การแก้ไขวิกฤติเศรษฐกิจ ปี 2540

Download Report

Transcript การแก้ไขวิกฤติเศรษฐกิจ ปี 2540

การแก้ ไขวิกฤตเศรษฐกิจ ปี 2540
ของรัฐบาล นายชวน หลีกภัย
โดยสมาชิก
กลุ่ม 2
ห้ อง 2
1
สถานการณ์ และการแก้ ไข แบ่ งออกเป็ น 2 ช่ วงเวลา
1. สถานการณ์ และมาตรการช่ วงเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ
(2 กรกฎาคม 2540 – พฤศจิกายน 2540)
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็ นนายกรัฐมนตรี
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เป็ นนายกรัฐมนตรี
25 พ.ย. 2539 – 8 พ.ย. 2540 (1 ปี )
2
สมัยรัฐบาล พลเอกเชาวลิต ยงใจยุทธ (ก.ค-พ.ย 2540)
1. มาตรการแรก การลอยตัวค่ าเงิน
คือ วันที่ 2 ก.ค. 2540 ประกาศยกเลิกการกาหนดค่าเงินบาทเทียบกับสกุล
เงินของประเทศคู่คา้ สาคัญ มาเป็ นระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว
 2. มาตรการทีส
่ อง การเจรจาและของกู้เงิน กับ IMF
คือ วันที่ 14 ส.ค. 2540 ลงนามสัญญารับเงื่อนไขการกูเ้ งินกับ IMF
 3. มาตรการทีส
่ าม มาตรการฟื้ นฟูเศรษฐกิจ (มาตรการ 13 ต.ค. 40)
เช่น ปิ ดสถาบันการเงิน 58 แห่ง , จัดตั้ง ปรส. และ บบส. (ปฏิรูปสถาบัน
การเงินและบริ หารสิ นทรัพย์ฯ)
 4. นโยบายแปรรู ปรัฐวิสาหกิจ
พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร รองนายกรัฐมนตรี ฯ ในขณะนั้น
เป็ นประธานคณะกรรมการกากับนโยบายฯ

3
สถานการณ์ และการแก้ ไข แบ่ งออกเป็ น 2 ช่ วงเวลา
2. สถานการณ์ และมาตรการหลังเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ
(พฤศจิกายน 2540 – ธันวาคม 2543)
นาย ชวน หลีกภัย เป็ นนายกรัฐมนตรี
นายชวน หลีกภัย เป็ นนายกรัฐมนตรี
9 พ.ย. 2540 – 17 พ.ย. 2543 (3 ปี )
4
สมัยรัฐบาล นายชวน หลีกภัย (2540-2543)
รัฐบาลของนายชวน เริ่มต้ นหลังจากการประกาศลอยตัวค่ าเงินบาท
จนถึงการลาออกของทีมเศรษฐกิจและรัฐมนตรีท้งั คณะของรั ฐบาล
พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
โดยรัฐบาลของ นายชวน หลีกภัย มีทีมเศรษฐกิจ ดังนี้
 1. นายธารินทร์ นิมมานเหมินท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
 2. นายพิเชษฐ พันธุ์วช
ิ าติกลุ
รัฐมนตรีช่วยฯ
 3. นายพิสิฐ ลีอ้ าธรรม
รัฐมนตรีช่วยฯ

