหรับ
อาจารย์ นักศึกษา ด้านการออกแบบ เขียน
โปรแกรม สร้างอัลกอริ ทึม และแอพพลิเคชัน่
 Library Professional เพื่อสร้างบัณฑิตที่ผา่ น
กระบวนงานที่ครบถ้วน สามารถทางานได้ทนั ทีเมื่อ
จบการศึกษา
 Commercial Software & Hardware เป็ นผูน้ า
ธุรกิจด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีหอ้ งสมุด
Walai AutoLib
สาหรับห้องสมุดที่สนใจ
แจ้งความประสงค์ผา่ น สกอ. หรื อ มวล.
ติดต่ อ
ติดตั้ง
สถาบัน–สกอ.
สถาบัน-มวล.
บารุ งรักษา
สถาบัน/มวล.
เงือ่ นไขการใช้ บริการติดตั้งและบารุงรักษาระบบ
1
ดาเนินการติดตั้ง อบรม และ MA ระบบเอง
2
มวล. ติดตั้งอบรมให้ สถาบันดูแลระบบเอง
3
มวล. ติดตั้ง อบรม MA ระบบแบบ remote
4
มวล. ติดตั้ง อบรม MA ระบบแบบ ณ ไซต์ งาน
รายนามห้องสมุดที่ดาเนินการติดตั้งไปแล้ว
1 ห้ องสมุดมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 3 แห่ ง
 ศูนย์บรรณสารและสื่ อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
นครศรี ธรรมราช
 ศูนย์วิทยบริ การ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วิทยาเขตสุ
ราษฎร์ธานี
 ศูนย์วิทยบริ การ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วิทยาเขต
กรุ งเทพมหานคร
ห้องสมุดสถาบันนาร่ องของ สกอ.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร องค์การมหาชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พระนคร 5 วิทยาเขต
 วิทยาเขตเทเวศร์
 วิทยาเขตพระนครเหนือ
 วิทยาเขตโชติเวช
 วิทยาเขตพาณิ ชพระนคร
 วิทยาเขตชุมพรเขตอุดมศักดิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสิ นธุ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุ วรรณภูมิ
2




2
ห้ องสมุดสถาบันนาร่ องสั งกัด สกอ. (ต่ อ)
 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ รินทร์
3




ห้ องสมุดเฉพาะอืน่ ๆ
ห้องสมุดการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค
ห้องสมดสภาวิจยั แห่งชาติ
ห้องสมุด TCDC และ Mini TCDC
โครงการห้องสมุด OKMD ห้องสมุด TK Park
4





ห้ องสมุดวิทยาลัยชุมชน
สานักบริ หาร กรุ งเทพฯ  วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส
วิทยาลัยชุมชนแพร่
 วิทยาลัยชุมชนยะลา
วิทยาลัยชุมชนระนอง  วิทยาลัยชุมชนสตูล
วิทยาลัยชุมชนพังงา  วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว
วิทยาลัยชุมชนปัตตานี
4





ห้ องสมุดวิทยาลัยชุมชน
วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน 
วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร 

วิทยาลัยชุมชนตราด
วิทยาลัยชุมชนยโสธร 
วิทยาลัยชุมชนมุกดาหาร 
วิทยาลัยชุมชนอุทยั ธานี
วิทยาลัยชุมชนตาก
วิทยาลัยชุมชนพิจิตร
วิทยาลัยชุมชนหนองบัวลาภู
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์
คณะทางาน
ผู้บริหารโครงการ
 รศ.ดร.พูลพงษ์ บุญพราหมณ์
ที่ปรึกษาโครงการ
 ดร. สลิล บุญพราหมณ์
 ดร. ฐิมาพร เพชรแก้ว
 อาจารย์ศิวนาถ นันทพิชยั
 อาจารย์สมจิตร ไชยศรี ยา
 อาจารย์ศศิธร รัตนรุ่ งโรจน์
 อาจารย์ยทุ ธนา เจริ ญรื่ น
คณะทางาน
ผู้ดูแลระบบ
 นายภานุวตั ร์ แสงกระจ่าง
ผูด้ ูแลระบบจัดการฐานข้อมูล
 นางสาวญาณิ ศชา บุญญวงศ์
 โปรแกรมเมอร์
Circulation module
 นายศราวุธ มากชิต
Acquisition module
 นายธาริ ต อ่าวเจริ ญ
คณะทางาน
Acquisition Serials module
 นายชัยยันณ์ ดาแก้ว
 นายนันธชัย ดับทุกข์
Cataloging module
 นายศิริชยั เลี้ยงพันธุ์สกุล
 นางสาววัชรี พืชโรจน์
OPAC module
 นายเอกพล ปรี ชา
คณะทางาน
Serials module
 นางสาวพรพิมล วัชรกุล
 นายณรงค์ ทองรักจันทร์
Authority module
 นายวิทยา เทวรังษี
Trainer & Coordinator
 นางสาวจันทิมา สิ งห์บารุ ง
 นางสาวประทุมพร วีระสุ ข
 นายพีระยุทธ เมตปรี ชา
Thank you for your attention