5
การวิเคราะห์ ถึงปัญหาเศรษฐกิจที่เกิดขึน้



6
1. ปัญหาการขาดเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เช่น
-ปัญหาทุนสารองระหว่างประเทศถูกใช้ไปจนเกือบหมด ทาให้มีปัญหาความเชื่อมัน่ ของค่าเงินบาท
-ปัญหาความมัน่ คงของสถาบันการเงิน 56 แห่งถูกสัง่ ปิ ด ขาดเลือด เลือดเสี ย บาดเจ็บล้มตาย
-ปัญหาอัตราเงินเฟ้ อสูง ค่าครองชีพของประชาชนสู ง ขณะที่รายได้ที่แท้จริ งลดลง และตกงาน
-ปัญหาอัตราดอกเบี้ยสูงประมาณร้อยละ 15 ในเดือนธันวาคม 2540 (เพราะอัตราเงินเฟ้ อสูง+ขึ้นอัตรา
ดอกเบี้ยเงินฝากเพื่อหยุดยั้งการแห่ถอนเงินฝาก+อัตราแลกเปลี่ยนไม่มีเสถียรภาพ)
2. ปัญหาการหดตัวของระบบเศรษฐกิจ เช่น
-ธุรกิจจานวนมากปิ ดกิจการ เกิดปัญหาการว่างงาน การลงทุนและการบริ โภคภายในประเทศลดลง
-การดาเนินนโยบายการคลังที่เข้มงวด ซ้ าเติม ส่ งผลย้อนกลับให้เกิดปั ญหาการขาดเสถียรภาพ
-ปัญหาสิ นเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้รุนแรงขึ้น ส่ งผลให้สถาบันการเงินขาดทุน ไม่สามารถปล่อยสิ นเชื่อ
ในระบบเศรษฐกิจได้ตามปกติ
ดังนั้นการแนวทางแก้ไขปัญหา จะต้องแก้ไขทั้ง 2 ปั ญหาไปพร้อมๆ กัน โดยดาเนินมาตรการต่างๆ เพื่อ
ฟื้ นฟูเศรษฐกิจและบรรเทาผลกระทบทางสังคม ควบคู่กนั ไปกับมาตรการรักษาเสถียรภาพของระบบ
เศรษฐกิจ
กรอบแนวคิดในการแก้ ไขวิกฤตเศรษฐกิจ
7
มาตรการในการแก้ ไขวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540
1.
มาตรการดอกเบีย้ สู ง และปิ ดสถาบันการเงิน




8
เพือ่ ควบคุมอัตราเงินเฟ้อไม่ ให้ สูงเกินไป
ป้องกันเงินไหลออกนอกประเทศ และทาให้ เงินไหลเข้ าประเทศสู ง
ถ้ าค่ าเงินบาทแข็ง จะทาให้ หนีต้ ่ างประเทศลดลง
ปิ ดไฟแนนท์ 56 แห่ ง เพือ่ แก้ไขวิกฤติทางการเงินของสถาบัน
การเงิน
มาตรการในการแก้ ไขวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 (ต่ อ)
2.
มาตรการ 14 สิ งหาคม 2541



3.
มาตรการ 10 มีนาคม 2542



9
แผนฟื้ นฟูสถาบันการเงิน โดยเน้ นเพิม่ เงินกองทุนให้ ได้ ตาม
มาตรฐาน BIS (Bank for International Settlement)
เพิม่ ทุนให้ สถาบันการเงินโดยเงินออมจากประชาชนและขายหุ้นให้
ต่ างชาติ
ขายพันธบัตรให้ ประชาชนเพือ่ เพิม่ ทุนให้ ธนาคารพานิชย์ ของรัฐ
กู้เงินจากญีป่ ุ่ นตามแผน “มิยาซาว่ า” 53,000 ล้านบาท
ลดภาษีมูลค่ าเพิม่ (VAT) จาก 10 % เหลือ 7 %
ลดภาษีนา้ มัน เป็ นเงิน 23,800 ล้านบาท
มาตรการในการแก้ ไขวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 (ต่ อ)
4.
มาตรการ 10 สิ งหาคม 2542




10
ปรับลดอัตราภาษีนาเข้ าวัตถุดิบเพือ่ ใช้ ผลิตส่ งออก
รัฐร่ วมกับบรรษัทการเงินระหว่ างประเทศ ตั้งกองทุนเพือ่ ช่ วย
เอกชนปรับโครงสร้ างหนีเ้ พือ่ ลด NPL
เพิม่ ทุนให้ อุตสาหกรรมขนาดกลางและเล็ก SME
ให้ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ปล่อยกู้ซื้อบ้ าน 5,000 ล้านบาท
มาตรการในการแก้ ไขวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 (ต่ อ)
5.
มาตรการ อืน่ ๆ



11
ทาข้ อตกลงกับ IMF โดยออกกฎหมาย 11 ฉบับ
ปฏิรูประบบสถาบันการเงินและตั้งองค์ การปฏิรูประบบสถาบัน
การเงิน (ป.ร.ส.) และบรรษัทบริหารสิ นทรัพย์ สถาบันการเงิน
(บ.บ.ส.)
แปรรูปรัฐวิสาหกิจ
ผลจากการแก้ ไขปัญหาตามมาตรการดังกล่ าว
 วิกฤติเศรษฐกิจที่เลวร้ายที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยประสบมา
ได้รับการแก้ไขเยียวยาให้ฟ้ื นตัวอย่างมีเสถียรภาพตามสมควร แต่
ยังต้องได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องอีกมาก เพื่อคืนสภาพ
เศรษฐกิจให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ดังจะดูได้ จากตัวเลขทางเศรษฐกิจทีส่ าคัญๆ น่ าสนใจดังต่ อไปนี้
12
13

แหล่ งทีม่ า IMF Staff Report, June 2000


14

ภาวะย้ายเงินทุนออกนอกประเทศอย่างตระหนกหยุดลง
ทุนสารองระหว่างประเทศดีข้ ึนมาก และหยุดเบิกจ่ายเงินจาก IMF ตั้งแต่ 8 ก.ค. 2542 (หยุดก่อนกาหนด มิ.ย. 2543)
ทุนสารองเพิ่มจาก 0.8  18.1 พันล้านดอลลาร์ สรอ. (ประมาณ 3 ปี )

15
อัตราแลกเปลี่ยน(จากเดิม 25 บาท) ที่ผนั ผวนมากในปี 2540 และอ่อนค่าสุ ดที่ 55.3 บาทต่อ
ดอลลาร์ สรอ. ได้มีการปรับตัวจนมีเสถียรภาพ ตามที่ควรจะเป็ นและตามการเปลี่ยนแปลงของ
ค่าเงินในภูมิภาค

16
อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของ 5 ธนาคารพาณิ ชย์ใหญ่ ปรับตัวจากระดับสู งสุ ดที่อตั ราร้อยละ 15.50
ลดลงมาอยูท่ ี่ระดับร้อยละ 7.85

17

อัตราเงินเฟ้ อปรับตัวจากระดับร้อยละ 10.7 ลงมาอยูท่ ี่ระดับ 1.3
ทาให้ประชาชน โดยเฉพาะผูม้ ีรายได้นอ้ ย มีกาลังในการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้น

18

การส่ งออกเป็ นปัจจัยสาคัญต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ / ลดการนาเข้า
ดุลบัญชีเดินสะพัดปรับตัวจากขาดดุล เป็ นเกินดุลอย่างต่อเนื่อง
จากมาตรการในการแก้ ไขเศรษฐกิจดังกล่ าวนั้น ส่ วนใหญ่
ก็ล้วนสามารถแก้ ไขปัญหาได้ ค่อนข้ างถูกทาง
แต่ กย็ งั มีนโยบายทีแ่ ก้ ไขเศรษฐกิจทีไ่ ม่ ถูกทาง ซึ่งส่ งผล
กระทบต่ อประเทศในด้ านต่ างๆ ทั้งในระยะสั้ นและ
ระยะยาว ดังต่ อไปนี้
19
วิเคราะห์ การแก้ ไขวิกฤติเศรษฐกิจที่ไม่ ถูกทาง
1. นโยบายเศรษฐกิจทีเ่ ข้ มงวดตรึงดอกเบีย้ ให้ สูง และชะลอ
การใช้ จ่ายของ ภาครัฐ ทาให้ เกิดผลดังนี้
 รายได้ประชาชาติ (GDP) ลดลงกว่า 10% ในปี 2541
 ธุรกิจล้มละลายหลายหมื่นราย
 จานวนคนว่างงานเพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้านคน
 เกิดหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการยึด
กิจการธนาคารและบริ ษทั เงินทุน
20
วิเคราะห์ การแก้ ไขวิกฤติเศรษฐกิจทีไ่ ม่ ถูกทาง (ต่ อ)
2. ตามมาตรการ 14 สิ งหาคม 2541
 ออกพันธบัตรรัฐบาลขายให้แก่กบั ต่างประเทศมูลค่า 200,000 ล้านบาท
 ธุรกิจส่ งออกของบริ ษทั ต่างชาติเพิม่ ขึ้น แต่กระจุกตัวอยูใ่ นไม่กี่ธุรกิจ
ซึ่งธุรกิจนั้นมีความเกี่ยวพันกับนักการเมือง
 ให้ธนาคารพาณิ ชย์ใช้ระบบกันเงินสารองหนี้ ทาให้ไม่มีเงินปล่อยกู้
ให้กบั ผูป้ ระกอบการ จึงเกิดการขาดเงินหมุนเวียน
21
วิเคราะห์ การแก้ ไขวิกฤติเศรษฐกิจทีไ่ ม่ ถูกทาง (ต่ อ)
3. ตามมาตราการ 10 มีนาคม 2542 และพระราชกาหนด 11 ฉบับ
เพือ่ แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
 มุ่งหวังการพึ่งพาเงินทุนจากต่างประเทศ โดยใช้มาตราการต่างๆ นั้น ขาดการประเมินความ
เสี่ ยง ในเรื่ องผลกระทบต่อการสร้างต้นทุนทางสังคมหรื อความเสี ยหายต่อเศรษฐกิจมากน้อยเพียงไร
 การจัดชั้นสิ นเชื่อตามมาตรฐานของธนาคารเพื่อการชาระหนี้ระหว่างประเทศ หรื อ BIS โดยไม่
เข้าใจระบบเศรษฐกิจเชิงสถาบัน ขาดการกาหนดระยะเวลาให้เหมาะสมไม่ติดตามประเมินผลได้ผล
เสี ยในเชิงเศรษฐกิจ จึงเกิด NPL
 เกณฑ์การจัดชั้นสิ นเชื่อตาม BIS นั้น เป็ นเกณฑ์การจัดชั้นสิ นเชื่อที่สร้างขึ้นสาหรับใช้กบั ระบบ
ธุรกิจที่กา้ วหน้าในประเทศอุตสาหกรรม จึงยังไม่เหมาะกับประเทศไทยซึ่ งมีระบบธุรกิจที่ยงั ล้าหลัง
อยู่
22
สรุปผลโดยภาพรวมของการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ
การแก้ไขปัญหาเสถียรภาพและการฟื้ นฟูทางเศรษฐกิจ ได้ผลสาเร็ จตาม
สมควร ตามหลักฐานเชิงประจักษ์ ตัวเลขที่สาคัญทางเศรษฐกิจที่กล่าว
มาข้างต้น ชี้ให้เห็นว่าภาวะเศรษฐกิจโดยรวมได้เริ่ มปรับตัวเข้มแข็งขึ้น
มากเมื่อเทียบกับสภาวการณ์วิกฤติเศรษฐกิจเมื่อ 3 ปี ก่อน
 แต่ยงั คงมีปัจจัยที่เป็ นความเสี่ ยงและภาระพันธนาการต่อการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจในอนาคต อาทิเช่น หนี้สินสาธารณะ การปฏิรูปทาง
การเมือง และปัจจัยภายนอก เช่น ราคาน้ ามัน เศรษฐกิจของโลก
เศรษฐกิจของประเทศคู่คา้

23
สิ่ งทีเ่ ราควรเรียนรู้จากวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540
การบริหารที่ขาดประสิ ทธิภาพ ภาครัฐ ราชการ การเมือง สถาบัน
การเงิน เอกชน
 ความไม่ โปร่ งใส ขาดจริยธรรม ไร้ วน
ิ ัยทางการเงิน
 การดาเนินนโยบายทีใ่ ช้ ตามตะวันตกโดยไม่ มีการประยุกต์ ใช้
 ลัทธิบริโภคนิยม
 วิกฤตเชิ งโครงสร้ าง ระบบอ่ อนแอ คนก็จะอ่ อนแอตาม
 เศรษฐกิจทีเ่ ติบโตด้ วยการก่ อหนี้ ก็ต้องล่ มสลายด้ วยภาวะหนีเ้ ช่ นกัน

24
ข้ อเสนอแนะในการป้ องกันวิกฤติการณ์ ทางการเงิน

1.อย่ าปล่อยให้ เกิดการขยายตัวของภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่



25
เมื่อเศรษฐกิจเติบโตอย่ างรวดเร็วจึงควรมีการพิจารณาว่ าเป็ นการ
เติบโตแบบมีคุณภาพหรือไม่ ถ้ าเป็ นการแบบไร้ คุณภาพ ก็ควรมี
การดาเนินนโยบายเพือ่ ชะลอการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่ าง
เร่ งด่ วน
2. อย่ าเปิ ดประเทศมากเกินไป
การเปิ ดประเทศควรคานึงถึงระดับการเปิ ดประเทศที่เหมาะสมที่เป็ น
ประโยชน์ กบั ประเทศให้ มากทีส่ ุ ด รวมทั้งควรมีการเตรียมพร้ อม
โครงสร้ างพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจและปรับเปลีย่ นโครงสร้ างการผลิต
ของไทยให้ เหมาะสมและเอือ้ กับนโยบายทางเศรษฐกิจมากทีส่ ุ ด
ข้ อเสนอแนะในการป้ องกันวิกฤติการณ์ ทางการเงิน


26
3. อย่ าเร่ งรีบก้าวสู่ แนวทางเสรีนิยมทางการเงินรวดเร็วจนเกินไป
ประเทศที่เลือกเดินแนวทางเสรีนิยมทางการเงินจะต้ องมีเครื่องมือ
และความสามารถในการรับมือกับนักเก็งกาไร ทั้งภายในประเทศและ
ต่ างประเทศก่อน และควรมีการปรับปรุงกลไกนโยบายทางการเงิน
ก่อนที่จะมีการเปิ ดเสรีทางการเงิน
ข้ อเสนอแนะในการป้ องกันวิกฤติการณ์ ทางการเงิน
4. ควรลดการพึง่ พิงเงินทุนจากต่ างประเทศและหันมาพึง่ ตนเองมากขึน้
 การทีร่ ะบบเศรษฐกิจมีเงินออมไม่ เพียงพอที่จะสนองตอบความต้ องการ
ในการลงทุน หรือเงินออมในประเทศขยายตัวไม่ ทนั กับการขยายตัวของ
การลงทุน เป็ นปัจจัยพืน้ ฐานทีท่ าให้ ระบบเศรษฐกิจไทยต้ องพึง่ พิงเงิน
ออมจากต่ างประเทศ ซึ่งแสดงให้ เห็นว่ าประเทศไทยยังต้ องพึงพา
ต่ างประเทศอยู่มาก
 ดังนั้นควรมีการกาหนดนโยบายเพือ
่ ส่ งเสริมให้ เกิดการออมในประเทศ
อย่ างจริงจัง โดยเฉพาะการออมในภาคครัวเรือน ซึ่งรัฐอาจใช้ นโยบายทาง
ภาษี เพือ่ เป็ นเครื่องจูงใจให้ เกิดการออมเพิม่ ขึน้ รวมทั้งสนับสนุนให้
สถาบันการเงินระดมการออมโดยเฉพาะเงินฝากระยะยาวทีม่ ีภาระผูกพัน
เพือ่ วัตถุประสงค์ เฉพาะอย่ าง เช่ น เพือ่ การศึกษาบุตร เพือ่ ใช้ หลัง
เกษียณอายุ เป็ นต้ น เพือ่ เป็ นการช่ วยลดการพึงพาจากต่ างประเทศ
27
ถูกทาง / หรือไม่ ถูกทาง
 ถูกทาง : ไม่ ผด
ิ ทาง คือ ทาในสิ่ งทีส่ มควรทา
เพราะถ้ าผิดทางประเทศคงจะไม่ มีสภาพเช่ นนี้
 แต่ ยงั ไม่ ถูกทาง : นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง เศรษฐกิจ
นักการเมือง ประชาชน  ”ยังไม่ ไปถึงไหนเลย”
 แต่ ยงั ไม่ ถูกต้ องทีส
่ ุ ด : เนื่องจากยังไม่ ได้ ทาในสิ่ งทีค่ วรจะทา คือ
“การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน” เพือ่ จะก่อให้ เกิด “เศรษฐกิจและสั งคมที่ยั่งยืน”
เพือ่ ความอยู่ดีกนิ ดี มีความสุ ข มีสันติสุข ของลูกหลานฯ ในอนาคต
อย่ างแท้ จริง
 ไม่ พด
ู ถึง ไม่ มีการพิจารณาถึง “มิติของมนุษย์ ” “สิ่ งแวดล้ อม”
28
ขอได้ รับความขอบคุณ
จากสมาชิก
กล่ มุ 2 ห้ อง 2
29